กรรมเก่า คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ.เป็นเจ้าบทบาทเดิม จากนั้น การศึกษาอาศัยปรโตโฆสะ ซึ่งมีคติว่า "คนเป็นไปตามสภาพแวดล้อมที่ปรุงปั้น" และโยนิโสมนสิการ ซึ่งมีคติย้อนกลับว่า "ถ้าเป็นคนรู้จักคิด แม้แต่ฟังคนบ้าคนเมาพูด ก็อาจสำเร็จเป็นพระอรหันต์"
ก่อนศึกษาพุทธธรรม
กรรมฐาน
จงกรม
หลักปฏิบัติ
สภาวธรรม
ลำดับญาณ,ทวนญาณ
ภาษาธรรมวันละคำ
ปฏิบัติธรรมให้ถูกทาง
ข้อธัมม์ที่ถาม-เถียงกันบ่อย
บุญ
ผู้พิพากษาตั้งตุลา ใ ห้ สั ง ค ม ส ม ดุ ล
คติธรรมสั้นๆ
รู้เขา รู้เรา
พุทธโอวาทก่อนปรินิพพาน,
ความเป็นมาของการบวช
การทำวัตรสวดมนต์
ทำยังไงจึงจะมีอายุยืนและมีความสุข
พลังดันคน
ที่ทำงานของจิต
บรรลุธรรมอะไร?
พุทธปรัชญาในสุตตันตปิฎก
ธัมมาธิบาย
สวดมนต์
ความจน เ ป็ น ทุ ก ข์ ใ น โ ล ก
เรียนบาลีเพื่อรักษาพุทธพจน์
ศีลธรรมไม่กลับมาโลกาจะพินาศ
หลักธรรมสำหรับผู้ยังไม่นับถือศาสนาใดๆ
ภาค ๑. มัชเฌนธรรมเทศนา
ภาค ๒. มัชฌิมาปฏิปทา
ภาค ๓. อารยธรรมวิถี
วัฒนธรรมประเพณี
จาริกบุญ จารึกธรรม
สมาธิ,ฌาน
ถ้าศาสนาพุทธมีหลักธรรมดีจริง คงไม่สูญสิ้นจากถิ่นเดิม
ศีลกับเจตนารมณ์ทางสังคม
คุณค่าทางจริยธรรมของไตรลักษณ์
สติปัฏฐาน
ศีลสำหรับประชาชน
วิธีการแห่งศรัทธา (ปรโตโฆสะที่ดี)
วิธีการแห่งปัญญา (โยนิโสมนสิการ)
ทางดำเนินชีวิตสายกลาง
คุณสมบัติบุคคลโสดาบัน
กาม
ความสุข
อริยสัจ ๔
ธรรมฉันทะ - ตัณหาฉันทะ
กรรม
ฅนไทย ใช่กบเฒ่า ?
พระไทย ใช่เขาใช่เรา?
สมถะ,วิปัสสนา,เจโตวิมุตติ,ปัญญาวิมุตติ
อนัตตา
สมมุติบัญญัติ
ศีล-สีลัพพตปรามาส
นรก สวรรค์ ในพระไตรปิฎก
วันสำคัญของชาวพุทธไทย
วิธีฝึกหูทิพย์ ตาทิพย์
ความสำคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะ ศ.ประจำชาติ
ภาวะแห่งนิพพาน
ระดับของผู้บรรลุนิพพาน
ภาวะของผู้บรรลุนิพพาน
อิทธิบาท ๔
รู้ทุกอย่างแต่ปล่อยวางไม่ได้
สติ,สติปัฏฐาน
ตถตา
อ่าน แล้ว คิดว่าเป็นนั่นเป็นนี่
ทำยังไงจะให้เชื่อเรื่องกรรม
<<
กุมภาพันธ์ 2567
>>
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
11 กุมภาพันธ์ 2567
เส้นทางพุทธกิจ: พุทธคยา ถึง กุสินารา
๘. ถ้าสังเวชเป็น ก็จะได้เห็นธรรมกาย
มุสลิมเตอร์ก มุสลิมมองโกล รุ่งแล้วเลือนลับ
จากยุคมุสลิมอาหรับ เข้าสู่ยุคมุสลิมเตอร์ก
สุหนี่นำอิสลามครองสะเปน จ่อแดนจีน
ชีอะฮ์ แ ย ก อ อ ก ม า
อิสลามแผ่ไพศาล
อิสลามรวมอาหรับ
เมตตาที่มีปัญญา จึงพาโลกสู่สันติสุขได้
???
๗. รักษาแผ่นดินไทย ให้เป็นแผ่นดินธรรม
ประมูลอัญมณีที่เกี่ยวกับพระพุทธเจ้า
วิธีล้างบาป
ชาวพุทธต้องทำใจ
ถ้าเชื่อก็เป็นแม่ ถ้าไม่เชื่อก็เป็นสายธาร
เอกบุคคลที่เป็นมิจฉาทิฏฐิกับเอกบุคคลที่เป็นสัมมาทิฏฐิผู้เกิดมาในโลก
คนในอดีตบอกอะไรคนปัจจุบัน
ภาพรวมพุทธธรรม
คคห.ทูตอินเดียว่าธรรมะพระพุทธองค์สอดคล้องท้าทายยุคสมัย
ทำไมพุทธศาสนาหายไปจากอินเดีย
กำเนิดพุทธรูปัง
อารยธรรมอินเดีย
อริยสัจ ๔ หัวใจพุทธศาสนาหมายความว่าอะไร
อปุญญาภิสังขาร VS ปุญญาภิสังขาร
อินโดฯ จัดยิ่งใหญ่
ดินแดนที่ตกอยู่ในความวุ่นวาย
หมายเหตุ
ทีนี้ มองดูเกาะใหญ่ ถัดลงไปทางใต้
มะละกาลับหาย สุมาตรา-ชวา เฟื่องฟูขึ้นมาใหม่
มะละกา ที่แดนมาเลเซียขึ้นมาเป็นใหญ่เหนือ ชวา
มุสลิมอินโดฯ
ชวา ขึ้นมาล้ำ สุมาตรา
มลายู ขยายจากสุมาตรา ขึ้นยังมาเลเซีย
อิสลาม เริ่มเข้าที่ สุมาตรา
อินโดนีเซีย: ที่สุมาตรา ย้อนไปถึง ศรีวิชัย
???
อินโดจีน ส่วนล่างกับอดีตเด่นดังที่ ลังกาสุกะ
อินโดจีน ย้อนอดีตถึง ทวารวดี
จีน- อินเดีย แล้วเกิดมี อินโดจีน - อินโดนีเซีย
ภาคผนวก
คู่ต่างคู่เติม เสริมความรู้ธรรมให้เต็ม
พุทธในอินเดียแต่ละยุคๆ
ทัพมุสลิมเตอร์ก เก็บฉาก
ปุษยมิตร - มิหิรกุละ - ศาศางกะ ทำลายพุทธในระหว่าง
ศิวะอวตาร
นารายณ์อวตารเป็นพระพุทธเจ้า
เรื่องเกี่ยวกับโพธิสัตว์
ต้นโพธิ์ พระสถูป พระพุทธรูป
ย้ำอีกที
พระรัตนตรัย:สื่อเชื่อมต่อ และส่งเข้าสู่ทาง
ดูข้างเคียงให้ทั่ว จะเห็นของตัวว่าเป็นอย่างไร
ย้ำ
วัดถ้ำ: พุทธ เชน ฮินดู เปลือกดูคล้าย
เค้าอวสานแห่งพุทธศาสนา
ฮินดูฟื้น พุทธศาสนาสลบ
พุทธศาสนาประกาศอิสรภาพให้แก่มนุษย์
วัดกับถ้ำ
หลังพุทธกาล คามวาสี-อรัญญวาสี จึงมี
ถ้ำกับชีวิตของพระสงฆ์ในพระพุทธศาสนา
อชันตา เอลโลรา
๑๑. รักษาธรรม คือรักษาความเป็นไท
ระบบสัมพันธ์ของธรรม
รู้ทุกข์จึงดับทุกข์ได้ไม่ใช่รู้ทุกข์ไป แล้วกลายเป็นทุกข์
เศรษฐกิจจะพอดี เมื่อมันทำหน้าที่เป็นปัจจัย
ปัญญา
สัญญา
ผู้ปล่อยวางได้ แต่ไม่ปล่อยปละละเลย
ความไม่ยึดมั่นถือมั่นที่แท้ อีกที
ความไม่ยึดมั่นที่แท้ ต้องดูจากคติพระอรหันต์
สมมุติ,บัญญัติ
ธรรมกับวินัยเสริมกัน
วินัยเป็นบรรทัดฐานแห่งพฤติกรรมที่ถูกต้องตามธรรม
วินัย
ดูหัวข้อนี้ให้ชัด
ธรรมที่ตรัสไว้ต่างชุด ดุจเครื่องมือที่ใช้กับต่างงาน
ดุลยภาพในระบบความสัมพันธ์ของธรรม
ความเชื่ออีกแนวหนึ่ง
ความไม่ประมาท ช่วยปรับให้พอดี จึงเป็นทางสายกลาง
สติมา ปัญญาเกิด
มองอินเดียกับฝรั่ง ให้เห็นความแตกต่างที่เป็นคติแก่ไทย
บทบาทหน้าที่ของสติ กับ ปัญญา
ระบบทุกข์ภัยประดิษฐ์ ดีกว่าปล่อยให้มักง่าย
เรียบง่าย แต่ระวัง อย่าให้กลายเป็นมักง่าย
ความประมาท ความไม่ประมาท เป็นไฉน
ผู้ไม่ประมาทใช้ประโยชน์จากอนิจจัง
มนุษย์เป็นปัจจัยสำคัญต่อความเสื่อมความเจริญ
ความไม่ประมาท คือความสามารถที่จะไม่เสื่อม
๑๐ ทางสายกลาง เพื่อชีวิตสังคมที่สุขสมบูรณ์
???
ธรรมานุธรรมปฏิบัติ
สันโดษ ไม่สันโดษ ดีไม่ดี
ได้ดุลพอดี ที่เป็นลักษณะทางสายกลาง
ปัญญา ชี้นำเข้ามาและเดินหน้าในทางสายกลาง
อธิษฐานจิต
ใช้เวลาสักนิด กับ เรื่องภวังคจิต
ไสย์ กับ พุทธ
???
สมาธิมีประโยชน์มากมาย ต้องใช้ให้คุ้มและให้ครบ
อย่าทิ้งความคิดปรุงแต่งทันที ปรุงแต่งดีได้ถึงฌานสมาบัติ
พระพุทธศาสนากับเพลง
จะอาศัยสิ่งกล่อมหรือจะใช้วิริยะและปัญญา
อิสรภาพของมนุษย์ จะได้ด้วยการศึกษาที่ถึงธรรม
พระพุทธเจ้ามา ประกาศอิสรภาพให้แก่มนุษย์
???
คิดปรุงแต่ง กับ คิดวิปัสสนา
พระพุทธเจ้าตรัสรู้เพราะโยนิโสมนสิการ
มีโยนิโสมนสิการ เรื่องร้ายก็กลายเป็นดี
รูปกาย ธรรมกาย ปรากฏและเป็นไป ที่สังเวชนียสถาน ๔
๙. ที่ประกาศอิสรภาพของมนุษย์ (คติจากสังเวชนียสถาน)
มุสลีมะอินโด ฯ
ปฏิบัติธรรมก้าวหน้าไป นามกายเจริญเอง
โปรยธรรมบนเส้นทางสู่ที่ปรินิพพาน
เส้นทางพุทธกิจ: พุทธคยา ถึง กุสินารา
๘. ถ้าสังเวชเป็น ก็จะได้เห็นธรรมกาย
มุสลิมเตอร์ก มุสลิมมองโกล รุ่งแล้วเลือนลับ
จากยุคมุสลิมอาหรับ เข้าสู่ยุคมุสลิมเตอร์ก
สุหนี่นำอิสลามครองสะเปน จ่อแดนจีน
ชีอะฮ์ แ ย ก อ อ ก ม า
อิสลามแผ่ไพศาล
อิสลามรวมอาหรับ
เมตตาที่มีปัญญา จึงพาโลกสู่สันติสุขได้
???
๗. รักษาแผ่นดินไทย ให้เป็นแผ่นดินธรรม
๖. จุดเริ่มของแผ่นดินธรรม
ถ้าคนประสานกับธรรม ก็มีทางแก้ปัญหาชีวิตและสังคม
พุทธะโยงเราเข้าถึงธรรม
พระรัตนตรัย ต้องรู้จักใช้ให้เป็นสรณะ
มนุษย์ประเสริฐเพราะเป็นสัตว์ที่ฝึกได้
จากเทพสู่ธรรม จากธรรมสู่กรรม
พระพุทธเจ้าตรัสรู้แล้ว จะประกาศธรรมแสนยาก
ย้ำ
รู้ธรรม คือรู้เรื่องธรรมดา
๕. โพธิพฤกษ์ โพธิญาณ
มหาวิทยาลัยสงฆ์มีไว้ทำไม
ขัดแย้งกันที่แดนสวรรค์
๕ แคว้น ที่ยิ่งใหญ่
ย้ำอุเบกขา
มาฆบูชา พัฒนาความรักแห่งวาเลนไทน์
ให้รักกับรู้ มาเข้าคู่ดูแลกัน
มนุษย์กับมนุษย์รักกัน แต่มนุษย์ต้องอยู่ให้ดีกับธรรม
ถึงความรักจะดี ก็ไม่พอ
มาฆบูชา กับ วาเลนไทน์
ละชั่ว ทําดียังไม่พอ ต้องต่อด้วย
หัวใจเดียว แต่มีสี่ห้อง
มาฆบูชาขึ้นมาเป็นวันสําคัญในพระพุทธศาสนา
สาระของโอวาทปาติโมกข์
มาฆบูชา กับ หัวใจพระพุทธศาสนา
ราชคฤห์ ศูนย์อํานาจการเมือง
๔. หัวใจธรรม จากจุดศูนย์กลาง
พระพุทธศาสนาในมือของพุทธบริษัท
ร่องรอยที่เหลือ และเค้าการฟื้นฟูหลังหมดสิ้น
อวสานมาถึง เมื่อทัพมุสลิมเตอร์กลงดาบสุดท้าย
เทียบ ปทท.
นาลันทากับความเสื่อมสูญของพระพุทธศาสนา
วัดพุทธ ต้นกําเนิดมหาวิทยาลัยของโลก
๓. ความยิ่งใหญ่ ที่ทำให้ทั้งเจริญและเสื่อม
???
เอาธรรมไปเป็นหลักประกันชีวิตและสังคมไว้
ธรรมเป็นอิสระจากคน คนถึงธรรมเป็นอิสระจากสังขาร
ศรัทธากับปัญญา นำเข้าเฝ้าพระพุทธเจ่า
๒. เข้าเฝ้าพระพุทธเจ้าถึงที่ประทับ
ราชสังคหวัตถุ ๔
หลักธรรมที่อโศกราชาใช้ปกครองบ้านเมือง
อโศกราชากล้าหาญในทางสันติ
เทียบกันแล้ว สรุปได้
ดูพุทธพจน์แล้ว อ่านธรรมโองการเทียบ
อโศกธรรม หรือ คหัฐวินัย
ธรรมวิชัย:หลักการใหญ่ที่นําเข้าสู่พุทธธรรม
อโศกมหาราช อโศกธรรม
ศิลาจารึกอโศก เป็นของพระเจ้าอโศกมหาราชแน่หรือ
ทรัพย์และอํานาจ สู่ความหมายและคุณค่าใหม่
ธรรมวิชัย
ไม่ประมาท ก็ไม่เสื่อม
วัดพระราม
ชมพูทวีปในพุทธกาล
สังเวชนียสถาน ๔
๑. ย้อนทางเข้าสู่แดนพุทธภูมิ
เส้นทางพุทธกิจ: พุทธคยา ถึง กุสินารา
เส้นทางพุทธกิจ:
พุทธคยา ถึง กุสินารา
เรื่องราวใน
พุทธประวัติ
ที่เกี่ยวกับ
สังเวชนียสถาน
นี้ เราควรทราบไว้ เพื่อเป็นเครื่องเจริญศรัทธา และประดับปัญญาบารมี
ในตอนที่ผ่านมา ได้เสียโอกาสไปบ้าง เพราะบางแห่งธรรมชาติไม่อำนวย คือสถานที่แสดงปฐมเทศนามีฝนลูกเห็บ ก็เลยไม่ได้แสดงธรรมเท่าที่ควร อาตมาก็จะรวบรัดเอามาพูดสรุปในที่นี้ เรื่องที่พูดก็จึงมีเนื้อหามากมาย แต่เวลาจํากัด ก็เลยต้องมาคิดว่า จะพูดอย่างไรให้เหมาะแก่กาลเวลานี้
อย่างไรก็ตาม อยากจะท้าวความสักนิดหนึ่ง เพราะว่าสถานที่นี้ เป็นที่ปรินิพพาน เป็นที่จบท้าย การแสดงธรรมก็เหมือนกับเป็นการสรุปเรื่องราว ของการที่พระพุทธเจ้าได้เสด็จจาริกมา คือเกี่ยวเนื่องด้วยสถานที่ทั้งหมดที่เราได้ผ่านมาแล้ว ขอประมวลความอีกนิดหน่อย
พระพุทธเจ้าตรัสรู้ที่พุทธคยาโน้น ไกลออกไป ที่ได้บอกเมื่อกี้นี้ว่า ๒๕ โยชน์ คือ ประมาณ ๔๐๐ กิโลเมตร ณ สถานที่นั้น เมื่อพระพุทธเจ้าตรัสรู้แล้ว ก็ได้เสด็จจาริกมาที่ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน ที่เมืองพาราณสี และทรงแสดงปฐมเทศนา
ได้กล่าวแล้วว่า พระพุทธองค์เสด็จเดินทางมาภายในเวลาที่มีอยู่ประมาณ ๑๑ วัน แต่ก่อนที่จะทรงเดินทางนั้น พระองค์ได้เสวยวิมุตติสุขก่อนรวม ๗ สัปดาห์
เมื่อตรัสรู้นั้น เป็นวันเพ็ญเดือน ๖ จากวันเพ็ญเดือน ๖ นี่นับมาอีก ๔๙ วัน แล้วก็มีเวลาสำหรับเดินทางอีก ๑๑ วัน รวมเป็น ๖๐ วัน เท่ากับ ๒ เดือน ก็มาพอดีกลางเดือน ๘
เป็นอันว่า
ตรัสรู้กลางเดิอน ๖
เสด็จมาถึงป่าอิสิปตนมฤคทายวัน
กลางเดือน ๘
ก็ทรงแสดง
ปฐมเทศนา
แก่เบญจวัคคีย์ คือ
ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร
ณ
วันเพ็ญเดือน ๘
เรียกว่า
อาสาฬหบูชา
คือ วันแสดงปฐมเทศนา ตรงกับลำดับประเพณีที่เราทราบกันดีอยู่
พระพุทธเจ้าทรงแสดงปฐมเทศนา ณ ที่นั้นแล้ว ก็ได้บําเพ็ญพุทธกิจ เสด็จจาริกแสดงธรรมอีกเป็นเวลา ๔๕ พรรษา
ระหว่างนั้น พระพุทธเจ้าเสด็จไปจําพรรษาหลายแห่ง จะลองสรุป มาดูกัน
พรรษาแรก
ก็คือที่ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน สถานที่แสดงปฐมเทศนา ซึ่งมีความสําคัญมาก คือ
๑. แสดงธรรมครั้งแรก เป็นปฐมเทศนา เรียกว่า ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร
๒. ได้ปฐมสาวก คือพระสาวกองค์แรก ได้แก่ พระอัญญาโกณฑัญญะ ที่ได้ดวงตาเห็นธรรม และได้ขอ
อุปสมบท
เป็นพระภิกษุองค์แรกในพระพุทธศาสนา และ
๓. ทําให้เกิดมีสาวกที่เป็นองค์แรกของพระสงฆ์ด้วย จึงนับว่า
เป็นวันที่มีพระรัตนตรัยครบองค์ ๓
กล่าวคือ เดิมนั้น มีแต่พระพุทธเจ้า และ พระธรรม สองอย่าง พอพระอัญญาโกณฑัญญะ ได้บวช ก็ทําให้เกิดมีองค์แรกใน
สงฆ์
เรียกว่า เป็น
วันที่เกิดสังฆรัตนะขึ้นในโลก
ต่อจากนั้น เบญจวัคคีย์บวชตามกัน จนกระทั่งครบ และพระพุทธเจ้าก็ทรง
จําพรรษาแรก ที่อิสิปตนมฤคทาย
วันนี้ มีสิ่งแรกๆ หรือมีที่หนึ่งเกิดขึ้นที่นี่หลายอย่าง
จากพรรษาที่หนึ่งแล้ว พระพุทธเจ้าเสด็จจาริกไปยังสถานที่ต่างๆ ทรงบําเพ็ญพุทธกิจจนครบ ๔๕ พรรษา
ในระหว่าง ๔๕ พรรษานี้ ก็มีสถานที่จําพรรษามากมาย แต่โดยสรุปแล้ว มีที่ที่พระพุทธเจ้าจำพรรษามากอยู่ ๓ - ๔ แห่ง
เริ่มแรก ก็เมืองราชคฤห์
ซึ่งเป็นแห่งที่พระพุทธเจ้าประดิษฐานพระพุทธศาสนา ที่เราผ่านมาแล้ว พระพุทธเจ้าเสด็จจําพรรษาที่นั่น ๕ พรรษาด้วยกัน คือ พรรษาที่ ๒-๓-๔, ๑๗ และ ๒๐ การที่พระพุทธเจ้าเสด็จมาที่เมืองพาราณสีมาแสดงปฐมเทศนา ก็เพื่อโปรดเบญจวัคคีย์เท่านั้น หลังออกพรรษาแล้วก็เสด็จไปราชคฤห์
ความจริง พระพุทธเจ้าตรัสรู้ที่พุทธคยา ก็อยู่แถบเมืองราชคฤห์ ใกล้ทางโน้นอยู่แล้ว แต่เพราะทรงระลึกถึง
เบญจวัคคีย์
ที่เคยปฏิบัติพระองค์ และทรงเห็นว่า
เป็นผู้ที่มีพื้นความรู้ความเข้าใจ
อย่างที่เรียกว่า มีธุลีในดวงตาน้อย และ
เป็น
ผู้มุ่งต่อการแสวงหาสัจธรรม
พระองค์จึงได้เสด็จมาโปรด
อีกอย่างหนึ่ง
ก็เหมือนกับเป็นการสร้างฐานความมั่นใจแก่คนทั้งหลายในความตรัสรู้ของพระองค์ เพราะว่าถ้าพระองค์ปล่อยเบญจวัคคีย์ไว้
มองในแง่หนึ่ง เบญจวัคคีย์
นี้ สละละพระองค์มาด้วยความเข้าใจ ว่าพระโพธิสัตว์คลายความเพียร เลิกบําเพ็ญทุกรกิริยา หมดทางตรัสรู้ เสียแล้ว ถ้าพระองค์ปล่อยทิ้งไว้เบญจวัคคีย์ก็อาจจะไปเที่ยวพูดว่า ท่านผู้นี้เราเคยไปอยู่ด้วย เราเห็นท่านปฏิบัติมาแล้ว ท่านไม่ตรัสรู้หรอก ไม่มีทาง
พระองค์เสด็จมาโปรดเบญจวัคคีย์ ทําให้เบญจวัคคีย์ยอมรับ และตรัสรู้ตามแล้ว เบญจวัคคีย์ก็กลายเป็นสาวกที่ยิ่งสร้างมั่นใจให้แก่ประชาชนในการประกาศพระศาสนา
ดังนั้น การที่พระองค์เสด็จมาพาราณสี ณ ปาอิสิปตนะนี้ พุทธกิจก็คือมาโปรดเบญจวัคคีย์
เสร็จแล้วก็ได้โปรดท่านผู้อื่นอีกบ้าง โดยเฉพาะ
บุตรเศรษฐี
ในเมืองพาราณสี ชื่อ
ยสะ
และเพื่อนของยสะอีก ๕๔ คน ทําให้เกิดมีพระอรหันต์ขึ้นเป็นรุ่นแรกที่เมืองนี้ รวมทั้งพระพุทธเจ้าด้วยเป็น ๖๑ องค์
จากนั้น พระพุทธเจ้าก็ทรง
ส่งพระสาวกชุดแรก ๖๐ องค์
นี้ ออกประกาศพระศาสนา กระจายออกไปจากเมืองพาราณสีนี่แหละ
จากนั้น พระพุทธเจ้าก็เสด็จ
สู่ราชคฤห์
ทรงแวะ
สํานักของชฎิล
ใหญ่ชื่ออุรุเวลกัสสป โปรดชฎิล ๓ พี่น้อง (อุรุเวลกัสสป นทีกัสสป คยากัสสป) พร้อมทั้งบริวาร รวมเป็น ๑,๐๐๐ องค์ เข้ามาอุปสมบท เป็นพระภิกษุทั้งหมด
แล้วเสด็จนําเข้าเมืองราชคฤห์ ทรงประดิษฐานพระพุทธศาสนา โดยมี
พระเจ้า
พิมพิสาร
เ
ป็นสาวกองค์สําคัญ ในฐานะเป็นพระมหากษัตริย์ และได้ถวาย
วัด
แรกในพระพุทธศาสนา
คือ
วัดเวฬุวัน
ซึ่งเป็นที่ที่ทรงแสดง
โอวาทปาติโมกข์
เป็นที่มาของพิธี
มาฆบูชา
ดังที่เราได้ผ่านมา แล้ว และทรงจําพรรษาที่ ๒ ที่ราชคฤห์นี้ และยังได้อัครสาวก คือ พระสารีบุตร และพระมหาโมคคัลลาน์ด้วย
จากนั้น พระพุทธเจ้าทรงจําพรรษาที่เมืองราชคฤห์ต่อเป็นพรรษา ที่ ๒ ที่ ๓ และที่ ๔ แล้วจึงเสด็จไปยังที่อื่นๆ และจําพรรษาที่โน้นบ้าง ที่นี่บ้างเรื่อยมา
มีสถานที่สำคัญที่จำพรรษามากที่สุด คือที่สาวัตถี ณ วัดเชตวัน และบุพพาราม อันเป็นเรื่องที่ สืบเนื่องมาจากการที่อนาถบิณฑิกเศรษฐี ได้เดินทางไปที่ราชคฤห์ เป็นการขยายพุทธกิจโดยเริ่มต้นจากราชคฤห์ นั่นเอง
อนาถบิณฑิกเศรษฐี นั้น เดินทางไปเยี่ยมเยือนราชคหเศรษฐี คือ เศรษฐีแห่งเมืองราชคฤห์ที่เป็นเพื่อนกัน จึงไปพักที่เมืองราชคฤห์ แล้วก็เลยได้ไปเฝ้าพระพุทธเจ้า ได้ฟังธรรม แล้วก็ได้ความเลื่อมใส
เมื่อกลับไปสู่สาวัตถีแล้ว
อนาถบณฑิกเศรษฐี
กีไป
สร้าง
วัด
เชตวัน
ขึ้นที่เมืองสาวัตถี และนิมนต์พระพุทธเจ้าไปประทับ ต่อมาก็ปรากฏว่าพระพุทธเจ้าได้เสด็จไปประทับที่พระเชตวันนี้มากที่สุด
ที่เชตวันนั้นเอง ต่อมา
นางวิสาขา
มหาอุบาสิกาคนสําคัญ มีความเลื่อมใสในพระพุทธเจ้ามาก ก็ไป
สร้าง
วัด
ขึ้นอีกวัดหนึ่งไม่ไกลกัน ในเมืองเดียวกัน คือ เมืองสาวัตถี วัดของนางวิสาขาชื่อว่า
วัดบุพพาราม
พระพุทธเจ้าประทับที่วัดนี้ไม่น้อยเหมือนกัน
ครั้งแรก เสด็จไปประทับที่วัดพระเชตวัน ในพรรษา ที่ ๑๔ จากนั้น ก็เสด็จไปที่อี่น แล้วจึงย้อนกลับมาจำพรรษาที่
วัดเชตวัน
กับ
วัดบุพพาราม
ตั้งแต่ พรรษาที่ ๒๑ ถึงพรรษาที่ ๔๔ ตลอดเลย
เป็นเวลาทั้งหมดที่จําพรรษาในเมืองสาวัตถีนั้น ๒๕ พรรษา แบ่งเป็นที่
พระเชตวัน ๑๙ พรรษา
และที่
บุพพาราม
ของนางวิสาขา อีก ๖ พรรษา
จากนั้น ก็
เสด็จบนเส้นทางปรินิพพาน
โดยไป
จําพรรษาสุดท้าย คือ พรรษาที่ ๔๕ ที่เวฬุวคาม
ใกล้เมืองเวสาลีพรรษาสุดท้ายนี่แหละ เป็น จุดสําคัญ
เรื่องราวบนเส้นทางสู่ที่ปรินิพพาน ปรากฏอยู่ในพระสูตรสําคัญ พระสูตรหนึ่ง เรียกว่า มหาปรินิพพานสูตร
(ที.ม.๑๐/๖๗-๑๖๒)
Create Date : 11 กุมภาพันธ์ 2567
Last Update : 12 กุมภาพันธ์ 2567 8:09:05 น.
0 comments
Counter : 590 Pageviews.
Share
Tweet
ผู้โหวตบล็อกนี้...
คุณRain_sk
,
คุณnewyorknurse
ชื่อ :
* blog นี้ comment ได้เฉพาะสมาชิก
Comment :
*ส่วน comment ไม่สามารถใช้ javascript และ style sheet
สมาชิกหมายเลข 6393385
Location :
[ดู Profile ทั้งหมด]
ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
ผู้ติดตามบล็อก : 9 คน [
?
]
Webmaster - BlogGang
[Add สมาชิกหมายเลข 6393385's blog to your web]
Bloggang.com