กรรมเก่า คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ.เป็นเจ้าบทบาทเดิม จากนั้น การศึกษาอาศัยปรโตโฆสะ ซึ่งมีคติว่า "คนเป็นไปตามสภาพแวดล้อมที่ปรุงปั้น" และโยนิโสมนสิการ ซึ่งมีคติย้อนกลับว่า "ถ้าเป็นคนรู้จักคิด แม้แต่ฟังคนบ้าคนเมาพูด ก็อาจสำเร็จเป็นพระอรหันต์"
บุญ
ข้อธัมม์ที่ถาม-เถียงกันบ่อย
หลักปฏิบัติ
สภาวธรรม
ปฏิบัติธรรมให้ถูกทาง
ผู้พิพากษาตั้งตุลา ใ ห้ สั ง ค ม ส ม ดุ ล
คติธรรมสั้นๆ
ภาษาธรรมวันละคำ
รู้เขา รู้เรา
พุทธโอวาทก่อนปรินิพพาน,
ความเป็นมาของการบวช
การทำวัตรสวดมนต์
ทำยังไงจึงจะมีอายุยืนและมีความสุข
พลังดันคน
ที่ทำงานของจิต
บรรลุธรรมอะไร?
พุทธปรัชญาในสุตตันตปิฎก
ธัมมาธิบาย
สวดมนต์
ความจน เ ป็ น ทุ ก ข์ ใ น โ ล ก
เรียนบาลีเพื่อรักษาพุทธพจน์
ศีลธรรมไม่กลับมาโลกาจะพินาศ
หลักธรรมสำหรับผู้ยังไม่นับถือศาสนาใดๆ
ก่อนศึกษาพุทธธรรม
ภาค ๑. มัชเฌนธรรมเทศนา
ภาค ๒. มัชฌิมาปฏิปทา
ภาค ๓. อารยธรรมวิถี
วัฒนธรรมประเพณี
จารึกธรรม
สมาธิ,ฌาน
เขาว่า ถ้าพุทธมีหลักธรรมดีจริง คงไม่ 0 สิ้นจากถิ่นเกิด
ศีลกับเจตนารมณ์ทางสังคม
คุณค่าทางจริยธรรมของไตรลักษณ์
จงกรม
กรรมฐาน
สติปัฏฐาน
ศีลสำหรับประชาชน
วิธีการแห่งศรัทธา (ปรโตโฆสะที่ดี)
วิธีการแห่งปัญญา (โยนิโสมนสิการ)
ทางดำเนินชีวิตสายกลาง
คุณสมบัติบุคคลโสดาบัน
กาม
ความสุข
อริยสัจ ๔
ธรรมฉันทะ - ตัณหาฉันทะ
กรรม
เถรวาท VS ลัทธิอาจารย์
นิพพาน-อนัตตา ฉบับเพียงเพื่อไม่ประมาท
สมถะ,วิปัสสนา,เจโตวิมุตติ,ปัญญาวิมุตติ
อนัตตา
สมมุติบัญญัติ
ศีล-สีลัพพตปรามาส
นรก สวรรค์ ในพระไตรปิฎก
วันสำคัญของชาวพุทธไทย
วิธีฝึกหูทิพย์ ตาทิพย์
ลำดับญาณ,ทวนญาณ
ความสำคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะ ศ.ประจำชาติ
ภาวะแห่งนิพพาน
ระดับของผู้บรรลุนิพพาน
ภาวะของผู้บรรลุนิพพาน
อิทธิบาท ๔
รู้ทุกอย่างแต่ปล่อยวางไม่ได้
<<
กุมภาพันธ์ 2567
>>
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
23 กุมภาพันธ์ 2567
อชันตา เอลโลรา
???
ระบบสัมพันธ์ของธรรม
รู้ทุกข์จึงดับทุกข์ได้ไม่ใช่รู้ทุกข์ไป แล้วกลายเป็นทุกข์
เศรษฐกิจจะพอดี เมื่อมันทำหน้าที่เป็นปัจจัย
วิธีล้างบาป
ชาวพุทธต้องทำใจ
ถ้าเชื่อก็เป็นแม่ ถ้าไม่เชื่อก็เป็นสายธาร
เอกบุคคลที่เป็นมิจฉาทิฏฐิกับเอกบุคคลที่เป็นสัมมาทิฏฐิผู้เกิดมาในโลก
คนในอดีตบอกอะไรคนปัจจุบัน
ภาพรวมพุทธธรรม
คคห.ทูตอินเดียว่าธรรมะพระพุทธองค์สอดคล้องท้าทายยุคสมัย
ทำไมพุทธศาสนาหายไปจากอินเดีย
กำเนิดพุทธรูปัง
อารยธรรมอินเดีย
อริยสัจ ๔ หัวใจพุทธศาสนาหมายความว่าอะไร
อปุญญาภิสังขาร VS ปุญญาภิสังขาร
อินโดฯ จัดยิ่งใหญ่
ดินแดนที่ตกอยู่ในความวุ่นวาย
หมายเหตุ
ทีนี้ มองดูเกาะใหญ่ ถัดลงไปทางใต้
มะละกาลับหาย สุมาตรา-ชวา เฟื่องฟูขึ้นมาใหม่
มะละกา ที่แดนมาเลเซียขึ้นมาเป็นใหญ่เหนือ ชวา
มุสลิมอินโดฯ
ชวา ขึ้นมาล้ำ สุมาตรา
มลายู ขยายจากสุมาตรา ขึ้นยังมาเลเซีย
อิสลาม เริ่มเข้าที่ สุมาตรา
อินโดนีเซีย: ที่สุมาตรา ย้อนไปถึง ศรีวิชัย
???
อินโดจีน ส่วนล่างกับอดีตเด่นดังที่ ลังกาสุกะ
อินโดจีน ย้อนอดีตถึง ทวารวดี
จีน- อินเดีย แล้วเกิดมี อินโดจีน - อินโดนีเซีย
ภาคผนวก
คู่ต่างคู่เติม เสริมความรู้ธรรมให้เต็ม
พุทธในอินเดียแต่ละยุคๆ
ทัพมุสลิมเตอร์ก เก็บฉาก
ปุษยมิตร - มิหิรกุละ - ศาศางกะ ทำลายพุทธในระหว่าง
ศิวะอวตาร
นารายณ์อวตารเป็นพระพุทธเจ้า
เรื่องเกี่ยวกับโพธิสัตว์
ต้นโพธิ์ พระสถูป พระพุทธรูป
ย้ำอีกที
พระรัตนตรัย:สื่อเชื่อมต่อ และส่งเข้าสู่ทาง
ดูข้างเคียงให้ทั่ว จะเห็นของตัวว่าเป็นอย่างไร
ย้ำ
วัดถ้ำ: พุทธ เชน ฮินดู เปลือกดูคล้าย
เค้าอวสานแห่งพุทธศาสนา
ฮินดูฟื้น พุทธศาสนาสลบ
พุทธศาสนาประกาศอิสรภาพให้แก่มนุษย์
วัดกับถ้ำ
หลังพุทธกาล คามวาสี-อรัญญวาสี จึงมี
ถ้ำกับชีวิตของพระสงฆ์ในพระพุทธศาสนา
อชันตา เอลโลรา
???
ระบบสัมพันธ์ของธรรม
รู้ทุกข์จึงดับทุกข์ได้ไม่ใช่รู้ทุกข์ไป แล้วกลายเป็นทุกข์
เศรษฐกิจจะพอดี เมื่อมันทำหน้าที่เป็นปัจจัย
ปัญญา
สัญญา
ผู้ปล่อยวางได้ แต่ไม่ปล่อยปละละเลย
ความไม่ยึดมั่นถือมั่นที่แท้ อีกที
ความไม่ยึดมั่นที่แท้ ต้องดูจากคติพระอรหันต์
สมมุติ,บัญญัติ
ธรรมกับวินัยเสริมกัน
วินัยเป็นบรรทัดฐานแห่งพฤติกรรมที่ถูกต้องตามธรรม
วินัย
ดูหัวข้อนี้ให้ชัด
ธรรมที่ตรัสไว้ต่างชุด ดุจเครื่องมือที่ใช้กับต่างงาน
ดุลยภาพในระบบความสัมพันธ์ของธรรม
ความเชื่ออีกแนวหนึ่ง
ความไม่ประมาท ช่วยปรับให้พอดี จึงเป็นทางสายกลาง
สติมา ปัญญาเกิด
มองอินเดียกับฝรั่ง ให้เห็นความแตกต่างที่เป็นคติแก่ไทย
บทบาทหน้าที่ของสติ กับ ปัญญา
ระบบทุกข์ภัยประดิษฐ์ ดีกว่าปล่อยให้มักง่าย
เรียบง่าย แต่ระวัง อย่าให้กลายเป็นมักง่าย
ความประมาท ความไม่ประมาท เป็นไฉน
ผู้ไม่ประมาทใช้ประโยชน์จากอนิจจัง
มนุษย์เป็นปัจจัยสำคัญต่อความเสื่อมความเจริญ
ความไม่ประมาท คือความสามารถที่จะไม่เสื่อม
ถิ่นปิยชนผู้เปี่ยมด้วยศรัทธา
???
ธรรมานุธรรมปฏิบัติ
สันโดษ ไม่สันโดษ ดีไม่ดี
ได้ดุลพอดี ที่เป็นลักษณะทางสายกลาง
ปัญญา ชี้นำเข้ามาและเดินหน้าในทางสายกลาง
อธิษฐานจิต
ใช้เวลาสักนิด กับ เรื่องภวังคจิต
สายมู
???
สมาธิมีประโยชน์มากมาย ต้องใช้ให้คุ้มและให้ครบ
อย่าทิ้งความคิดปรุงแต่งทันที ปรุงแต่งดีได้ถึงฌานสมาบัติ
พระพุทธเจ้ากับเพลง
จะอาศัยสิ่งกล่อมหรือจะใช้วิริยะและปัญญา
อิสรภาพของมนุษย์ จะได้ด้วยการศึกษาที่ถึงธรรม
พระพุทธเจ้ามา ประกาศอิสรภาพให้แก่มนุษย์
ความรักต้องคู่กับความรู้
คิดปรุงแต่ง กับ คิดวิปัสสนา
พระพุทธเจ้าตรัสรู้เพราะโยนิโสมนสิการ
มีโยนิโสมนสิการ เรื่องร้ายก็กลายเป็นดี
รูปกาย ธรรมกาย
ที่ประกาศอิสรภาพของมนุษย์
มุสลีมะอินโด ฯ
ปฏิบัติธรรมก้าวหน้าไป นามกายเจริญเอง
โปรยธรรมบนเส้นทางสู่ที่ปรินิพพาน
เส้นทางพุทธกิจ: พุทธคยา ถึง กุสินารา
ถ้าสังเวชเป็น ก็จะได้เห็นธรรมกาย
มุสลิมเตอร์ก มุสลิมมองโกล รุ่งแล้วเลือนลับ
จากยุคมุสลิมอาหรับ เข้าสู่ยุคมุสลิมเตอร์ก
สุหนี่นำอิสลามครองสะเปน จ่อแดนจีน
ชีอะฮ์ แ ย ก อ อ ก ม า
อิสลามแผ่ไพศาล
อิสลามรวมอาหรับ
เมตตาที่มีปัญญา จึงพาโลกสู่สันติสุขได้
???
รักษาแผ่นดินไทย ให้เป็นแผ่นดินธรรม
จุดเริ่มของแผ่นดินธรรม
ถ้าคนประสานกับธรรม ก็มีทางแก้ปัญหาชีวิตและสังคม
พุทธะโยงเราเข้าถึงธรรม
พระรัตนตรัย ต้องรู้จักใช้ให้เป็นสรณะ
มนุษย์ประเสริฐเพราะเป็นสัตว์ที่ฝึกได้
จากเทพสู่ธรรม จากธรรมสู่กรรม
พระพุทธเจ้าตรัสรู้แล้ว จะประกาศธรรมแสนยาก
ย้ำ
รู้ธรรม คือรู้เรื่องธรรมดา
โพธิพฤกษ์ โพธิญาณ
มหาวิทยาลัยสงฆ์มีไว้ทำไม
???
๕ แคว้น ที่ยิ่งใหญ่
ย้ำอุเบกขา
มาฆบูชา พัฒนาความรักแห่งวาเลนไทน์
ให้รักกับรู้ มาเข้าคู่ดูแลกัน
มนุษย์กับมนุษย์รักกัน แต่มนุษย์ต้องอยู่ให้ดีกับธรรม
ถึงความรักจะดี ก็ไม่พอ
มาฆบูชา กับ วาเลนไทน์
ละชั่ว ทําดียังไม่พอ ต้องต่อด้วย
หัวใจเดียว แต่มีสี่ห้อง
มาฆบูชาขึ้นมาเป็นวันสําคัญในพระพุทธศาสนา
สาระของโอวาทปาติโมกข์
มาฆบูชา กับ หัวใจพระพุทธศาสนา
ราชคฤห์ ศูนย์อํานาจการเมือง
หัวใจธรรม จากจุดศูนย์กลาง
พระพุทธศาสนาในมือของพุทธบริษัท
ร่องรอยที่เหลือ และเค้าการฟื้นฟูหลังหมดสิ้น
อวสานมาถึง เมื่อทัพมุสลิมเตอร์กลงดาบสุดท้าย
เทียบ ปทท.
นาลันทากับความเสื่อมสูญของพระพุทธศาสนา
วัดพุทธ ต้นกําเนิดมหาวิทยาลัยของโลก
พระพุทธศาสนาเกิดขึ้น ก็เกิดการศึกษาแก่มวลชน
ฟูจิ
เอาธรรมไปเป็นหลักประกันชีวิตและสังคมไว้
ธรรมเป็นอิสระจากคน คนถึงธรรมเป็นอิสระจากสังขาร
ศรัทธากับปัญญา นำเข้าเฝ้าพระพุทธเจ่า
ศูนย์กลางเผยแผ่พระพุทธศาสนา
ราชสังคหวัตถุ ๔
หลักธรรมที่อโศกราชาใช้ปกครองบ้านเมือง
อโศกราชากล้าหาญในทางสันติ
เทียบกันแล้ว สรุปได้
ดูพุทธพจน์แล้ว อ่านธรรมโองการเทียบ
อโศกธรรม หรือ คหัฐวินัย
ธรรมวิชัย:หลักการใหญ่ที่นําเข้าสู่พุทธธรรม
อโศกมหาราช อโศกธรรม
ศิลาจารึกอโศก เป็นของพระเจ้าอโศกมหาราชแน่หรือ
ทรัพย์และอํานาจ สู่ความหมายและคุณค่าใหม่
ธรรมวิชัย
ไม่ประมาท ก็ไม่เสื่อม
วัดพระราม
ชมพูทวีปในพุทธกาล
สังเวชนียสถาน ๔
ย้อนทางเข้าสู่แดนพุทธภูมิ
อชันตา เอลโลรา
แนะนำถ้ำอชันตา-เอลโลรา
สำหรับเรื่องถ้ำอชันตา และถ้ำเอลโลรานี้ เป็นเรื่องของ
พระพุทธศาสนาในอินเดียยุคหลัง
ซึ่งเรียกได้ว่าเป็นพุทธศาสนาของอินเดียโดยเฉพาะ เราก็ยิ่งมีความรู้น้อย
แต่ถึงจะรู้น้อย เราก็หาอ่านเอกสารต่างๆ เอาได้ และก็ไม่ใช่ว่าอินเดียเขาจะรู้มากกว่าเรา เขาเองก็รู้น้อยเหมือนกัน เพราะชาวอินเดียแทบจะไม่มีความรู้เรื่องเหล่านี้เลย ที่มีบ้างก็อาศัยฝรั่งมากกว่า
ทั้งนี้เพราะว่า ถ้ำ
อชันตา
และถ้ำ
เอลโลรา
นี้เป็นสถานที่สำคัญที่ถูกทอดทิ้งมาเป็นเวลานาน คิดว่าประมาณ ๗๐๐-๘๐๐ ปี จนกระทั่งกลายเป็นป่าที่รกชัฏไป เพราะมันอยู่ในภูเขาอยู่แล้ว เป็นถ้ำ และแถบนั้นสมัยก่อนก็สันนิษฐานกันว่าจะมีต้นไม้มาก
ใน พ.ศ. ๒๓๖๒ (ค.ศ. ๑๘๑๙) ได้มี
ทหารอังกฤษ
สังกัดกองทัพที่เมืองมัทราส ออกเดินทางมาล่าสัตว์ และมีเรื่องเล่าว่า เมื่อล่าสัตว์ไป ตอนหนึ่งก็เข้าไปตามกวาง ซึ่งหนีเข้าไปในถ้ำ เมื่อตามมาก็เจอถ้ำอชันตา นี้เลยได้พบสิ่งประหลาดอัศจรรย์
นี้ก็เป็นเรื่องของคนอังกฤษ ที่มาเป็นผู้ปกครองอาณานิคมตอนที่อินเดียตกเป็นเมืองขึ้นของอังกฤษ การที่พวกอังกฤษได้มาค้นพบก็แสดง ว่า ชาวอินเดียไม่มีความรู้เรื่องนี้เลย เมื่อชาวอังกฤษค้นพบแล้ว ก็ได้ทำการศึกษาค้นคว้าตามวิชาการแบบโบราณคดี
เรื่องนี้ก็ทำนองเดียวกันกับสถานที่สำคัญทางพระพุทธศาสนา เรียกว่าแทบทั้งหมดในประเทศอินเดีย ที่ถูกทอดทิ้งรกร้างไปหมดแล้ว จนคนอินเดียเองไม่รู้จักเลย
แม้แต่เรื่อง
พระเจ้าอโศกมหาราช
ที่ปัจจุบันรู้กันแล้วว่ายิ่งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ของอินเดีย ก่อนที่อังกฤษจะมาปกครอง คนอินเดียไม่รู้จักพระเจ้าอโศกมหาราช แต่ทิ้งพระองค์หายไปกับอดีตแห่งประวัติศาสตร์หมดแล้ว สถานที่สำคัญและหลักฐานทั้งหลาย เช่น หลักศิลาจารึก เป็นต้น เหล่านี้ล้วนแต่ถูกค้นพบโดยฝรั่งอังกฤษทั้งนั้น
ความรู้เรื่องราวเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาในยุคเก่าๆ ถ้ามองในแง่หนึ่งก็เป็นหนี้นักวิชาการ นักประวัติศาสตร์และนักโบราณคดีของตะวันตก คือพวกอังกฤษนี้มากมาย
เมื่อศึกษาค้นคว้ากันไป สำหรับถ้ำอชันตา-เอลโลรานี้ ก็ได้ความรู้มาพอสมควร เรื่องที่จะพูดต่อไปนี้ส่วนหนึ่งก็จะพูดตามที่เขาได้ค้นคว้ากันมา ซึ่งโดยมากก็เป็นเรื่องของการสันนิษฐาน ยังไม่มีความรู้ที่ชัดเจนมากนัก อย่างไรก็ตาม การสันนิษฐานนั้น ก็มีเหตุผลอยู่พอสมควร และเมื่อพูดไปตามนั้นก็จะเป็นเรื่องทางด้านประวัติศาสตร์ โดยหนักไปทางศิลปะ และเรื่องโบราณคดี
ท่านที่สนใจทางศิลปะ จะมีสิ่งที่น่าศึกษามากหน่อย ว่าเฉพาะปัจจุบันนี้ ให้ความสำคัญในแง่ศิลปะมาก โดยเป็นเรื่องของสถาปัตยกรรมบ้าง ประติมากรรมบ้าง เฉพาะอย่างยิ่งการแกะสลัก พร้อมทั้งจิตรกรรมคือภาพวาดต่างๆ รวมความว่า เขาให้ความสำคัญแก่ถ้ำอชันตา-เอลโลรา โดยปรากฏความเด่นทางด้านศิลปะมาก
แต่อีกด้านหนึ่งที่มีความสำคัญ ก็คือด้านศาสนา ซึ่งคนจะมองไม่มากนัก และถึงจะมอง ก็มักมองแต่ในแง่ของเรื่องภาพ หรือสิ่งที่ปรากฏทางโบราณคดี ซึ่งก็ยังศึกษากันไม่ได้มากเท่าไร
คิดว่า สิ่งที่จะเป็นประโยชน์แก่ชาวพุทธ คือเรื่องที่จะเป็นบทเรียนมากกว่า บทเรียนสำหรับชาวพุทธนี้น่าจะเป็นประโยชน์มาก
แต่ก่อนจะพูดถึงบทเรียน ก็ต้องดูเรื่องราวที่เป็นมาทางประวัติศาสตร์แล้วจึงมาเชื่อมโยงให้เห็นบทเรียน
อย่างไรก็ตาม บทเรียนเหล่านี้เราจะได้พอเป็นแนวคิดเท่านั้น ไม่ใช่ถึงกับแน่นอนไปเลย เพราะเราไม่ได้รู้ความจริงชัดเจน และก็ไม่มีใครรู้ชัดเจนด้วย เอาเป็นว่า บทเรียนเหล่านี้ถ้าจะเป็นแง่คิดให้เกิดประโยชน์ ในปัจจุบัน ที่จะเอามาใช้ในการเตือนสติให้ไม่ตกอยู่ในความประมาทได้ ก็เป็นสิ่งที่ดีงามน่าพอใจแล้ว
เรามาทำความเข้าใจกันเล็กน้อย เกี่ยวกับเรื่องของถ้ำเหล่านี้ก่อน ตามหลักฐานที่นักวิชาการหรือนักโบราณคดีเป็นต้นได้แสดงไว้ ซึ่งหลายท่านก็ได้อ่านแล้ว
อชันตา และเอลโลรา
เป็นชื่อของหมู่บ้าน ๒ แห่งใกล้เมืองออรังคาบาด รัฐมหาราษฎร์ในอินเดียภาคตะวันตก
อชันตา
อยู่ห่างจากเมืองออรังคาบาด ไปทางตะวันออกเฉียง เหนือ ๖๕ ไมล์ (๑๐๕ ก.ม.)
ส่วน
เอลโลรา
อยู่ใกล้เข้ามา คืออยู่ห่างจากเมืองออรังคาบาดนั้น ไปทางตะวันตกเฉียงเหนือ ๑๘ ไมล์ (๒๙ ก.ม.)
ก) หมู่ถ้ำอชันตา
ที่ใกล้หมู่บ้านอชันตา ได้มีการค้นพบถ้ำ ซึ่งที่จริงคือวัดในพระพุทธศาสนา ที่เจาะและแกะสลักเข้าไปในภูเขา อยู่เรียงกันเป็นหมู่รวม ๓๐ ถ้ำ เรียกกันว่า
หมู่ถ้ำอชันตา
(Ajanta caves) เป็นถ้ำยุคแรก เก่าแก่มาก มีกำเนิดเริ่มแต่ก่อนคริสต์ศักราช ประมาณ ๒๐๐ หรือ ๑๕๐ ปี คือราว พ.ศ.๓๕๐ หรือ ๔๐๐ เป็นต้นมา
อชันตา
เป็นถ้ำเก่า เป็นถ้ำพุทธศาสนาล้วนๆ คือเดิมนั้นมีแต่ พุทธศาสนาที่สร้างศิลปกรรมถ้ำ ก็คือถ้ำอชันตา ที่อชันตานี้มีทั้งหมดที่ เขาแสดงไว้ ๓๐ ถ้ำ เริ่มตั้งแต่ประมาณ พ.ศ. ๓๕๐ หรือ ๔๐๐ อชันตานี้ เริ่มจากประมาณ พ.ศ. ๓๕๐ หรือ ๔๐๐ ก็มาจบประมาณ พ.ศ. ๑๒๐๐
ที่ต้องสังเกตอีกอย่างหนึ่ง ก็คือ ที่อชันตานั้น ที่ว่าเป็นถ้ำพุทธศาสนาล้วนๆ ก็แบ่งเป็น ๒ ส่วนอีก คือ
ส่วนของ
หินยานหรือเถรวาท
พูดง่ายๆว่าแบบสายของเรา คือพุทธศาสนาที่ไปสู่เมืองไทย มีอยู่ ๖ ถ้ำด้วยกัน คือถ้ำที่ ๘, ๙, ๑๐, ๑๒, ๑๓ และ ๓๐ ซึ่งเป็นถ้ำที่เก่าแก่ที่สุด ประมาณ พ.ศ. ๓๕๐-๕๕๐ หรือ ๔๐๐–๖๐๐ ถ้ำที่ ๓๐ นั้นไปไม่ถึง เห็นว่าไม่มีทางขึ้นไป หรือว่าจะมีการสลายหินถล่มไปแล้ว
เป็นอันว่ามี ๖ ถ้ำนี้เป็นของหินยาน
เหลือจากนั้น ๒๔ ถ้ำ เป็นของฝ่ายมหายาน หลายถ้ำก็เป็นแบบผสมคือเป็นของหินยานแต่เดิม แล้วฝ่ายมหายานมาเติมแต่งทีหลัง เช่น สร้างถ้ำไว้แล้ว ทางด้านสถาปัตยกรรม และประติมากรรมทำไว้แล้วเป็นส่วนใหญ่ ทางฝ่ายมหายานก็มาเติมด้านจิตรกรรมภาพวาด เพราะภาพวาดนี้แน่นอนว่าจะต้องลบเลือนเร็ว
เมื่อผ่านไปหลายร้อยปีเข้า ภาพเก่าที่ทางฝ่ายเถรวาทวาดไว้ก็อาจจะเลือนไป ฝ่ายมหายานก็ไปแต่งเติมวาดใหม่ หรือจะลบทำใหม่ก็ไม่ยาก
ของหินยานที่ว่ามี ๖ ถ้ำนั้นเก่ามาก อย่างที่บอกไว้แล้วว่า ประมาณปี พ.ศ. ๓๕๐ หรือ ๔๐๐ มาถึงประมาณ พ.ศ. ๕๕๐ หรือ ๖๐๐ เท่านั้นเอง คือของเถรวาทนี้ทำอยู่ประมาณ ๒๐๐ ปีแล้วก็ขาด ช่วงไปประมาณ ๔๐๐ ปี ทางฝ่ายมหายานจึงมาเริ่ม ไม่ใช่ต่อกันเลย
การที่ขาดช่วงไปประมาณ ๔๐๐ ปีระหว่างเถรวาทกับมหายานนี้ เป็นเรื่องที่แปลก คงเป็นเรื่องที่ต้องศึกษาต่อไป ไม่รู้จะมีทางศึกษาค้นคว้าได้สำเร็จหรือเปล่า ว่าทำไมหายขาดตอนไปถึง ๔๐๐ ปี แล้ว มหายานจึงมาต่อ
หมายความว่า มหายานเข้ามาต่อประมาณ พ.ศ. ๑๐๐๐ จนถึงราว พ.ศ. ๑๒๐๐ แล้วก็จบยุคไปเลย
ข) หมู่ถ้ำเอลโลรา
ที่ใกล้หมู่บ้านเอลโลรา ก็มีการค้นพบถ้ำอีกจำนวนหนึ่ง ซึ่งเป็นวัดและศาสนสถานเจาะเข้าไปในภูเขาเช่นเดียวกัน แต่ทำขึ้นในสมัยหลัง และเป็นของศาสนาต่างๆ ๓ ศาสนา คือ พุทธ ฮินดูและเชน มีทั้งหมด ๓๔ ถ้ำ เรียกชื่อตามหมู่บ้านที่อยู่ใกล้ว่า หมู่ถ้ำเอลโลรา (Ellora caves)
เอลโลรา
เป็นหมู่ถ้ำใหม่ ตามที่นักปราชญ์สันนิษฐานกันว่า เริ่ม เกิดมีขึ้นตั้งแต่ประมาณ พ.ศ. ๑๑๐๐ หรือ ๑๒๐๐ มาจนถึงประมาณ พ.ศ. ๑๔๐๐ ซึ่งเรื่องนี้ก็ไม่เด็ดขาด
หมู่ถ้ำนี้มีถึง ๓ ศาสนา อย่างที่ทราบกันดีอยู่แล้วว่า มีทั้งหมด ๓๔ ถ้ำ และเป็นถ้ำพุทธอยู่ชุดแรก เริ่มจากทิศใต้คือถ้ำที่ ๑ ถึง ๑๒
ต่อไป ถ้ำ ๑๓ ถึง ๒๙ เป็นถ้ำของฮินดูต่อกันไปเลย ถ้ำพุทธ กับ ฮินดูนั้นต่อกันไป
ต่อจากนั้น แยกห่างออกไปทางเหนือ เป็นกลุ่มต่างหาก ถ้ำที่ ๓๐ ถึง ๓๔ เป็นถ้ำของศาสนาเชน หรือศาสนา
มหาวีระ
ในพุทธศาสนาเราเรียกศาสนานี้ว่าเหล่า
นิครนถ์
ซึ่งมี
นิครนถนาฏบุตร
เป็นศาสดา แต่ในการศึกษาปัจจุบันนี้ เขาเรียกกันว่า
ศาสนาเชน
เป็นอันว่า หมู่
ถ้ำเอลโลรานี้มี ๓ ศาสนา
ถ้ำของพระพุทธศาสนา ๑๒ ถ้ำ จากทิศใต้สุดเริ่มประมาณ พ.ศ. ๑๑๐๐ ไปจนถึงประมาณ ๑๓๐๐ หรือ ๑๓๕๐
ส่วนของ
ฮินดู
นั้นเริ่มถัดมา คือหลัง
พระพุทธศาสนา
ประมาณ ๑๐๐ ปีแล้วก็มาสิ้นสุดลงหลังพระพุทธศาสนาราว ๑ ศตวรรษ (ระยะหลังนี้ บางท่านกล่าวว่า ถ้ำที่ ๒๑ ของฮินดูชื่อถ้ำราเมศวร เป็นถ้ำเก่าที่สุดของเอลโลรา)
ส่วนถ้ำของ
ศาสนาเชน
นั้นเกิดขึ้นหลังสุด ซึ่งมาคาบเกี่ยวกับฮินดู ศาสนาเชนนี้อาจจะมาเริ่มประมาณ พ.ศ. ๑๓๕๐ ถึง ๑๔๕๐ ของศาสนาเชนนี้มีอยู่ ๕ ถ้ำด้วยกัน
ที่ให้ทราบเวลา ก็เพื่อจะได้รู้ว่า
เริ่มต้นนั้นเป็นของพุทธศาสนา
ก่อน แล้วจึงมี
ศาสนาฮินดู
มาต่อท้ายด้วย
ศาสนาเชน
ในส่วนของพระพุทธศาสนา ถ้ำที่เอลโลรานี้มีแต่ฝ่ายมหายาน อันนี้เป็นข้อควรกำหนดไว้ เพราะเป็นสิ่งที่ควรจะต้องทราบจากเอลโลราที่ เราได้ไปชมก่อน คือเราไปดูของใหม่ที่เอลโลราแล้วจึงย้อนไปดูของเก่า ที่อชันตา
- ข้อสังเกต เทียบระหว่างอชันตา กับเอลโลรา
อชันตา
เป็นถ้ำเก่าแก่มาก เริ่มตั้งแต่ประมาณ พ.ศ. ๓๕๐ หรือ ๔๐๐ มาจบประมาณ พ.ศ. ๑๒๐๐
ต่อจากนั้นจึงมีถ้ำที่เอลโลรา (ยุคของถ้ำที่เอลโลรา คาบเกี่ยวกับอชันตาในตอนปลายๆ เล็กน้อย) ถ้ำแรกที่อชันตา ก่อนถ้ำแรกที่เอลโลรา ประมาณ ๘๐๐ ปีเก่าแก่กว่ากันมากมาย
ที่ต้องสังเกตอีกอย่างหนึ่งก็คือ ที่อชันตา เป็นถ้ำพุทธศาสนาล้วนๆ ส่วนที่เอลโลรา เป็นถ้ำของ ๓ ศาสนา คือ พุทธ ฮินดูและเชน
ที่จริงนั้น วัดถ้ำแบบนี้ในแถบนี้ยังมีที่ภูเขาอื่นอีกบ้าง แต่ไม่มาก และไม่มีชื่อเสียงเท่าที่อชันตา และเอลโลรา
นี้เป็นความรู้ทั่วไปเบื้องต้น ที่ควรจะทราบ
ถ้ำอชันตา มรดกโลกล้ำค่าจากแรงศรัทธาในพระพุทธศาสนา
กลุ่มพุทธวิหารถ้ำอะชันตา (Ajanta Caves)สุดยอดความงามของมรดกโลกและพุทธศิลป์แห่งอินเดีย | พระมหาบึญโฮม
https://pantip.com/topic/42540174
Create Date : 23 กุมภาพันธ์ 2567
Last Update : 27 มกราคม 2568 17:20:35 น.
0 comments
Counter : 424 Pageviews.
Share
Tweet
ผู้โหวตบล็อกนี้...
คุณmcayenne94
ชื่อ :
* blog นี้ comment ได้เฉพาะสมาชิก
Comment :
*ส่วน comment ไม่สามารถใช้ javascript และ style sheet
สมาชิกหมายเลข 6393385
Location :
[ดู Profile ทั้งหมด]
ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
ผู้ติดตามบล็อก : 9 คน [
?
]
Webmaster - BlogGang
[Add สมาชิกหมายเลข 6393385's blog to your web]
Bloggang.com