กรรมเก่า คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ.เป็นเจ้าบทบาทเดิม จากนั้น การศึกษาอาศัยปรโตโฆสะ ซึ่งมีคติว่า "คนเป็นไปตามสภาพแวดล้อมที่ปรุงปั้น" และโยนิโสมนสิการ ซึ่งมีคติย้อนกลับว่า "ถ้าเป็นคนรู้จักคิด แม้แต่ฟังคนบ้าคนเมาพูด ก็อาจสำเร็จเป็นพระอรหันต์"
จงกรม
หลักปฏิบัติ
สภาวธรรม
ปฏิบัติธรรมให้ถูกทาง
ข้อธัมม์ที่ถาม-เถียงกันบ่อย
บุญ
ผู้พิพากษาตั้งตุลา ใ ห้ สั ง ค ม ส ม ดุ ล
คติธรรมสั้นๆ
ภาษาธรรมวันละคำ
รู้เขา รู้เรา
พุทธโอวาทก่อนปรินิพพาน,
ความเป็นมาของการบวช
การทำวัตรสวดมนต์
ทำยังไงจึงจะมีอายุยืนและมีความสุข
พลังดันคน
ที่ทำงานของจิต
บรรลุธรรมอะไร?
พุทธปรัชญาในสุตตันตปิฎก
ธัมมาธิบาย
สวดมนต์
ความจน เ ป็ น ทุ ก ข์ ใ น โ ล ก
เรียนบาลีเพื่อรักษาพุทธพจน์
ศีลธรรมไม่กลับมาโลกาจะพินาศ
หลักธรรมสำหรับผู้ยังไม่นับถือศาสนาใดๆ
ก่อนศึกษาพุทธธรรม
ภาค ๑. มัชเฌนธรรมเทศนา
ภาค ๒. มัชฌิมาปฏิปทา
ภาค ๓. อารยธรรมวิถี
วัฒนธรรมประเพณี
จาริกบุญ จารึกธรรม
สมาธิ,ฌาน
เขาว่า ถ้าพุทธมีหลักธรรมดีจริง คงไม่ 0 สิ้นจากถิ่นเกิด
ศีลกับเจตนารมณ์ทางสังคม
คุณค่าทางจริยธรรมของไตรลักษณ์
กรรมฐาน
สติปัฏฐาน
ศีลสำหรับประชาชน
วิธีการแห่งศรัทธา (ปรโตโฆสะที่ดี)
วิธีการแห่งปัญญา (โยนิโสมนสิการ)
ทางดำเนินชีวิตสายกลาง
คุณสมบัติบุคคลโสดาบัน
กาม
ความสุข
อริยสัจ ๔
ธรรมฉันทะ - ตัณหาฉันทะ
กรรม
ฅนไทย ใช่กบเฒ่า ?
พระไทย ใช่เขาใช่เรา?
สมถะ,วิปัสสนา,เจโตวิมุตติ,ปัญญาวิมุตติ
อนัตตา
สมมุติบัญญัติ
ศีล-สีลัพพตปรามาส
นรก สวรรค์ ในพระไตรปิฎก
วันสำคัญของชาวพุทธไทย
วิธีฝึกหูทิพย์ ตาทิพย์
ลำดับญาณ,ทวนญาณ
ความสำคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะ ศ.ประจำชาติ
ภาวะแห่งนิพพาน
ระดับของผู้บรรลุนิพพาน
ภาวะของผู้บรรลุนิพพาน
อิทธิบาท ๔
รู้ทุกอย่างแต่ปล่อยวางไม่ได้
<<
พฤษภาคม 2567
>>
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
25 พฤษภาคม 2567
อริยสัจ ๔ หัวใจพุทธศาสนาหมายความว่าอะไร
อปุญญาภิสังขาร VS ปุญญาภิสังขาร
วิธีล้างบาป
ชาวพุทธต้องทำใจ
ถ้าเชื่อก็เป็นแม่ ถ้าไม่เชื่อก็เป็นสายธาร
เอกบุคคลที่เป็นมิจฉาทิฏฐิกับเอกบุคคลที่เป็นสัมมาทิฏฐิผู้เกิดมาในโลก
คนในอดีตบอกอะไรคนปัจจุบัน
ภาพรวมพุทธธรรม
คคห.ทูตอินเดียว่าธรรมะพระพุทธองค์สอดคล้องท้าทายยุคสมัย
ทำไมพุทธศาสนาหายไปจากอินเดีย
กำเนิดพุทธรูปัง
อารยธรรมอินเดีย
อริยสัจ ๔ หัวใจพุทธศาสนาหมายความว่าอะไร
อปุญญาภิสังขาร VS ปุญญาภิสังขาร
อินโดฯ จัดยิ่งใหญ่
ดินแดนที่ตกอยู่ในความวุ่นวาย
หมายเหตุ
ทีนี้ มองดูเกาะใหญ่ ถัดลงไปทางใต้
มะละกาลับหาย สุมาตรา-ชวา เฟื่องฟูขึ้นมาใหม่
มะละกา ที่แดนมาเลเซียขึ้นมาเป็นใหญ่เหนือ ชวา
มุสลิมอินโดฯ
ชวา ขึ้นมาล้ำ สุมาตรา
มลายู ขยายจากสุมาตรา ขึ้นยังมาเลเซีย
อิสลาม เริ่มเข้าที่ สุมาตรา
อินโดนีเซีย: ที่สุมาตรา ย้อนไปถึง ศรีวิชัย
???
อินโดจีน ส่วนล่างกับอดีตเด่นดังที่ ลังกาสุกะ
อินโดจีน ย้อนอดีตถึง ทวารวดี
จีน- อินเดีย แล้วเกิดมี อินโดจีน - อินโดนีเซีย
ภาคผนวก
คู่ต่างคู่เติม เสริมความรู้ธรรมให้เต็ม
พุทธในอินเดียแต่ละยุคๆ
ทัพมุสลิมเตอร์ก เก็บฉาก
ปุษยมิตร - มิหิรกุละ - ศาศางกะ ทำลายพุทธในระหว่าง
ศิวะอวตาร
นารายณ์อวตารเป็นพระพุทธเจ้า
เรื่องเกี่ยวกับโพธิสัตว์
ต้นโพธิ์ พระสถูป พระพุทธรูป
ย้ำอีกที
พระรัตนตรัย:สื่อเชื่อมต่อ และส่งเข้าสู่ทาง
ดูข้างเคียงให้ทั่ว จะเห็นของตัวว่าเป็นอย่างไร
ย้ำ
วัดถ้ำ: พุทธ เชน ฮินดู เปลือกดูคล้าย
เค้าอวสานแห่งพุทธศาสนา
ฮินดูฟื้น พุทธศาสนาสลบ
พุทธศาสนาประกาศอิสรภาพให้แก่มนุษย์
วัดกับถ้ำ
หลังพุทธกาล คามวาสี-อรัญญวาสี จึงมี
ถ้ำกับชีวิตของพระสงฆ์ในพระพุทธศาสนา
อชันตา เอลโลรา
๑๑. รักษาธรรม คือรักษาความเป็นไท
ระบบสัมพันธ์ของธรรม
รู้ทุกข์จึงดับทุกข์ได้ไม่ใช่รู้ทุกข์ไป แล้วกลายเป็นทุกข์
เศรษฐกิจจะพอดี เมื่อมันทำหน้าที่เป็นปัจจัย
ปัญญา
สัญญา
ผู้ปล่อยวางได้ แต่ไม่ปล่อยปละละเลย
ความไม่ยึดมั่นถือมั่นที่แท้ อีกที
ความไม่ยึดมั่นที่แท้ ต้องดูจากคติพระอรหันต์
สมมุติ,บัญญัติ
ธรรมกับวินัยเสริมกัน
วินัยเป็นบรรทัดฐานแห่งพฤติกรรมที่ถูกต้องตามธรรม
วินัย
ดูหัวข้อนี้ให้ชัด
ธรรมที่ตรัสไว้ต่างชุด ดุจเครื่องมือที่ใช้กับต่างงาน
ดุลยภาพในระบบความสัมพันธ์ของธรรม
ความเชื่ออีกแนวหนึ่ง
ความไม่ประมาท ช่วยปรับให้พอดี จึงเป็นทางสายกลาง
สติมา ปัญญาเกิด
มองอินเดียกับฝรั่ง ให้เห็นความแตกต่างที่เป็นคติแก่ไทย
บทบาทหน้าที่ของสติ กับ ปัญญา
ระบบทุกข์ภัยประดิษฐ์ ดีกว่าปล่อยให้มักง่าย
เรียบง่าย แต่ระวัง อย่าให้กลายเป็นมักง่าย
ความประมาท ความไม่ประมาท เป็นไฉน
ผู้ไม่ประมาทใช้ประโยชน์จากอนิจจัง
มนุษย์เป็นปัจจัยสำคัญต่อความเสื่อมความเจริญ
ความไม่ประมาท คือความสามารถที่จะไม่เสื่อม
๑๐ ทางสายกลาง เพื่อชีวิตสังคมที่สุขสมบูรณ์
???
ธรรมานุธรรมปฏิบัติ
สันโดษ ไม่สันโดษ ดีไม่ดี
ได้ดุลพอดี ที่เป็นลักษณะทางสายกลาง
ปัญญา ชี้นำเข้ามาและเดินหน้าในทางสายกลาง
อธิษฐานจิต
ใช้เวลาสักนิด กับ เรื่องภวังคจิต
ไสย์ กับ พุทธ
???
สมาธิมีประโยชน์มากมาย ต้องใช้ให้คุ้มและให้ครบ
อย่าทิ้งความคิดปรุงแต่งทันที ปรุงแต่งดีได้ถึงฌานสมาบัติ
พระพุทธศาสนากับเพลง
จะอาศัยสิ่งกล่อมหรือจะใช้วิริยะและปัญญา
อิสรภาพของมนุษย์ จะได้ด้วยการศึกษาที่ถึงธรรม
พระพุทธเจ้ามา ประกาศอิสรภาพให้แก่มนุษย์
???
คิดปรุงแต่ง กับ คิดวิปัสสนา
พระพุทธเจ้าตรัสรู้เพราะโยนิโสมนสิการ
มีโยนิโสมนสิการ เรื่องร้ายก็กลายเป็นดี
รูปกาย ธรรมกาย ปรากฏและเป็นไป ที่สังเวชนียสถาน ๔
๙. ที่ประกาศอิสรภาพของมนุษย์ (คติจากสังเวชนียสถาน)
มุสลีมะอินโด ฯ
ปฏิบัติธรรมก้าวหน้าไป นามกายเจริญเอง
โปรยธรรมบนเส้นทางสู่ที่ปรินิพพาน
เส้นทางพุทธกิจ: พุทธคยา ถึง กุสินารา
๘. ถ้าสังเวชเป็น ก็จะได้เห็นธรรมกาย
มุสลิมเตอร์ก มุสลิมมองโกล รุ่งแล้วเลือนลับ
จากยุคมุสลิมอาหรับ เข้าสู่ยุคมุสลิมเตอร์ก
สุหนี่นำอิสลามครองสะเปน จ่อแดนจีน
ชีอะฮ์ แ ย ก อ อ ก ม า
อิสลามแผ่ไพศาล
อิสลามรวมอาหรับ
เมตตาที่มีปัญญา จึงพาโลกสู่สันติสุขได้
???
๗. รักษาแผ่นดินไทย ให้เป็นแผ่นดินธรรม
๖. จุดเริ่มของแผ่นดินธรรม
ถ้าคนประสานกับธรรม ก็มีทางแก้ปัญหาชีวิตและสังคม
พุทธะโยงเราเข้าถึงธรรม
พระรัตนตรัย ต้องรู้จักใช้ให้เป็นสรณะ
มนุษย์ประเสริฐเพราะเป็นสัตว์ที่ฝึกได้
จากเทพสู่ธรรม จากธรรมสู่กรรม
พระพุทธเจ้าตรัสรู้แล้ว จะประกาศธรรมแสนยาก
ย้ำ
รู้ธรรม คือรู้เรื่องธรรมดา
๕. โพธิพฤกษ์ โพธิญาณ
มหาวิทยาลัยสงฆ์มีไว้ทำไม
???
๕ แคว้น ที่ยิ่งใหญ่
ย้ำอุเบกขา
มาฆบูชา พัฒนาความรักแห่งวาเลนไทน์
ให้รักกับรู้ มาเข้าคู่ดูแลกัน
มนุษย์กับมนุษย์รักกัน แต่มนุษย์ต้องอยู่ให้ดีกับธรรม
ถึงความรักจะดี ก็ไม่พอ
มาฆบูชา กับ วาเลนไทน์
ละชั่ว ทําดียังไม่พอ ต้องต่อด้วย
หัวใจเดียว แต่มีสี่ห้อง
มาฆบูชาขึ้นมาเป็นวันสําคัญในพระพุทธศาสนา
สาระของโอวาทปาติโมกข์
มาฆบูชา กับ หัวใจพระพุทธศาสนา
ราชคฤห์ ศูนย์อํานาจการเมือง
๔. หัวใจธรรม จากจุดศูนย์กลาง
พระพุทธศาสนาในมือของพุทธบริษัท
ร่องรอยที่เหลือ และเค้าการฟื้นฟูหลังหมดสิ้น
อวสานมาถึง เมื่อทัพมุสลิมเตอร์กลงดาบสุดท้าย
เทียบ ปทท.
นาลันทากับความเสื่อมสูญของพระพุทธศาสนา
วัดพุทธ ต้นกําเนิดมหาวิทยาลัยของโลก
๓. ความยิ่งใหญ่ ที่ทำให้ทั้งเจริญและเสื่อม
???
เอาธรรมไปเป็นหลักประกันชีวิตและสังคมไว้
ธรรมเป็นอิสระจากคน คนถึงธรรมเป็นอิสระจากสังขาร
ศรัทธากับปัญญา นำเข้าเฝ้าพระพุทธเจ่า
๒. เข้าเฝ้าพระพุทธเจ้าถึงที่ประทับ
ราชสังคหวัตถุ ๔
หลักธรรมที่อโศกราชาใช้ปกครองบ้านเมือง
อโศกราชากล้าหาญในทางสันติ
เทียบกันแล้ว สรุปได้
ดูพุทธพจน์แล้ว อ่านธรรมโองการเทียบ
อโศกธรรม หรือ คหัฐวินัย
ธรรมวิชัย:หลักการใหญ่ที่นําเข้าสู่พุทธธรรม
อโศกมหาราช อโศกธรรม
ศิลาจารึกอโศก เป็นของพระเจ้าอโศกมหาราชแน่หรือ
ทรัพย์และอํานาจ สู่ความหมายและคุณค่าใหม่
ธรรมวิชัย
ไม่ประมาท ก็ไม่เสื่อม
วัดพระราม
ชมพูทวีปในพุทธกาล
สังเวชนียสถาน ๔
๑. ย้อนทางเข้าสู่แดนพุทธภูมิ
อริยสัจ ๔ หัวใจพุทธศาสนาหมายความว่าอะไร
สงสัย
หมายความว่าอย่างไร
https://pantip.com/topic/42732816
ชาวพุทธรู้จักกันดีที่สุดคือคาถาสั้นๆว่า
สพฺพปาปสฺส อกรณํ กุสลสฺสูปสมฺปทา
สจิตฺตปริโยทปนํ เอตํ พุทฺธาน สาสนํ ฯ
การไม่ทำความชั่วทั้งปวง หรือการไม่ทำบาปทั้งปวง การทำความดี หรือการทำกุศลให้ถึงพร้อม การทำจิตใจให้บริสุทธิ์ผ่องใส นี้เป็นคำสอนของ
พระพุทธเจ้าทั้งหลาย
อันนี้ เรามักเรียกกันว่า หัวใจพระพุทธศาสนา
ที่เรียกว่า หัวใจพระพุทธศาสนานี้ พระพุทธเจ้าก็ไม่ได้ตรัสบอกไว้
เรามาเรียกกันเองในยุคหลัง
ทีนี้ ชาวพุทธก็ชักเถียงกันว่า เอ อันไหนจะเป็นหัวใจพระพุทธศาสนากันแน่
บางท่านก็บอกว่า ก็
อริยสัจ ๔
สิ
บางท่านก็บอกว่า ต้องพุทธพจน์ที่บอกว่า
สพฺเพ ธมฺมา นาลํ อภินิเวสาย
(ธรรมทั้งปวงไม่ควรแก่การยึดมั่น หรือ ธรรมทั้งปวงไม่อาจยึดมั่นถือมั่นได้)
บางท่านก็เอาพุทธพจน์ อีกแห่งหนึ่งที่ตรัสไว้ว่า
ทั้งในกาลก่อนและบัดนี้ เราสอนเพียงอย่างเดียว คือ ทุกข์และความดับทุกข์
บอกว่า นี่แหละ หัวใจพุทธศาสนา
ชาวพุทธบางทีก็เลยเถียงกัน
ขอโอกาสนี้ชี้แจงว่า อย่ามัวไปเถียงกันเลย เพราะคำว่า หัวใจพระพุทธศาสนานั้น พระพุทธเจ้าไม่ได้ตรัสไว้เดิม เรามากำหนดกันขึ้น
แต่ให้สังเกตว่า ในพุทธพจน์แห่ง
โอวาทปาฏิโมกข์
นี้ มีคำสรุปท้ายว่า
เอตํ พุทฺธาน สาสนํ
“นี่ เป็นคำสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย” คล้ายๆว่า เป็นคำสรุปของพระพุทธเจ้าเองว่า นี่เป็นคำสอนของพระพุทธเจ้า ทั้งพระองค์เอง และของพระพุทธเจ้าอื่นด้วย
ฉะนั้น การที่จะบอกว่าอันนี้เป็นหัวใจของพระพุทธศาสนา ก็ไม่ได้ผิดอะไรหรอก แต่เราอย่าไปยึดมั่นว่า ต้องถาถานี้เท่านั้น จึงจะเป็นหัวใจของพระพุทธศาสนา เดี๋ยวจะยุ่ง มัวแต่เถียงกันวุ่นไป
ถ้าวิเคราะห์ออกไปแล้ว คาถานี้ ที่ว่า
ไม่ทำชั่ว ทำดี ทำใจให้ผ่องใส
เป็นหัวใจของพระพุทธศาสนา ก็เป็นการ
สรุปคำสอนภาคปฏิบัติ
เป็นหัวใจได้ แต่เป็นหัวใจภาคปฏิบัติ คือ เป็น
เรื่องของการลงมือกระทำ
คำสอนของพระพุทธเจ้า ถ้าจะมองให้ครบจริงๆ
มีทั้ง
ภาคที่เป็นตัวหลักความรู้
และ
ภาคปฏิบัติ
ถ้าเรียกด้วยภาษาสมัยใหม่นี้ ก็เรียกว่า ภาคทฤษฎีด้วย ภาคปฏิบัติด้วย จึงจะครบ แต่ก็ไม่อยากให้ใช้คำว่า ทฤษฎี เพราะทฤษฎีเป็นศัพท์สมัยใหม่ มีความหมายของเขาอีกแบบหนึ่ง เราอย่าไปยุ่งเลย
เป็นอันว่า
คำสอนของพระพุทธเจ้า มิได้มีเฉพาะภาคปฏิบัติลงมือทำอย่างเดียว
ถ้าไปดูคำสอนที่กว้างออกไป ก็จะเห็นหลักที่เรียกว่า
อริยสัจ ๔
คือ
ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค
ทุกข์
ก็
ไม่ใช่ข้อปฏิบัติ
ท่านบอกว่า
ทุกข์
นั้น
เป็นสิ่งที่ต้องรู้
หรือ
รู้จัก
สมุทัย
เป็นสิ่งที่ต้องละ ก็
ไม่ใช่ข้อปฏิบัติอีก
นิโรธ
เป็นสิ่งที่ต้องเข้าถึง ก็
ไม่ใช่ตัวการปฏิบัติ
สุดท้าย
มรรค
จึงเป็น
ข้อปฏิบัติ
เป็นอันว่า
ข้อปฏิบัติ
มาอยู่ใน
อริยสัจข้อสุดท้าย
คือ
ข้อที่สี่
พอไปถึงอรรถกถา ท่านจะโยงให้เสร็จเลยว่า
การไม่ทำชั่ว ทำดี ทำใจให้บริสุทธิ์ผ่องใส
นั้น ก็คือ
ศีล สมาธิ ปัญญา
ศีล สมาธิ ปัญญา
อยู่ที่ไหน
เอามรรคมีองค์ ๘ มาสรุป
ก็เป็น
ศีล สมาธิ ปัญญา
ตกลงว่าคาถานี้ ที่ว่า
ไม่ทำชั่ว ทำดี ทำใจให้บริสุทธิ์
ก็อยู่ใน
อริยสัจ
ข้อ ๔ คือ
มรรค
นั่นเอง
ฉะนั้น หลัก
โอวาทปาฏิโมกข์
นี้ จึงเล็กกว่าหลัก
อริยสัจ
เพราะไปอยู่แค่ในข้อที่ ๔ ของอริยสัจ อริยสัจนั้นคลุมหมด มีข้อปฏิบัติพร้อมอยู่ด้วย ได้แก่ข้อที่ ๔ คือ
มรรค
ซึ่งมีองค์ ๘ ประการ
สรุป
มรรคมีองค์ ๘ เหลือ ๓
ได้แก่
ศีล สมาธิ ปัญญา
พูดภาษาชาวบ้านให้ง่าย ก็บอกว่า
ไม่ทำชั่ว ทำดี ทำใจให้ผ่องใส
นี่แหละ คือ
การแปล ศีล สมาธิ ปัญญา อย่างง่าย
เพราะฉะนั้น วันมาฆบูชา นี้ พูดในแง่หนึ่งก็คือ เป็นวันที่พระพุทธเจ้าทรงแสดง
หลักคำสอนให้ง่าย
โดยยก
เอา ศีล สมาธิ ปัญญา มาตรัสในรูปแบบหนึ่ง
นั่นเอง
เมื่อเราเห็นตำแหน่งแห่งที่ของคำสอนมาโยงกันอย่างนี้ ก็เลิกเถียงกันได้ ไม่ต้องมาเถียงกันให้ยุ่ง แล้วยังรู้ด้วยว่าอันไหนอยู่ที่ไหน
ในพระสูตรหลายสูตร
พระพุทธเจ้าตรัสเล่าลำดับการตรัสรู้ของพระองค์
ว่า พอได้
ฌาน ๔
แล้ว
จิตเป็นสมาธิ
เป็นกัมมนียัง พร้อมที่จะทำงาน พระองค์ก็
โน้มจิต
ไป เพื่อรู้อริยสัจ ก็ตรัสรู้อริยสัจ
ความสำคัญของ
การตรัสรู้อริยสัจ
นี้ ทำให้ในหลวงรัชกาลที่ ๖ ทรงพระราชนิพนธ์หนังสือขึ้นเล่มหนึ่งชื่อว่า พระพุทธเจ้าตรัสรู้อะไร คำตอบก็คือ ตรัสรู้อริยสัจ ๔ ซึ่งเป็นคำตอบที่เอามาจากพุทธพจน์เอง
เมื่อพระพุทธเจ้าตรัสรู้อริยสัจ ก็แสดงว่า อริยสัจ เป็นหัวใจของพระพุทธศาสนา ใช่ไหม เพราะเป็นสิ่งที่พระพุทธเจ้าตรัสรู้ ก็มาโยงกันเข้ากับเรื่องการไม่ทำชั่ว ทำดี ทำใจให้ผ่องใส ซึ่งเป็นหลักการที่อยู่ในข้อมรรค เพราะฉะนั้น อริยสัจ ๔ จึงคลุมหมด
ว่าต่อไปถึง
พุทธพจน์
ที่ว่า “
ทั้งในการก่อน และบัดนี้ เราสอนแต่เรื่องความทุกข์ และความดับทุกข์
”
ลองดูว่า
ทุกข์
และความ
ดับทุกข์
อยู่ที่ไหนล่ะ
ก็อยู่ใน
อริยสัจ
นั่นแหละ
ทุกข์
และ
กำเนิดแห่งทุกข์
หรือ
ทุกข์
และ
เหตุให้เกิดแห่งทุกข์
ได้แก่
ทุกข์ และทุกขสมุทัย
นั้น ในเวลาที่พระพุทธเจ้าตรัสสั้นๆ พระองค์ตรัสรวมไว้ในข้อเดียวกัน คือ ข้อว่าด้วย
ทุกข์
ได้แก่ ทุกข์และเหตุแห่งทุกข์
จัดเข้าเป็นข้อหนึ่ง
ส่วน
การดับทุกข์
ก็หมายถึง
นิโรธ
และ
มรรค
เอาทั้งความดับทุกข์ และวิธีดับทุกข์นั้นรวมไว้ด้วยกันเสร็จ
เพราะฉะนั้น
อริยสัจ ๔
ก็เลยจัดรวมเป็น ๒ หัวข้อใหญ่ นี่ก็เป็นวิธีพูดย่อ
ต่อไป
สพฺเพ ธมฺมา นาลํ อภินิเวสาย
อันนี้
เป็นการแสดงความจริงของสิ่งทั้งหลาย
ในแง่ว่า
เป็นสิ่งที่ไม่อาจจะเข้าไปยึดมั่นถือมั่นได้
เพราะมันเป็นอยู่เป็นไปตามธรรมดาของมัน
ถ้าเป็น
สังขาร มันก็เป็นไปตามเหตุปัจจัยของมัน
เป็นต้น
มันไม่เป็นไปตามความอยากความปรารถนาของใคร
ถ้าใครไป
ยึดมั่นจะให้เป็นตามใจ
ของตัว โดยไม่ใช้
ปัญญา
ที่จะทำตามเหตุปัจจัย ก็
จะถูกบีบคั้นฝืนใจกลายเป็นความทุกข์
แล้วก็โยงมาสู่
การปฏิบัติ
ว่า เมื่อสิ่งทั้งหลายไม่อาจจะถือมั่นได้
เราก็อย่าเอาตัณหาอุปาทานไปถือมั่นมัน
แต่ต้องปฏิบัติต่อมันด้วยปัญญา
ก็เลยโยงระหว่าง
ตัวสภาวะ
อันเป็นที่ตั้งแห่ง
ทุกข์
กับ
ข้อปฏิบัติอันจะไม่ให้เกิดทุกข์
ที่เรียกว่า
มรรค
เข้าด้วยกัน
ฉะนั้น ไม่ว่าจะพูดแง่ไหน คำสอนในพระพุทธศาสนาก็โยงกันหมด ไม่ต้องเป็นห่วง ใครจะมาบอกว่า
ไม่ทำชั่ว ทำดี ทำใจให้ผ่องใส เป็นหัวใจพระพุทธศาสนา
เราก็ไม่ต้องเถียง เถียงก็เสียเวลา เราก็บอกว่าถูกๆ ไม่ผิด ถ้าเขาบอกว่า
อริยสัจ ๔
ก็ถูกอีกแหละ เพราะว่าเรารู้ในใจ เราโยงได้หมดแล้ว
เมื่อพระพุทธเจ้าตรัสรู้แล้ว
ก่อนจะเสด็จไปสั่งสอน
ทรงปรารภว่า
ธรรม
ที่พระองค์ตรัสรู้นี้ยาก
คนที่จะรู้ตามได้จะมีน้อย
สิ่งที่พระองค์ได้ตรัสรู้ ซึ่งคนอื่นจะรู้ตามได้ยากนี้ ได้แก้อะไร ตอนนั้น พระองค์ก็ตรัสไว้เลยเหมือนกัน พระองค์ตรัสว่า ได้แก่
อิทัปปัจจยตาปฏิจจสมุปบาท
และ
นิพพาน
ก็สองอย่างเหมือนกัน
อิทัปปัจจยตาปฏิจจสมุปบาท
ก็คือ
ทุกข์
และ
ทุกขสมุทัย
นิพพาน
ก็คือ
นิโรธ
แล้วก็รวมเอา หรือ เล็งเอา
มรรค
เข้าไปด้วย เพราะเป็น
ข้อปฏิบัติ
ที่จะให้ถึงนิพพาน แต่ในที่นี้ ตรัสเฉพาะ
สภาวธรรม
เป็นอันว่า เวลาตรัสแสดงคำสอนของพระพุทธศาสนา ในส่วนสาระสำคัญ อย่างที่เรียกว่า
เอาเฉพาะ
หลักการแท้ๆ ตามสภาวะ
ก็ทรงระบุ
อิทัปปัจจยตาปฏิจจสมุปบาท
และ
นิพพาน
นี่แหละคือ
หัวใจตัวจริงแท้
ที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้เอง พระพุทธเจ้าตรัสปรารภกับพระองค์เอง ไม่ต้องกลัวว่าใครจะเข้าใจหรือไม่
แต่ในเวลาที่นำมาแสดงแก่ประชาชน
ต้องแสดงในรูป
อริยสัจ
ก็คือเอา
อิทัปปัจจยตาปฏิจจสมุปบาท
และ
นิพพาน
นั่นแหละมาแสดง มา
แสดงในรูปที่จะสื่อกับประชาชนได้
เรียกว่า เป็น
อริยสัจ ๔ ประการ
จึงถือว่า
อริยสัจนั้น
คือ
สัจธรรม
ที่พระพุทธเจ้าแสดงในรูปลักษณะที่จะให้คนทั้งหลายรู้เข้าใจ และนำไปประพฤติปฏิบัติได้
เพราะฉะนั้น
อริยสัจ
จึง
เป็นวิธีสอนของพระพุทธเจ้าไปด้วย
วิธีสอนต่างๆ ที่จะให้ได้ผลดี จะเห็นว่า แม้แต่ยุคปัจจุบันก็ต้องใช้หลักอริยสัจ ๔ แม้แต่พวกที่เป็นนักปลุกระดมคน ก็ต้องใช้วิธีตามแนวอริยสัจ ๔
https://www.bloggang.com/mainblog.php?id=samathijit&month=07-02-2024&group=92&gblog=35
Create Date : 25 พฤษภาคม 2567
0 comments
Last Update : 25 พฤษภาคม 2567 18:23:13 น.
Counter : 402 Pageviews.
Share
Tweet
ชื่อ :
* blog นี้ comment ได้เฉพาะสมาชิก
Comment :
*ส่วน comment ไม่สามารถใช้ javascript และ style sheet
สมาชิกหมายเลข 6393385
Location :
[ดู Profile ทั้งหมด]
ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
ผู้ติดตามบล็อก : 9 คน [
?
]
Webmaster - BlogGang
[Add สมาชิกหมายเลข 6393385's blog to your web]
Bloggang.com