กรรมเก่า คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ.เป็นเจ้าบทบาทเดิม จากนั้น การศึกษาอาศัยปรโตโฆสะ ซึ่งมีคติว่า "คนเป็นไปตามสภาพแวดล้อมที่ปรุงปั้น" และโยนิโสมนสิการ ซึ่งมีคติย้อนกลับว่า "ถ้าเป็นคนรู้จักคิด แม้แต่ฟังคนบ้าคนเมาพูด ก็อาจสำเร็จเป็นพระอรหันต์"
ก่อนศึกษาพุทธธรรม
จงกรม
หลักปฏิบัติ
สภาวธรรม
ลำดับญาณ,ทวนญาณ
ภาษาธรรมวันละคำ
ปฏิบัติธรรมให้ถูกทาง
ข้อธัมม์ที่ถาม-เถียงกันบ่อย
บุญ
ผู้พิพากษาตั้งตุลา ใ ห้ สั ง ค ม ส ม ดุ ล
คติธรรมสั้นๆ
รู้เขา รู้เรา
พุทธโอวาทก่อนปรินิพพาน,
ความเป็นมาของการบวช
การทำวัตรสวดมนต์
ทำยังไงจึงจะมีอายุยืนและมีความสุข
พลังดันคน
ที่ทำงานของจิต
บรรลุธรรมอะไร?
พุทธปรัชญาในสุตตันตปิฎก
ธัมมาธิบาย
สวดมนต์
ความจน เ ป็ น ทุ ก ข์ ใ น โ ล ก
เรียนบาลีเพื่อรักษาพุทธพจน์
ศีลธรรมไม่กลับมาโลกาจะพินาศ
หลักธรรมสำหรับผู้ยังไม่นับถือศาสนาใดๆ
ภาค ๑. มัชเฌนธรรมเทศนา
ภาค ๒. มัชฌิมาปฏิปทา
ภาค ๓. อารยธรรมวิถี
วัฒนธรรมประเพณี
จาริกบุญ จารึกธรรม
สมาธิ,ฌาน
ถ้าศาสนาพุทธมีหลักธรรมดีจริง คงไม่สูญสิ้นจากถิ่นเดิม
ศีลกับเจตนารมณ์ทางสังคม
คุณค่าทางจริยธรรมของไตรลักษณ์
กรรมฐาน
สติปัฏฐาน
ศีลสำหรับประชาชน
วิธีการแห่งศรัทธา (ปรโตโฆสะที่ดี)
วิธีการแห่งปัญญา (โยนิโสมนสิการ)
ทางดำเนินชีวิตสายกลาง
คุณสมบัติบุคคลโสดาบัน
กาม
ความสุข
อริยสัจ ๔
ธรรมฉันทะ - ตัณหาฉันทะ
กรรม
ฅนไทย ใช่กบเฒ่า ?
พระไทย ใช่เขาใช่เรา?
สมถะ,วิปัสสนา,เจโตวิมุตติ,ปัญญาวิมุตติ
อนัตตา
สมมุติบัญญัติ
ศีล-สีลัพพตปรามาส
นรก สวรรค์ ในพระไตรปิฎก
วันสำคัญของชาวพุทธไทย
วิธีฝึกหูทิพย์ ตาทิพย์
ความสำคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะ ศ.ประจำชาติ
ภาวะแห่งนิพพาน
ระดับของผู้บรรลุนิพพาน
ภาวะของผู้บรรลุนิพพาน
อิทธิบาท ๔
รู้ทุกอย่างแต่ปล่อยวางไม่ได้
สติ,สติปัฏฐาน
ตถตา
อ่าน แล้ว คิดว่าเป็นนั่นเป็นนี่
ทำยังไงจะให้เชื่อเรื่องกรรม
มกราคม 2567
>>
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
28 มกราคม 2567
ไม่ประมาท ก็ไม่เสื่อม
วัดพระราม
ชมพูทวีปในพุทธกาล
ประมูลอัญมณีที่เกี่ยวกับพระพุทธเจ้า
วิธีล้างบาป
ชาวพุทธต้องทำใจ
ถ้าเชื่อก็เป็นแม่ ถ้าไม่เชื่อก็เป็นสายธาร
เอกบุคคลที่เป็นมิจฉาทิฏฐิกับเอกบุคคลที่เป็นสัมมาทิฏฐิผู้เกิดมาในโลก
คนในอดีตบอกอะไรคนปัจจุบัน
ภาพรวมพุทธธรรม
คคห.ทูตอินเดียว่าธรรมะพระพุทธองค์สอดคล้องท้าทายยุคสมัย
ทำไมพุทธศาสนาหายไปจากอินเดีย
กำเนิดพุทธรูปัง
อารยธรรมอินเดีย
อริยสัจ ๔ หัวใจพุทธศาสนาหมายความว่าอะไร
อปุญญาภิสังขาร VS ปุญญาภิสังขาร
อินโดฯ จัดยิ่งใหญ่
ดินแดนที่ตกอยู่ในความวุ่นวาย
หมายเหตุ
ทีนี้ มองดูเกาะใหญ่ ถัดลงไปทางใต้
มะละกาลับหาย สุมาตรา-ชวา เฟื่องฟูขึ้นมาใหม่
มะละกา ที่แดนมาเลเซียขึ้นมาเป็นใหญ่เหนือ ชวา
มุสลิมอินโดฯ
ชวา ขึ้นมาล้ำ สุมาตรา
มลายู ขยายจากสุมาตรา ขึ้นยังมาเลเซีย
อิสลาม เริ่มเข้าที่ สุมาตรา
อินโดนีเซีย: ที่สุมาตรา ย้อนไปถึง ศรีวิชัย
???
อินโดจีน ส่วนล่างกับอดีตเด่นดังที่ ลังกาสุกะ
อินโดจีน ย้อนอดีตถึง ทวารวดี
จีน- อินเดีย แล้วเกิดมี อินโดจีน - อินโดนีเซีย
ภาคผนวก
คู่ต่างคู่เติม เสริมความรู้ธรรมให้เต็ม
พุทธในอินเดียแต่ละยุคๆ
ทัพมุสลิมเตอร์ก เก็บฉาก
ปุษยมิตร - มิหิรกุละ - ศาศางกะ ทำลายพุทธในระหว่าง
ศิวะอวตาร
นารายณ์อวตารเป็นพระพุทธเจ้า
เรื่องเกี่ยวกับโพธิสัตว์
ต้นโพธิ์ พระสถูป พระพุทธรูป
ย้ำอีกที
พระรัตนตรัย:สื่อเชื่อมต่อ และส่งเข้าสู่ทาง
ดูข้างเคียงให้ทั่ว จะเห็นของตัวว่าเป็นอย่างไร
ย้ำ
วัดถ้ำ: พุทธ เชน ฮินดู เปลือกดูคล้าย
เค้าอวสานแห่งพุทธศาสนา
ฮินดูฟื้น พุทธศาสนาสลบ
พุทธศาสนาประกาศอิสรภาพให้แก่มนุษย์
วัดกับถ้ำ
หลังพุทธกาล คามวาสี-อรัญญวาสี จึงมี
ถ้ำกับชีวิตของพระสงฆ์ในพระพุทธศาสนา
อชันตา เอลโลรา
๑๑. รักษาธรรม คือรักษาความเป็นไท
ระบบสัมพันธ์ของธรรม
รู้ทุกข์จึงดับทุกข์ได้ไม่ใช่รู้ทุกข์ไป แล้วกลายเป็นทุกข์
เศรษฐกิจจะพอดี เมื่อมันทำหน้าที่เป็นปัจจัย
ปัญญา
สัญญา
ผู้ปล่อยวางได้ แต่ไม่ปล่อยปละละเลย
ความไม่ยึดมั่นถือมั่นที่แท้ อีกที
ความไม่ยึดมั่นที่แท้ ต้องดูจากคติพระอรหันต์
สมมุติ,บัญญัติ
ธรรมกับวินัยเสริมกัน
วินัยเป็นบรรทัดฐานแห่งพฤติกรรมที่ถูกต้องตามธรรม
วินัย
ดูหัวข้อนี้ให้ชัด
ธรรมที่ตรัสไว้ต่างชุด ดุจเครื่องมือที่ใช้กับต่างงาน
ดุลยภาพในระบบความสัมพันธ์ของธรรม
ความเชื่ออีกแนวหนึ่ง
ความไม่ประมาท ช่วยปรับให้พอดี จึงเป็นทางสายกลาง
สติมา ปัญญาเกิด
มองอินเดียกับฝรั่ง ให้เห็นความแตกต่างที่เป็นคติแก่ไทย
บทบาทหน้าที่ของสติ กับ ปัญญา
ระบบทุกข์ภัยประดิษฐ์ ดีกว่าปล่อยให้มักง่าย
เรียบง่าย แต่ระวัง อย่าให้กลายเป็นมักง่าย
ความประมาท ความไม่ประมาท เป็นไฉน
ผู้ไม่ประมาทใช้ประโยชน์จากอนิจจัง
มนุษย์เป็นปัจจัยสำคัญต่อความเสื่อมความเจริญ
ความไม่ประมาท คือความสามารถที่จะไม่เสื่อม
๑๐ ทางสายกลาง เพื่อชีวิตสังคมที่สุขสมบูรณ์
???
ธรรมานุธรรมปฏิบัติ
สันโดษ ไม่สันโดษ ดีไม่ดี
ได้ดุลพอดี ที่เป็นลักษณะทางสายกลาง
ปัญญา ชี้นำเข้ามาและเดินหน้าในทางสายกลาง
อธิษฐานจิต
ใช้เวลาสักนิด กับ เรื่องภวังคจิต
ไสย์ กับ พุทธ
???
สมาธิมีประโยชน์มากมาย ต้องใช้ให้คุ้มและให้ครบ
อย่าทิ้งความคิดปรุงแต่งทันที ปรุงแต่งดีได้ถึงฌานสมาบัติ
พระพุทธศาสนากับเพลง
จะอาศัยสิ่งกล่อมหรือจะใช้วิริยะและปัญญา
อิสรภาพของมนุษย์ จะได้ด้วยการศึกษาที่ถึงธรรม
พระพุทธเจ้ามา ประกาศอิสรภาพให้แก่มนุษย์
???
คิดปรุงแต่ง กับ คิดวิปัสสนา
พระพุทธเจ้าตรัสรู้เพราะโยนิโสมนสิการ
มีโยนิโสมนสิการ เรื่องร้ายก็กลายเป็นดี
รูปกาย ธรรมกาย ปรากฏและเป็นไป ที่สังเวชนียสถาน ๔
๙. ที่ประกาศอิสรภาพของมนุษย์ (คติจากสังเวชนียสถาน)
มุสลีมะอินโด ฯ
ปฏิบัติธรรมก้าวหน้าไป นามกายเจริญเอง
โปรยธรรมบนเส้นทางสู่ที่ปรินิพพาน
เส้นทางพุทธกิจ: พุทธคยา ถึง กุสินารา
๘. ถ้าสังเวชเป็น ก็จะได้เห็นธรรมกาย
มุสลิมเตอร์ก มุสลิมมองโกล รุ่งแล้วเลือนลับ
จากยุคมุสลิมอาหรับ เข้าสู่ยุคมุสลิมเตอร์ก
สุหนี่นำอิสลามครองสะเปน จ่อแดนจีน
ชีอะฮ์ แ ย ก อ อ ก ม า
อิสลามแผ่ไพศาล
อิสลามรวมอาหรับ
เมตตาที่มีปัญญา จึงพาโลกสู่สันติสุขได้
???
๗. รักษาแผ่นดินไทย ให้เป็นแผ่นดินธรรม
๖. จุดเริ่มของแผ่นดินธรรม
ถ้าคนประสานกับธรรม ก็มีทางแก้ปัญหาชีวิตและสังคม
พุทธะโยงเราเข้าถึงธรรม
พระรัตนตรัย ต้องรู้จักใช้ให้เป็นสรณะ
มนุษย์ประเสริฐเพราะเป็นสัตว์ที่ฝึกได้
จากเทพสู่ธรรม จากธรรมสู่กรรม
พระพุทธเจ้าตรัสรู้แล้ว จะประกาศธรรมแสนยาก
ย้ำ
รู้ธรรม คือรู้เรื่องธรรมดา
๕. โพธิพฤกษ์ โพธิญาณ
มหาวิทยาลัยสงฆ์มีไว้ทำไม
ขัดแย้งกันที่แดนสวรรค์
๕ แคว้น ที่ยิ่งใหญ่
ย้ำอุเบกขา
มาฆบูชา พัฒนาความรักแห่งวาเลนไทน์
ให้รักกับรู้ มาเข้าคู่ดูแลกัน
มนุษย์กับมนุษย์รักกัน แต่มนุษย์ต้องอยู่ให้ดีกับธรรม
ถึงความรักจะดี ก็ไม่พอ
มาฆบูชา กับ วาเลนไทน์
ละชั่ว ทําดียังไม่พอ ต้องต่อด้วย
หัวใจเดียว แต่มีสี่ห้อง
มาฆบูชาขึ้นมาเป็นวันสําคัญในพระพุทธศาสนา
สาระของโอวาทปาติโมกข์
มาฆบูชา กับ หัวใจพระพุทธศาสนา
ราชคฤห์ ศูนย์อํานาจการเมือง
๔. หัวใจธรรม จากจุดศูนย์กลาง
พระพุทธศาสนาในมือของพุทธบริษัท
ร่องรอยที่เหลือ และเค้าการฟื้นฟูหลังหมดสิ้น
อวสานมาถึง เมื่อทัพมุสลิมเตอร์กลงดาบสุดท้าย
เทียบ ปทท.
นาลันทากับความเสื่อมสูญของพระพุทธศาสนา
วัดพุทธ ต้นกําเนิดมหาวิทยาลัยของโลก
๓. ความยิ่งใหญ่ ที่ทำให้ทั้งเจริญและเสื่อม
???
เอาธรรมไปเป็นหลักประกันชีวิตและสังคมไว้
ธรรมเป็นอิสระจากคน คนถึงธรรมเป็นอิสระจากสังขาร
ศรัทธากับปัญญา นำเข้าเฝ้าพระพุทธเจ่า
๒. เข้าเฝ้าพระพุทธเจ้าถึงที่ประทับ
ราชสังคหวัตถุ ๔
หลักธรรมที่อโศกราชาใช้ปกครองบ้านเมือง
อโศกราชากล้าหาญในทางสันติ
เทียบกันแล้ว สรุปได้
ดูพุทธพจน์แล้ว อ่านธรรมโองการเทียบ
อโศกธรรม หรือ คหัฐวินัย
ธรรมวิชัย:หลักการใหญ่ที่นําเข้าสู่พุทธธรรม
อโศกมหาราช อโศกธรรม
ศิลาจารึกอโศก เป็นของพระเจ้าอโศกมหาราชแน่หรือ
ทรัพย์และอํานาจ สู่ความหมายและคุณค่าใหม่
ธรรมวิชัย
ไม่ประมาท ก็ไม่เสื่อม
วัดพระราม
ชมพูทวีปในพุทธกาล
สังเวชนียสถาน ๔
๑. ย้อนทางเข้าสู่แดนพุทธภูมิ
ไม่ประมาท ก็ไม่เสื่อม
วัชชีสูญอํานาจ - มคธขึ้นเป็นศูนย์อํานาจ
เท่าที่พูดมานี้เป็นการเล่าอย่างคร่าวๆ แต่อยากจะให้ข้อสังเกตอีกนิดหน่อย คือ เรื่องความเจริญของ
แคว้นมคธ
ที่เกี่ยวข้อง กับ
แคว้นวัชชี
เพราะมความสัมพันธ์กับเรื่องของเมืองที่เราเดินทางมาถึงขณะนี้คือเมือง
ปัตนะ
เมือง
ปัตนะ
นี้ชื่อเดิมคือเมือง
ปาฏลีบุตร
ซึ่งได้มาเป็นเมืองหลวงของพระเจ้าอโศกมหาราช และเป็นที่ตั้งของ
วัดอโศการาม
ที่เรานั่งอยู่ ซึ่งเป็นที่ทําสังคายนาครั้งที่ ๓ ดังได้กล่าวแล้ว
เมือง
ปาตลีบุตร
(บางทีเขียนปาฏลีบุตร) มีเรื่องที่น่าสนใจเชื่อมโยงกับพุทธกาลนิดหน่อย คือในสมัยพุทธกาลนั้น เมืองปาฏลีบุตรเพิ่งจะเริ่มก่อสร้างในตอนที่พระพุทธเจ้าใกล้จะปรินิพพาน
อาณาจักร
มคธ
ในสมัยพุทธกาลมีเมืองหลวงชื่อว่าเมือง
ราชคฤห์
ซึ่งเราจะไปในวันสองวันนี้ ราชคฤห์เป็นเมืองหลวงเดิมของแคว้นมคธในสมัยที่พระพุทธเจ้าประทับอยู่ และพระพุทธเจ้าก็ทรงประดิษฐานพระพุทธศาสนาที่เมือง
ราชคฤห์
นั้น
เมื่อพระพุทธเจ้าปรินิพพานแล้ว เมืองราชคฤห์ก็ได้เป็นศูนย์กลางการเผยแพร่พระพุทธศาสนา เพราะเป็นที่ทํา
สังคายนาครั้งที่ ๑
สังคายนาครั้งที่ ๑
ทําที่ราชคฤห์ เมืองหลวงเก่า ต่อมา
สังคายนาครั้งที่ ๓
ทําที่เมืองปาฏลีบุตร เมืองหลวงใหม่แห่งนี้จึงขอให้ลองเชื่อมโยงเรื่องราวดู
เมืองราชคฤห์
เป็นเมืองหลวงของแคว้น
มคธ
ในสมัยพุทธกาล ซึ่งเริ่มในสมัยของพระเจ้าพิมพิสาร ต่อมา
พระราชโอรส
ของพระเจ้าพิมพิสาร คือ
พระเจ้าอชาตศัตรู
ได้ปลงพระชนม์พระราชบิดา แล้วขึ้นครองราชย์ที่เมืองราชคฤห์นั่นแหละจนถึงปลายพุทธกาลจึงมีเรื่องราวของเมืองปาฏลีบุตรนี้เกิดขึ้น ดังที่ท่านเล่าไว้ใน
มหาปรินิพพานสูตร
ตอนนั้น พระพุทธเจ้าเสด็จพุทธดำเนินในหนทางที่จะไปสู่เมืองที่จะปรินิพพาน คือ เมือง
กุสินารา
และตอนที่เสด็จผ่านมาที่นี่ เมือง
ปาตลีบุตร
มีชื่อว่า
ปาตลิคาม
คือยังเป็นหมู่บ้าน
ปาตลิยัง
ไม่ได้เป็นเมือง
เวลานั้น พระเจ้า
อชาตศัตรู
กำลังต้องการจะรุกรานแคว้น
วัชชี
เนื่องจากพระองค์มีปัญหากับแคว้นวัชชี ก็ต้องสร้างความเข็มแข็งในชายแดน
พระเจ้าอชาตศัตรู
จึงได้ทรงดําเนินการสร้าง
ปาตลิคาม
คือหมู่บ้านแห่งนี้ขึ้น ให้เป็นเมืองป้อม หรือเมืองหน้าด่าน เพื่อจะสู้รบกับแคว้นวัชชีนี่คือ กําเนิดของเมือง
ปาฏลีบุตร
พระเจ้าอชาตศัตรู
ได้มอบหมายให้
มหาอำมาตย์ ๒
ท่าน ชื่อ สุนีธะ กับ วัสสการะ มาดำเนินการสร้างเมืองนี้
ในช่วงระยะที่
กำลังสร้าง
เมืองนี้อยู่
พระพุทธเจ้า
ก็เสด็จมา และพระองค์ได้เสด็จผ่านไปในสถานที่ต่างๆ เมื่อพระองค์เสด็จผ่านประตูเมือง เขาก็เรียกประตูเมืองนั้นว่า
โคตมทวาร
พระองค์เสด็จลงแม่น้ำที่ท่าน้ำใด เขาก็เรียกท่าน้ำนั้นว่า
โคตมติตถะ
พระพุทธเจาได้ทรงทำนายไว้ว่า ปาฏลีบุตรที่สร้างขึ้นใหม่เป็นเมืองหน้าด่านนี้ ต่อไปจะเจริญรุ่งเรือง แต่ก็จะมีความ
พินาศด้วยภัย ๓
ประการ คือ
ภัยจากไฟ จากน้ำ
และจาก
ความแตกสามัคคี
นี้เป็นเหตุการณ์ในพุทธกาลที่ต่อเนื่องมา ซึ่งทําให้เราได้เห็นกําเนิดของเมือง
ปาฏลีบุตร
การที่พระเจ้า
อชาตศัตรู
แห่งแคว้นมคธมาสร้างเมืองหน้าด่านนี้ขึ้นเพื่อสู้กับ
วัชชี
ก็เพราะถิ่นนี้เป็นจุดยุทธศาสตร์สําคัญ และพวกวัชชี หรือกษัตรย์
ลิจฉวี
กีมีปัญหากับแคว้นมคธ โดยเฉพาะพระเจ้า
อชาตศัตรู
มาตลอด
มีเรื่องเล่ามาว่า บนฝั่งแม่น้ำคงคา ซึ่งยาวออกไปไกล มีดินแดนอยู่ส่วนหนึ่งที่เคยเป็นเส้นแบ่งเขตระหว่างฝ่าย
มคธ
กับฝ่าย
วัชชี
ที่
ภูเขา
หนึ่งที่อยู่ริมแม่น้ำนี้ มีพืชอะไรชนิดหนึ่ง กล่าวกันว่า มีกลิ่นหอมมาก และเมื่อถึงวาระที่น้ำฝนชะลงมา ก็พาเอากลิ่นหอมนี้ลงมาในแมน้ำ จึงเป็นที่ๆมีชีอเสียงอย่างมาก
ครั้งหนึ่ง พระเจ้าอชาตศัตรู
เตรียมยกพลมา เพื่อจะเอาพืชที่มีกลิ่นหอมนี้ แต่พวก
วัชชี
ก็มาชิงตัดหน้าเอาไปก่อน พระเจ้าอชาตศัตรูเสด็จมาอีกทีไร พวกวัชชีก็มาตัดหน้าเอาไปทุกทีจึงเป็นเหตุการณ์หนึ่งที่ทําให้
พระเจ้าอชาตศัตรู
พิโรธโกรธแค้นมาก
ความคิดที่อยากจะห้ำหั่นพวกวัชชีนั้นมีอยู่เรื่อยมา เป็นเรื่องของการแย่งชิงอํานาจ และความหวาดกลัว เพราะพวก
วัชชี
นั้นเป็น
ระบบอํานาจแบบเก่า
มีการปกครองแบบเดิม เมื่อมีความเข้มแข็ง ก็จะเป็นภัยคุกคามต่อมคธ
เป็นธรรมดาที่ว่า
คนที่หวังอํานาจ
ก็จะต้องพยายามรุกราน หรือ ปราบปรามอีกฝ่ายหนึ่งลงไปให้ได้ เพื่อแสดงความยิ่งใหญ่ของตน และบั่นทอนกำลังของฝ้ายตรงข้ามจึงเกิดเป็นสภาพเหตุ การณ์ในสมัยก่อนจะสิ้นพุทธกาลและต่อจากสิ้นพุทธกาลใหม่ๆ
เรื่องการพิพาทกันระหว่างแคว้น
วัชชี
กับ
มคธ
ปรากฏอยู่ในพุทธประวัติดังจะเห็นได้จากเรื่อง
อปริหานิยธรรม
พระเจ้าอชาตศัตรู
เคยส่งวัสสการพราหมณ์ไปเข้าเฝ้าพระพุทธเจ้า ให้ลองไปหยั่งดูว่า ถ้าพระองค์จะยกทัพไปปราบวัชชีพระพุทธเจ้าจะตรัสว่าอย่างไร
วัสสการพราหมณ์
ได้เข้าไปทูลทํานองว่า พระเจ้าอชาตศัตรูทรงพระดําริจะยกทัพไปปราบแคว้นวัชชี พระพุทธเจ้าไม่ตรัสอะไรโดยตรง แต่ตรัสให้รู้เป็นนัย โดยทรงหันไปถามพระอานนท์ว่า
"อานนท์ สมัยหนึ่ง เราได้ทรงแสดง
หลักอปริหานิยธรรม ๗
ประการ ไว้แก่เจ้าลิจฉวีทั้งหลาย เวลานี้ พวกกษัตริย์ลิจฉวียังรักษาอปริหานิยธรรมกันดีอยู่หรือ"
(ที.ม.๑๐/๖๘)
พระอานนททูลรับ
พระพทธเจ้าก็ตรัสว่า ตราบใดที่กษัตริย์ลิจฉวี แห่งแคว้นวัชชี ยังประพฤติ ปฏิบิตัมั่นอยู่ใน
อปริหานิยธรรม ๗ ประการ
จะไม่มีใครเอาชนะได้ คล้ายกับจะทรงห้ามทัพไว้ก่อนเพราะถ้าขืนรบก็จะสูญเสียมากมายด้วยกันทั้งสองฝ่าย จึงทำให้พระเจ้าอชาตศัตรูไม่กล้ายกทัพไป
ต่อมาพระเจ้าอชาตศัตรู
ก็ทรงพระดําริอีก ว่าทําอย่างไรจะเอาชนะวัชชีได้ แล้วก็ปรากฏว่า
วัสสการพราหมณ์
ได้ถวายแผนการจะไปทําลายความสามัคคีของแคว้นวัชชีเสีย และอาสาดำเนินการนี้ โดยทำอุบายเป็นว่าถูกลงโทษ และถูกขับถูกเนรเทศออกจากแคว้นมคธไป
วัสสการพราหมณ์
ทำเป็นว่าหนีภัยหนีอันตรายไป และด้วยความโกรธแค้นต่อกษัตริย์อชาตศัตรู ก็เลยไปอาสารับราชการแผ่นดินในวัชชี กษัตริย์วัชชีหลงกลก็วางใจ
ต่อมา
วัสสการพราหมณ์
ก็ใช้กลอุบายเกลี้ยกล่อมยุแหย่ จนกระทั่งกษัตริย์ลิจฉวีแตกแยกกันหมด นํามาซึ่งความอ่อนแอของวัชชี แล้วในที่สุด พระเจ้าอชาตศัตรูก็ยกทัพมาตี ทำให้ว้ชชี แตกพินาศไป มคธก็หมดคู่แข่ง
ถ้าไม่ประมาท ก็ไม่เสื่อม
ในสมัยพุทธกาล พระพุทธเจ้าทรงเตือนให้ไม่ประมาทอยู่เสมอ การที่ทรงแสดงอปริหานิยธรรมก็เป็นการเตือนชาววัชชีว่า เธอทั้งหลายจะต้องประพฤติปฏิบัติมั่นในธรรมเหล่านี้ ๗ ข้อ ซึ่งญาติโยมอาจรู้บ้าง ไม่รู้ บ้าง ขอพูดไว้เป็นตัวอย่าง
อปริหานิยธรรม
แปลว่า
ธรรมอันไม่เป็นที่ตั้งแห่งความเสื่อม
เช่น หมั่นประชุมกันเนืองนิตย์ เมื่อประชุมก็พร้อมเพรียงกันประชุม เมื่อเลิกประชุมก็พร้อมใจกันเลิก เมื่อมีกิจใดที่เป็นของส่วนรวมเกิดขึ้น ก็ต้องลุกขึ้นมาช่วยกันจัดช่วยกันทํา ตลอดจนให้
มีความ
เคารพนับถือสักการะ
อนุสาวรีย์ปูชนียสถาน
ซึ่งเป็น
หลักใจ
ของ
บ้านเมือง
หรือของ
สังคม
พระพุทธเจ้าตรัสแสดงหลักการเหล่านี้ไว้
และทรงสรุปว่า “ถ้าชาววัชชีคือกษัตริย์ลิจฉวีและประชาชนยึดมั่นในหลักธรรมเหล่านี้ไว้ก็จะไม่มีความเสื่อม จะมีแต่ความเจริญอย่างเดียว”
(ที.ม.๑๐/๖๘)
นี่คือการที่พระองค์ตรัสเตือนอยู่เสมอว่า ให้พยายามตั้งตนอยู่ในธรรมเหล่านี้ แต่ในที่สุดความเสื่อมก็เข้ามา เพราะกษัตริย์ลิจฉวีไม่ได้ปฏิบัติตาม
นอกจากนี้ พระองค์ยังไดัตรัสในโอกาสอื่นอีกให็เห็นว่า เท่าที่เป็นมา กษัตริย์ลิจฉวีนั้น เป็นผู้ที่แข็งแกร่ง มีความหมั่นขยันในการฝึกฝนตนเอง เป็นอยู่ด้วยความไม่ประมาท ไม่เห็นแก่ความสุขสําราญ จะนอนหมอนไม้และหมั่นฝึกการรบตลอดเวลา
แต่พวกกษัตริย์ลิจฉวีเหล่านั้น เมื่ออาณาจักรของตนมั่นคงเข้มแข็งรุ่งเรืองขึ้น ก็จะเพลิดเพลินหลงมัวเมาในความสุขต่างๆ หาความสุข จากการเป็นอยู่อย่างฟุ่มเฟือยหรูหรา
ความเสื่อมก็ค่อยๆ คืบคลานเข้ามา จนพ่ายแพ้แก่
มคธ
ถึงความพินาศในที่สุด
ในพระสูตรนั้น พระพุทธเจ้าได้ตรัสเรื่องนี้ไว้ เพื่อเป็นพระดำรัส เตือนพระภิกษุทั้งหลายให้ไม่ประมาท
ครั้งนั้น พระพุทธองค์ประทับอยู่ที่ป่ามหาวัน เมืองเวสาลี
ซึ่งเป็น
เมืองหลวง
ของแคว้น
วัชชี
พระองค์ได้ตรัสไว้ดังนี้
"
ภิกษุทั้งหลาย
เวลานี้กษัตริย์ลิจฉวีทั้งหลาย ยังนอนหนุนหมอนไม้ ไม่ประมาท มีความเพียรในการฝึกซ้อมศิลปะ พระเจ้าอชาตศัตรู
เวเทหิบุตร
ราชาแห่งมคธ ย่อมไม่ได้ช่องไม่ได้โอกาส
"แต่ในกาลข้างหน้า พวกกษัตริย์ลิจฉวีจะกลายเป็นผู้สํารวย อ่อนแอ มีมือเท้าอ่อนนุ่ม นอนบนเตียงฟูกฟู หนุนหมอนใหญ่หนาอ่อนนุ่ม จนตะวันขึ้น แล้วพระเจ้าอชาตศัตรูเวเทหิบุตรราชาแห่งมคธก็จะได้ช่องได้โอกาส ภิกษุทั้งหลาย เวลานี้ เหล่าภิกษุยังนอนหนุนหมอนไม้ ไม่ประมาท มีความขะมักเขม้นในการบําเพ็ญเพียร มารร้ายย่อมไม่ได้ช่องไม่ได้โอกาส
แต่ในกาลนานไกล
ข้างหน้า เหล่าภิกษุจะเป็นผู้สํารวย อ่อนแอ มีมือเท้าอ่อนนุ่ม นอนบนเตียงฟูกฟูหนุนหมอนใหญ่หนานุ่ม จนตะวันขึ้น มารร้ายก็จะได้ช่องได้โอกาส
"เพราะเหตุดังนั้น เธอทั้งหลายพึงศึกษาอย่างนี้ว่า เราจักเป็นผู้หนุนหมอนไม้ ไม่ประมาท มีความขะมักเขม้น ในการบําเพ็ญเพียร ภิกษุทั้งหลายเธอพึงศึกษาอย่างนี้"
(สํ.นิ. ๑๖/๖๗๔-๖)
นี้คือเรื่องราวต่างๆ ที่น่าศึกษา ให้เข้าใจถึง
ความเสื่อม
และ
ความเจริญ
ของ
บ้านเมือง
ตลอดจน
สังคม
ต่างๆ เป็น
คติสอนใจพุทธศาสนิกชน จากเรื่องราวที่เป็นมาในประวัติศาสตร์
ว่าจะไม่พูดยาว แต่ที่พูดมาก็มากแล้ว ทั้งนี้ต้องการให้เห็นภาพ กว้างๆ ของความเป็นมาในอดีต ว่าดินแดนนี้มีความสําคัญอย่างไร
เป็นอันว่า
ปาตลิคาม
ที่พระเจ้า
อชาตศัตรู
ได้เริ่มให้มหาอํามาตย์ มาสร้างขึ้นในตอนท้ายพุทธกาลนั้น ได้เป็นเมืองหน้าด่าน และมีชื่อว่าเมิอง
ปาฏลีบุตร
ต่อมาหลังพุทธกาล
เมื่อสิ้นวงศ์ของพระเจ้า
อชาตศัตรู
แล้วก็มีการย้ายเมืองหลวงจาก
ราชคฤห์
มาอยู่ที่
ปาฏลีบุตร
ซึ่งตอนนั้นเป็นเวลาที่
แคว้นวัชชี
ได้สิ้นอํานาจไปแล้ว
แคว้นมคธ
ก็เจริญสืบมา จนกระทั่ง
ปาฏลีบุตร
ได้มาเป็นเมืองหลวงของ
พระเจ้าอโศก
Create Date : 28 มกราคม 2567
Last Update : 18 กุมภาพันธ์ 2567 17:51:38 น.
0 comments
Counter : 362 Pageviews.
Share
Tweet
ชื่อ :
* blog นี้ comment ได้เฉพาะสมาชิก
Comment :
*ส่วน comment ไม่สามารถใช้ javascript และ style sheet
สมาชิกหมายเลข 6393385
Location :
[ดู Profile ทั้งหมด]
ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
ผู้ติดตามบล็อก : 9 คน [
?
]
Webmaster - BlogGang
[Add สมาชิกหมายเลข 6393385's blog to your web]
Bloggang.com