Ortho knowledge for all @ Do no harm patient and myself @ สุขภาพดี ไม่มีขาย ถ้าอยากได้ ต้องสร้างเอง

มีบทความสุขภาพ โรคทั่วไป โรคกระดูกและข้อ ทำเป็น pdf ให้ download

ผมได้เก็บและเขียนบทความ เกี่ยวกับสุขภาพไว้พอสมควร เพื่อทำเป็นเอกสารแจกให้กับผู้ป่วย และเผยแพร่ทางเนต ผ่านเวบ ผ่านกระทู้ ซึ่งหลาย ๆ ท่านอาจเคยเห็นเคยอ่านมาบ้างแล้ว ...

ผมเห็นว่า น่าจะนำมาลงไว้ในห้องนี้เผื่อใครผ่านไปมาก็จะได้เห็นได้อ่านกัน ก็จะทยอยลงมาเรื่อย ๆ นะครับ ... .ใครอยากจะนำไปดัดแปลงหรือนำไปใช้ต่อ ก็ได้เลยครับ ไม่สงวนลิขสิทธิ์ ช่วย ๆ กันกระจายไปตามเวบต่าง ๆ ก็ดีเหมือนกันนะครับ

แล้วถ้าสงสัยอะไร ก็สอบถามมาได้ .. หรือ คิดว่า มีอะไรที่น่าจะปรับปรุง ให้อ่านง่ายขึ้น เข้าใจง่ายขึ้น ก็แนะนำมาได้เลยครับ ...



ตอนนี้ ก็ทำเป็น pdf file ให้ down load กันแล้วครับ .. ถ้าสนใจ ก็แวะไปดูได้เลยครับ ..


health
ความรู้สุขภาพ โรคทั่วไป โรคกระดูกและข้อ กระดูกหักข้อเคล็ด
( รวมบทความทั้งหมด )

//www.esnips.com/web/cmu2807-health


สุขภาพทั่วไป โรคทั่วไป

//www.esnips.com/web/cmu2807gen


กระดูกหัก ข้อเคล็ด

//www.esnips.com/web/cmu2807fx


โรคกระดูกและข้อ

//www.esnips.com/web/cmu2807bonejoint


PT วิธีบริหาร กายภาพบำบัด

//www.esnips.com/web/cmu2807-PT







สุขภาพทั่วไป โรคทั่วไป
//www.esnips.com/web/cmu2807gen

1.1 สิทธิผู้ป่วย
1.3 ข้อแนะนำเมื่อต้องรับการรักษา
1.4 คำถามที่ควรรู้คำตอบ
1.5 ผลของการรักษาโรค
1.6 ความรู้เกี่ยวกับใบรับรองแพทย์
1.7 คำถามที่ควรถามแพทย์ก่อนผ่าตัด
1.8 แบบฟอร์มคำถามก่อนผ่าตัด
1.9 การฉีดยา ภยันตรายที่ถูกเมิน
1.10 เอกซเรย์ มีผลดีผลเสียอย่างไร
1.11 การตรวจทางห้องปฏิบัติการ ( แลป)
1.12 การป้องกันอันตรายจากการเอกซเรย์
1.13 ยาคุมกำเนิดแบบฉีด
1.14 ยาคุมกำเนิดแบบรับประทาน
1.15 วัยหมดระดู
1.16 กระดูกพรุน กระดูกโปร่งบาง
1.16.1 แคลเซี่ยม
1.17 ความดันโลหิตสูง
1.18 โรคเส้นเลือดสมองตีบ
1.19 โรคบาดทะยัก
1.20 โรคพิษสุนัขบ้า
1.21 hiv organization
1.21 ตรวจเอดส์ข้อแนะนำก่อนตรวจ
1.21 เอดส์
1.22 โรคตับอักเสบ
1.23 โรคตับอักเสบชนิด บี
1.24 โรคอ้วน
1.25 การรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพที่ดี
1.26 ข้อควรระวังเกี่ยวกับการลดน้ำหนัก
1.27 การออกกำลังเพื่อสุขภาพ
1.28 มาออกกำลังกายป้องกันโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ
1.29 รองเท้าใครคิดว่าไม่สำคัญ
1.30 เล็บขบ
1.31 ตาปลา
1.32 เบาหวาน
1.33 การป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่เท้าในผู้ป่วยเบาหวาน
1.34 คอพอก ( ทัยรอยด์ )
1.35 ตรวจสุขภาพประจำปี จำเป็นหรือไม่
1.36 อัลไซเมอร์
1.37 แพ้ยา
1.39 ยาชุดคืออะไร


กระดูกหัก ข้อเคล็ด
//www.esnips.com/web/cmu2807fx

2.1 กระดูกหักรักษาอย่างไรดี
2.2 ผ่า – ไม่ผ่า อย่างไหนดีกว่ากัน
2.3 การดูแลหลังผ่าตัดรักษากระดูกหัก
2.4 กระดูกหักเมื่อไรหาย
2.5 การรักษาด้วยวิธีใส่เฝือก
2.6 กระดูกไหปลาร้าหัก
2.7 กระดูกข้อมือหัก
2.8 กระดูกสะโพกหักในผู้สูงอายุ
2.9 กระดูกต้นขาหัก
2.10 กระดูกหน้าแข้งหัก
2.11 ค่าใช้จ่ายในการรักษากระดูกหัก
2.12 ไม้เท้า ไม้ค้ำยัน
2.13 ข้อเคล็ด
2.14 ข้อเท้าเคล็ด
2.15 บาดเจ็บจากการเล่นกีฬา
2.16 gaadvice คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยที่จะต้องดมยาสลบ
2.16 ข้อดีข้อเสีย ระหว่างดมยา กับ บล๊อคหลัง
2.17 การบริจาคโลหิตเพื่อการผ่าตัดของตนเอง
2.18 ข้อแนะนำก่อนพบหมอกระดูก


โรคกระดูกและข้อ
//www.esnips.com/web/cmu2807bonejoint

3.1 ข้ออักเสบ
3.2 โรครูมาตอยด์
3.3 กายภาพบำบัดใน โรครูมาตอยด์
3.4 ข้อแนะนำเกี่ยวกับยา MTX
3.5 ยาสเตอรอยด์ ( ยาสเตียรอยด์ )
3.6 โรครูมาตอยด์ในเด็ก
3.7 โรคเกาต์
3.8 โรคเอสแอลอี หรือ โรคลูปัส ( โรคพุ่มพวง )
3.9 ผู้สูงอายุท่าทางที่เหมาะสม / บ้านผู้สูงอายุ
3.10 โรคข้อเสื่อม
3.11 ปวดเข่า
3.12 โรคปุ่มกระดูกหน้าแข้งอักเสบ
3.13 ข้อเข่าเสื่อม
3.14 น้ำไขข้อเทียม
3.15 ปวดหลัง
3.16 สาเหตุของอาการปวดหลัง
3.17 กระดูกสันหลังเสื่อม scs
3.17 กระดูกสันหลังหักยุบ vertebroplasty
3.18 หมอนรองกระดูกสันหลังกดทับเส้นประสาท
3.19 กล้ามเนื้อหลังอักเสบ
3.20 โรคข้อสันหลังอักเสบยึดติด
3.21 ข้อแนะนำการบริหารกล้ามเนื้อหลัง
3.22 ปวดไหล่
3.24 ปวดคอ
3.25 โรคเส้นประสาทกดทับที่ข้อมือ
3.26 เส้นเอ็นข้อศอกอักเสบ
3.27 ปลอกหุ้มเอ็นนิ้วหัวแม่มืออักเสบ
3.28 เส้นเอ็นอักเสบแบบนิ้วไกปืน
3.29 ก้อนถุงน้ำที่ข้อมือ
3.30 เส้นเอ็นฝ่าเท้าอักเสบ
3.31 กลุ่มอาการปวดบริเวณส้นเท้า
3.32 หัวแม่เท้าเกออกด้านนอก
3.33 โรคหัวกระดูกสะโพกตา



PT วิธีบริหาร กายภาพบำบัด
//www.esnips.com/web/cmu2807-PT

PTneck.pdf
PTshoulder.pdf
PTwrist.pdf
PTback.pdf
PTknee.pdf
PTlegfoot.pdf


PTคอ.pdf
PTไหล่.pdf
PTข้อมือ.pdf
PTหลัง.pdf
PTข้อเข่า.pdf
PT เท้า ข้อเท้า ขา.pdf



Create Date : 24 พฤษภาคม 2551
Last Update : 24 พฤษภาคม 2551 2:11:30 น. 1 comments
Counter : 2732 Pageviews.  

 
ขอบคุณคะคุณหมอ


โดย: SeN~ora-eN-oscUrO วันที่: 24 พฤษภาคม 2551 เวลา:22:13:43 น.  

ชื่อ : * blog นี้ comment ได้เฉพาะสมาชิก
Comment :
  *ส่วน comment ไม่สามารถใช้ javascript และ style sheet
 

หมอหมู
Location :
กำแพงเพชร Thailand

[Profile ทั้งหมด]

ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
Smember
ผู้ติดตามบล็อก : 763 คน [?]




ผมเป็น ศัลยแพทย์ออร์โธปิดิกส์ หรือ อาจเรียกว่า หมอกระดูกและข้อ หมอกระดูก หมอข้อ หมอออร์โธ หมอผ่าตัดกระดูก ฯลฯ สะดวกจะเรียกแบบไหน ก็ได้ครับ

ศัลยแพทย์ออร์โธปิดิกส์ เป็นแพทย์เฉพาะทางสาขาหนึ่ง ซึ่งเมื่อเรียนจบแพทย์ทั่วไป 6 ปี ( เรียกว่า แพทย์ทั่วไป ) แล้ว ก็ต้องเรียนต่อเฉพาะทาง ออร์โธปิดิกส์ อีก 4 ปี เมื่อสอบผ่านแล้วจึงจะถือว่าเป็น แพทย์ออร์โธปิดิกส์ โดยสมบูรณ์ ( รวมเวลาเรียนก็ ๑๐ ปี นานเหมือนกันนะครับ )

หน้าที่ของหมอกระดูกและข้อ จะเกี่ยวข้องกับความเจ็บป่วย ของ กล้ามเนื้อ เส้นเอ็น กระดูก ข้อ และ เส้นประสาท โรคที่พบได้บ่อย ๆ เช่น กระดูกหัก ข้อเคล็ด กล้ามเนื้อฉีกขาด กระดูกสันหลังเสื่อม ข้อเข่าเสื่อม กระดูกพรุน เป็นต้น

สำหรับกระดูกก็จะเกี่ยวข้องกับกระดูกต้นคอ กระดูกสันหลัง กระดูกเชิงกราน กระดูกข้อไหล่ จนถึงปลายนิ้วมือ กระดูกข้อสะโพกจนถึงปลายนิ้วเท้า ( ถ้าเป็นกระดูกศีรษะ กระดูกหน้า และ กระดูกทรวงอก จะเป็นหน้าที่ของศัลยแพทย์ทั่วไป )

นอกจากรักษาด้วยการให้คำแนะนำ และ ยา แล้วยังรักษาด้วย วิธีผ่าตัด รวมไปถึง การทำกายภาพบำบัด บริหารกล้ามเนื้อ อีกด้วย นะครับ

ตอนนี้ผม ลาออกจากราชการ มาเปิด คลินิกส่วนตัว อยู่ที่ จังหวัดกำแพงเพชร .. ใช้เวลาว่าง มาเป็นหมอทางเนต ตอบปัญหาสุขภาพ และ เขียนบทความลงเวบ บ้าง ถ้ามีอะไรที่อยากจะแนะนำ หรือ อยากจะปรึกษา สอบถาม ก็ยินดี ครับ

นพ. พนมกร ดิษฐสุวรรณ์ ( หมอหมู )

ปล.

ถ้าอยากจะถามปัญหาสุขภาพ แนะนำตั้งกระทู้ถามที่ .. เวบไทยคลินิก ... ห้องสวนลุม พันทิบ ... เวบราชวิทยาลัยออร์โธปิดิกส์ หรือ ทางอีเมล์ ... phanomgon@yahoo.com

ไม่แนะนำ ให้ถามที่หน้าบล๊อก เพราะอาจไม่เห็น นะครับ ..




New Comments
[Add หมอหมู's blog to your web]