กรรมเก่า คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ.เป็นเจ้าบทบาทเดิม จากนั้น การศึกษาอาศัยปรโตโฆสะ ซึ่งมีคติว่า "คนเป็นไปตามสภาพแวดล้อมที่ปรุงปั้น" และโยนิโสมนสิการ ซึ่งมีคติย้อนกลับว่า "ถ้าเป็นคนรู้จักคิด แม้แต่ฟังคนบ้าคนเมาพูด ก็อาจสำเร็จเป็นพระอรหันต์"
บุญ
ข้อธัมม์ที่ถาม-เถียงกันบ่อย
หลักปฏิบัติ
สภาวธรรม
ปฏิบัติธรรมให้ถูกทาง
ผู้พิพากษาตั้งตุลา ใ ห้ สั ง ค ม ส ม ดุ ล
คติธรรมสั้นๆ
ภาษาธรรมวันละคำ
รู้เขา รู้เรา
พุทธโอวาทก่อนปรินิพพาน,
ความเป็นมาของการบวช
การทำวัตรสวดมนต์
ทำยังไงจึงจะมีอายุยืนและมีความสุข
พลังดันคน
ที่ทำงานของจิต
บรรลุธรรมอะไร?
พุทธปรัชญาในสุตตันตปิฎก
ธัมมาธิบาย
สวดมนต์
ความจน เ ป็ น ทุ ก ข์ ใ น โ ล ก
เรียนบาลีเพื่อรักษาพุทธพจน์
ศีลธรรมไม่กลับมาโลกาจะพินาศ
หลักธรรมสำหรับผู้ยังไม่นับถือศาสนาใดๆ
ก่อนศึกษาพุทธธรรม
ภาค ๑. มัชเฌนธรรมเทศนา
ภาค ๒. มัชฌิมาปฏิปทา
ภาค ๓. อารยธรรมวิถี
วัฒนธรรมประเพณี
จารึกธรรม
สมาธิ,ฌาน
เขาว่า ถ้าพุทธมีหลักธรรมดีจริง คงไม่ 0 สิ้นจากถิ่นเกิด
ศีลกับเจตนารมณ์ทางสังคม
คุณค่าทางจริยธรรมของไตรลักษณ์
จงกรม
กรรมฐาน
สติปัฏฐาน
ศีลสำหรับประชาชน
วิธีการแห่งศรัทธา (ปรโตโฆสะที่ดี)
วิธีการแห่งปัญญา (โยนิโสมนสิการ)
ทางดำเนินชีวิตสายกลาง
คุณสมบัติบุคคลโสดาบัน
กาม
ความสุข
อริยสัจ ๔
ธรรมฉันทะ - ตัณหาฉันทะ
กรรม
ฅนไทย ใช่กบเฒ่า ?
พระไทย ใช่เขาใช่เรา?
สมถะ,วิปัสสนา,เจโตวิมุตติ,ปัญญาวิมุตติ
อนัตตา
สมมุติบัญญัติ
ศีล-สีลัพพตปรามาส
นรก สวรรค์ ในพระไตรปิฎก
วันสำคัญของชาวพุทธไทย
วิธีฝึกหูทิพย์ ตาทิพย์
ลำดับญาณ,ทวนญาณ
ความสำคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะ ศ.ประจำชาติ
ภาวะแห่งนิพพาน
ระดับของผู้บรรลุนิพพาน
ภาวะของผู้บรรลุนิพพาน
อิทธิบาท ๔
รู้ทุกอย่างแต่ปล่อยวางไม่ได้
<<
กุมภาพันธ์ 2567
>>
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
20 กุมภาพันธ์ 2567
สติมา ปัญญาเกิด
มองอินเดียกับฝรั่ง ให้เห็นความแตกต่างที่เป็นคติแก่ไทย
บทบาทหน้าที่ของสติ กับ ปัญญา
ระบบทุกข์ภัยประดิษฐ์ ดีกว่าปล่อยให้มักง่าย
เรียบง่าย แต่ระวัง อย่าให้กลายเป็นมักง่าย
วิธีล้างบาป
ชาวพุทธต้องทำใจ
ถ้าเชื่อก็เป็นแม่ ถ้าไม่เชื่อก็เป็นสายธาร
เอกบุคคลที่เป็นมิจฉาทิฏฐิกับเอกบุคคลที่เป็นสัมมาทิฏฐิผู้เกิดมาในโลก
คนในอดีตบอกอะไรคนปัจจุบัน
ภาพรวมพุทธธรรม
คคห.ทูตอินเดียว่าธรรมะพระพุทธองค์สอดคล้องท้าทายยุคสมัย
ทำไมพุทธศาสนาหายไปจากอินเดีย
กำเนิดพุทธรูปัง
อารยธรรมอินเดีย
อริยสัจ ๔ หัวใจพุทธศาสนาหมายความว่าอะไร
อปุญญาภิสังขาร VS ปุญญาภิสังขาร
อินโดฯ จัดยิ่งใหญ่
ดินแดนที่ตกอยู่ในความวุ่นวาย
หมายเหตุ
ทีนี้ มองดูเกาะใหญ่ ถัดลงไปทางใต้
มะละกาลับหาย สุมาตรา-ชวา เฟื่องฟูขึ้นมาใหม่
มะละกา ที่แดนมาเลเซียขึ้นมาเป็นใหญ่เหนือ ชวา
มุสลิมอินโดฯ
ชวา ขึ้นมาล้ำ สุมาตรา
มลายู ขยายจากสุมาตรา ขึ้นยังมาเลเซีย
อิสลาม เริ่มเข้าที่ สุมาตรา
อินโดนีเซีย: ที่สุมาตรา ย้อนไปถึง ศรีวิชัย
???
อินโดจีน ส่วนล่างกับอดีตเด่นดังที่ ลังกาสุกะ
อินโดจีน ย้อนอดีตถึง ทวารวดี
จีน- อินเดีย แล้วเกิดมี อินโดจีน - อินโดนีเซีย
ภาคผนวก
คู่ต่างคู่เติม เสริมความรู้ธรรมให้เต็ม
พุทธในอินเดียแต่ละยุคๆ
ทัพมุสลิมเตอร์ก เก็บฉาก
ปุษยมิตร - มิหิรกุละ - ศาศางกะ ทำลายพุทธในระหว่าง
ศิวะอวตาร
นารายณ์อวตารเป็นพระพุทธเจ้า
เรื่องเกี่ยวกับโพธิสัตว์
ต้นโพธิ์ พระสถูป พระพุทธรูป
ย้ำอีกที
พระรัตนตรัย:สื่อเชื่อมต่อ และส่งเข้าสู่ทาง
ดูข้างเคียงให้ทั่ว จะเห็นของตัวว่าเป็นอย่างไร
ย้ำ
วัดถ้ำ: พุทธ เชน ฮินดู เปลือกดูคล้าย
เค้าอวสานแห่งพุทธศาสนา
ฮินดูฟื้น พุทธศาสนาสลบ
พุทธศาสนาประกาศอิสรภาพให้แก่มนุษย์
วัดกับถ้ำ
หลังพุทธกาล คามวาสี-อรัญญวาสี จึงมี
ถ้ำกับชีวิตของพระสงฆ์ในพระพุทธศาสนา
อชันตา เอลโลรา
???
ระบบสัมพันธ์ของธรรม
รู้ทุกข์จึงดับทุกข์ได้ไม่ใช่รู้ทุกข์ไป แล้วกลายเป็นทุกข์
เศรษฐกิจจะพอดี เมื่อมันทำหน้าที่เป็นปัจจัย
ปัญญา
สัญญา
ผู้ปล่อยวางได้ แต่ไม่ปล่อยปละละเลย
ความไม่ยึดมั่นถือมั่นที่แท้ อีกที
ความไม่ยึดมั่นที่แท้ ต้องดูจากคติพระอรหันต์
สมมุติ,บัญญัติ
ธรรมกับวินัยเสริมกัน
วินัยเป็นบรรทัดฐานแห่งพฤติกรรมที่ถูกต้องตามธรรม
วินัย
ดูหัวข้อนี้ให้ชัด
ธรรมที่ตรัสไว้ต่างชุด ดุจเครื่องมือที่ใช้กับต่างงาน
ดุลยภาพในระบบความสัมพันธ์ของธรรม
ความเชื่ออีกแนวหนึ่ง
ความไม่ประมาท ช่วยปรับให้พอดี จึงเป็นทางสายกลาง
สติมา ปัญญาเกิด
มองอินเดียกับฝรั่ง ให้เห็นความแตกต่างที่เป็นคติแก่ไทย
บทบาทหน้าที่ของสติ กับ ปัญญา
ระบบทุกข์ภัยประดิษฐ์ ดีกว่าปล่อยให้มักง่าย
เรียบง่าย แต่ระวัง อย่าให้กลายเป็นมักง่าย
ความประมาท ความไม่ประมาท เป็นไฉน
ผู้ไม่ประมาทใช้ประโยชน์จากอนิจจัง
มนุษย์เป็นปัจจัยสำคัญต่อความเสื่อมความเจริญ
ความไม่ประมาท คือความสามารถที่จะไม่เสื่อม
ถิ่นปิยชนผู้เปี่ยมด้วยศรัทธา
???
ธรรมานุธรรมปฏิบัติ
สันโดษ ไม่สันโดษ ดีไม่ดี
ได้ดุลพอดี ที่เป็นลักษณะทางสายกลาง
ปัญญา ชี้นำเข้ามาและเดินหน้าในทางสายกลาง
อธิษฐานจิต
ใช้เวลาสักนิด กับ เรื่องภวังคจิต
สายมู
???
สมาธิมีประโยชน์มากมาย ต้องใช้ให้คุ้มและให้ครบ
อย่าทิ้งความคิดปรุงแต่งทันที ปรุงแต่งดีได้ถึงฌานสมาบัติ
พระพุทธเจ้ากับเพลง
จะอาศัยสิ่งกล่อมหรือจะใช้วิริยะและปัญญา
อิสรภาพของมนุษย์ จะได้ด้วยการศึกษาที่ถึงธรรม
พระพุทธเจ้ามา ประกาศอิสรภาพให้แก่มนุษย์
ความรักต้องคู่กับความรู้
คิดปรุงแต่ง กับ คิดวิปัสสนา
พระพุทธเจ้าตรัสรู้เพราะโยนิโสมนสิการ
มีโยนิโสมนสิการ เรื่องร้ายก็กลายเป็นดี
รูปกาย ธรรมกาย
ที่ประกาศอิสรภาพของมนุษย์
มุสลีมะอินโด ฯ
ปฏิบัติธรรมก้าวหน้าไป นามกายเจริญเอง
โปรยธรรมบนเส้นทางสู่ที่ปรินิพพาน
เส้นทางพุทธกิจ: พุทธคยา ถึง กุสินารา
ถ้าสังเวชเป็น ก็จะได้เห็นธรรมกาย
มุสลิมเตอร์ก มุสลิมมองโกล รุ่งแล้วเลือนลับ
จากยุคมุสลิมอาหรับ เข้าสู่ยุคมุสลิมเตอร์ก
สุหนี่นำอิสลามครองสะเปน จ่อแดนจีน
ชีอะฮ์ แ ย ก อ อ ก ม า
อิสลามแผ่ไพศาล
อิสลามรวมอาหรับ
เมตตาที่มีปัญญา จึงพาโลกสู่สันติสุขได้
???
รักษาแผ่นดินไทย ให้เป็นแผ่นดินธรรม
จุดเริ่มของแผ่นดินธรรม
ถ้าคนประสานกับธรรม ก็มีทางแก้ปัญหาชีวิตและสังคม
พุทธะโยงเราเข้าถึงธรรม
พระรัตนตรัย ต้องรู้จักใช้ให้เป็นสรณะ
มนุษย์ประเสริฐเพราะเป็นสัตว์ที่ฝึกได้
จากเทพสู่ธรรม จากธรรมสู่กรรม
พระพุทธเจ้าตรัสรู้แล้ว จะประกาศธรรมแสนยาก
ย้ำ
รู้ธรรม คือรู้เรื่องธรรมดา
โพธิพฤกษ์ โพธิญาณ
มหาวิทยาลัยสงฆ์มีไว้ทำไม
???
๕ แคว้น ที่ยิ่งใหญ่
ย้ำอุเบกขา
มาฆบูชา พัฒนาความรักแห่งวาเลนไทน์
ให้รักกับรู้ มาเข้าคู่ดูแลกัน
มนุษย์กับมนุษย์รักกัน แต่มนุษย์ต้องอยู่ให้ดีกับธรรม
ถึงความรักจะดี ก็ไม่พอ
มาฆบูชา กับ วาเลนไทน์
ละชั่ว ทําดียังไม่พอ ต้องต่อด้วย
หัวใจเดียว แต่มีสี่ห้อง
มาฆบูชาขึ้นมาเป็นวันสําคัญในพระพุทธศาสนา
สาระของโอวาทปาติโมกข์
มาฆบูชา กับ หัวใจพระพุทธศาสนา
ราชคฤห์ ศูนย์อํานาจการเมือง
หัวใจธรรม จากจุดศูนย์กลาง
พระพุทธศาสนาในมือของพุทธบริษัท
ร่องรอยที่เหลือ และเค้าการฟื้นฟูหลังหมดสิ้น
อวสานมาถึง เมื่อทัพมุสลิมเตอร์กลงดาบสุดท้าย
เทียบ ปทท.
นาลันทากับความเสื่อมสูญของพระพุทธศาสนา
วัดพุทธ ต้นกําเนิดมหาวิทยาลัยของโลก
พระพุทธศาสนาเกิดขึ้น ก็เกิดการศึกษาแก่มวลชน
ฟูจิ
เอาธรรมไปเป็นหลักประกันชีวิตและสังคมไว้
ธรรมเป็นอิสระจากคน คนถึงธรรมเป็นอิสระจากสังขาร
ศรัทธากับปัญญา นำเข้าเฝ้าพระพุทธเจ่า
ศูนย์กลางเผยแผ่พระพุทธศาสนา
ราชสังคหวัตถุ ๔
หลักธรรมที่อโศกราชาใช้ปกครองบ้านเมือง
อโศกราชากล้าหาญในทางสันติ
เทียบกันแล้ว สรุปได้
ดูพุทธพจน์แล้ว อ่านธรรมโองการเทียบ
อโศกธรรม หรือ คหัฐวินัย
ธรรมวิชัย:หลักการใหญ่ที่นําเข้าสู่พุทธธรรม
อโศกมหาราช อโศกธรรม
ศิลาจารึกอโศก เป็นของพระเจ้าอโศกมหาราชแน่หรือ
ทรัพย์และอํานาจ สู่ความหมายและคุณค่าใหม่
ธรรมวิชัย
ไม่ประมาท ก็ไม่เสื่อม
วัดพระราม
ชมพูทวีปในพุทธกาล
สังเวชนียสถาน ๔
ย้อนทางเข้าสู่แดนพุทธภูมิ
สติมา ปัญญาเกิด
ถ้ามนุษย์พัฒนาจริง ก็ต้องพ้นวงจรแห่งความเจริญแล้วเสื่อม
หลักธรรมที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้นี้สำคัญยิ่งนัก จึงจะต้องสำนึกตระหนักอยู่เสมอถึงความสำคัญของความไม่ประมาท เพราะเป็นธรรมที่พระพุทธเจ้า
ตรัสดักไว้ในขั้นสุดท้าย
ไม่ว่าจะเป็นเรื่อง
ทาง
วัตถุ
หรือทาง
จิตใจ
ไม่ว่าจะเป็นเรื่องชาวบ้าน หรือชาววัด ไม่ว่าจะเป็นเรื่องกิจการบ้านเมือง หรือเรื่องโลกุตตรธรรม ก็ต้องใช้ความไม่ประมาททั้งนั้น
เพราะเหตุนี้แหละ พระพุทธเจ้าจึงตรัสว่า “คนไม่ประมาทจะบรรลุประโยชน์หรือจุดหมายทั้งชนิดที่ตามองเห็น และชนิดที่เลยตามองเห็น
(คือทั้งทิฏฐธัมมิกัตถะ และสัมปรายิกัตถะ)
”
(สํ.ส.๑๕/๓๘๐; ๓๘๕ ฯลฯ)
สำหรับการปกครองบ้านเมือง
ก็ตรัสกับพระเจ้า
ปเสนทิโกศล
ว่า พระมหากษัตริย์ต้องมีกัลยาณมิตร และไม่ประมาท กิจการใดๆ ในบ้านเมืองอย่าปล่อยปละละเลย ต้องดูแลเอาใจใส่ เป็นแบบอย่างกระตุ้นเตือนนำให้ประชาชนพากันไม่ประมาทไปด้วย ตลอดไปทั่วจนถึงชาวไร่ ชาวนา ชาวชนบท ยุ้งฉางเรือนคลังเป็นอย่างไร ต้องเอาใจใส่ตรวจตรา สอดส่อง อะไรที่ต้องรู้ด้วยตัวเอง ก็ต้องให้ประจักษ์ด้วยตัวเอง
สำหรับผู้หวังบรรลุโลกุตรธรรม
แม้แต่เป็นอริยบุคคลแล้ว ก็ไม่ให้มัวสันโดษพอใจกับธรรมวิเศษที่ตนได้บรรลุแล้ว จะต้องเร่งขวนขวายเพื่อให้บรรลุธรรมสูงยิ่งขึ้นไป จนกว่าจะถึงที่สุดลุจุดหมาย ดังที่เคยว่าไปแล้ว
สำหรับทุกคน
เลยทีเดียว จะต้องสำนึกตระหนักในความจริงที่ว่า ทุกสิ่งเป็น
อนิจจัง
ชีวิตไม่เที่ยง สังขารจะต้องแตกสลาย เพราะฉะนั้น จะนิ่งนอนใจไม่ได้ ต้องเร่งรัดทำการที่ควรทำ ตั้งใจบำเพ็ญกิจหน้าที่ พัฒนาชีวิตให้บรรลุความดีงามประเสริฐเลิศล้ำ ที่ความเป็นมนุษย์จะอำนวยให้แก่เราได้
ในที่สุดก็ตรัสว่า ความไม่ประมาท เป็นดุจรอยเท้าช้าง ที่ใหญ่กว้างครอบคลุมธรรมอื่นหมด
แล้วยังตรัสเป็น
ปัจฉิมวาจา
คือวาจาสุดท้ายด้วยว่า จงยังความไม่ประมาทให้ถึงพร้อม
ชาวพุทธและมนุษย์ทุกคน
จะต้องยึดถือความไม่ประมาทนี้เป็นหลักสำคัญยวดยิ่ง เพราะว่า ถึงแม้เราอาจจะก้าวหน้าในการปฏิบัติ เป็นคนดีประสบความสำเร็จ มีความสุข แต่ถ้าเราตกหลุมความประมาทเสีย ความเสื่อมความพลาดหรือแม้กระทั่งความวิบัติก็จะเข้ามา แม้แต่พระโสดาบันก็ยังเสื่อมจากธรรมที่ยังไม่บรรลุ
จึงต้องย้ำพุทธพจน์ที่ตรัสว่า พระองค์ไม่สรรเสริญแม้แต่ความตั้งอยู่ได้ในกุศลธรรม ทรงสรรเสริญอย่างเดียวเฉพาะแต่ความก้าวหน้ายิ่งขึ้นไปในกุศลธรรม
พร้อมทั้งกำกับด้วยพระดำรัสที่ว่า การที่พระองค์บรรลุโพธิญาณได้นั้น ทรงประจักษ์
คุณของธรรมของธรรม ๒ อย่าง
คือ ความไม่สันโดษในกุศลธรรม และความเพียรไม่ระย่อ
พระองค์ตรัสสอน
ให้สันโดษในวัตถุบำรุงบำเรอความสุขส่วนตัว
แต่
ไม่ให้สันโดษ
ในกุศลธรรมทั้งหลาย ไม่ว่าจะเป็นการฝึกกายวาจา การพัฒนาปัญญาของตน การเข้าถึงสัจธรรม การสร้างสรรค์ชีวิตที่ดีงาม การทำประโยชน์สุขแก่สังคม อันนี้ต้องทำกันไปเรื่อย หยุดไม่ได้ต้องทำเพิ่มยิ่งขึ้นไปจนกว่าจะไพบูลย์ นี่คือ
ความไม่สันโดษในกุศลธรรม
ถ้าใครจับหลักนี้ได้ ก็เอาความสันโดษในวัตถุบำเรอความสุขส่วนตัว มาเป็นตัวเกื้อหนุนให้ไม่สันโดษในกุศลธรรม มันก็เข้าคู่กันไป ก็จะมีความเพียรพยายามมาก พร้อมกันนี้เราก็ได้บำเพ็ญความไม่ประมาทไปด้วย
ตอนนี้จะได้เห็นแล้วว่า
หลักความจริงของธรรมชาติ
คือความเป็น
อนิจจัง
นั้น พระพุทธเจ้าตรัสมา
ประสานบรรจบกับความไม่ประมาท
ในพุทธโอวาทเป็นปัจฉิมวาจาว่า
วยธมฺมา สงฺขารา
,
อปฺปมาเทน สมฺปาเทถ
แปลว่า “สังขารทั้งหลายมีความเสื่อมสลายไปเป็นธรรมดา เธอทั้งหลาย จงยังความไม่ประมาทให้ถึงพร้อม”
เมื่อเราไม่ประมาท ก็สามารถพลิกอนิจจังให้มาเป็นประโยชน์แก่ชีวิตทันที ฉะนั้น จึงบอกว่า สังคมของเราไม่จำเป็นต้องเสื่อม พระองค์ตรัสแล้วว่า ถ้าเราไม่ประมาท เราก็สามารถรักษาความเจริญไว้ได้
แต่
ความไม่ประมาทที่แท้
คืออะไร คือ การมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ไม่ขาดสติ เพื่อจะได้ใช้ปัญญาอยู่เสมอ
ความไม่ประมาท
คือการอยู่โดยไม่ปราศจากสติ เมื่อมีสติก็ตื่นตัวรู้ทัน ตรวจตราทุกอย่าง
พอสติมา ปัญญาก็ทำงานต่อ
ปัญญาทำงานอะไร
ก็เอาเหตุปัจจัยที่เป็นไปตามกฎอนิจจังในธรรมชาติมาใช้ประโยชน์ กลายเป็นผู้ทำเหตุปัจจัยให้เกิดความเปลี่ยนแปลงที่เป็น
อนิจจัง
ในทางที่พึงปรารถนา ก็ทำให้เกิดความเจริญขึ้นมา
อนิจจังก็เลยกลายเป็นดีแก่เรา
อนิจจังเป็นกฎธรรมชาติ
คือเป็นอาการแห่งความเป็นไปของธรรมชาติทั้งหลาย ตามธรรมดาของมัน เป็นกลางๆ ไม่ดีไม่ชั่ว คำสอนว่า อนิจจังไม่ดี ไม่มีในหลักธรรมของพระพุทธศาสนา พระพุทธเจ้าไม่เคยสอนอย่างนี้
บางคนไปเข้าใจว่าอนิจจังไม่ดี
อนิจจังเป็นกฎธรรมชาติจึงไม่ดีไม่ชั่ว เป็นของกลางๆ แต่
มันมาดีหรือชั่วที่ตัวมนุษย์เอง
ถ้าเราจัดผันมันเสีย รู้จักใช้ประโยชน์ เราก็ได้ประโยชน์จากอนิจจัง อนิจจังก็กลายเป็นดีสำหรับเรา
การปฏิบัติต่ออนิจจัง
ก็มี ๒ ตอน คือ มีสติไม่ประมาท และใช้ปัญญาพิจารณาดำเนินการ
การที่จะได้ ๒ ตอน ก็ต้องมีปัญญา ๒ ชั้น
เริ่มต้น
ก็ต้องมีปัญญารู้เท่าทันความจริงของอนิจจัง และด้วยความรู้เท่าทันนั้น เราก็ไม่ทุกข์ร้อนมากเมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลง
พร้อมนั้น
อีกชั้นหนึ่ง
ด้วยปัญญาที่รู้ถึงเหตุปัจจัยที่อยู่ภายในความเป็นอนิจจัง เราก็ทำการที่ควรทำกับเหตุปัจจัยนั้นๆ ให้สำเร็จด้วยความไม่ประมาท
เหตุปัจจัยมีเท่าไร เราก็พิจารณารู้ทันว่า อ้อ มันเป็นไปได้แค่นี้ ตามเหตุปัจจัยนั้นๆ เหตุปัจจัยส่วนไหนเราทำได้ เราก็ทำ เราทำดีที่สุด ได้แค่นี้ๆ เต็มที่ตามเหตุปัจจัย เมื่อปฏิบัติธรรมอย่างนี้ คนก็ใช้ประโยชน์จากอนิจจังได้ด้วย พร้อมกันนั้น เขาก็ไม่ทุกข์ร้อนเกินไปเพราะความเปลี่ยนแปลงที่เป็นไปตามอนิจจัง
Create Date : 20 กุมภาพันธ์ 2567
Last Update : 20 กุมภาพันธ์ 2567 21:58:47 น.
0 comments
Counter : 379 Pageviews.
Share
Tweet
ผู้โหวตบล็อกนี้...
คุณnewyorknurse
ชื่อ :
* blog นี้ comment ได้เฉพาะสมาชิก
Comment :
*ส่วน comment ไม่สามารถใช้ javascript และ style sheet
สมาชิกหมายเลข 6393385
Location :
[ดู Profile ทั้งหมด]
ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
ผู้ติดตามบล็อก : 9 คน [
?
]
Webmaster - BlogGang
[Add สมาชิกหมายเลข 6393385's blog to your web]
Bloggang.com