กรรมเก่า คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ(สํ.สฬ.18/217/166) เป็นเจ้าบทบาทเดิม จากนั้น การศึกษาอาศัยปรโตโฆสะซึ่งมีคติว่า "คนเป็นไปตามสภาพแวดล้อมที่ปรุงปั้น" และโยนิโสมนสิการ ซึ่งมีคติย้อนกลับว่า"ถ้าเป็นคนรู้จักคิด แม้แต่ฟังคนบ้าคนเมาพูด ก็อาจสำเร็จเป็นพระอรหันต์"
หลักปฏิบัติ
สภาวธรรม
เบญจขันธ์
อายตนะ
ไตรลักษณ์
ปฏิจจสมุปบาท
กรรม
วิชชา วิมุตติ วิสุทธิ สันติ นิพพาน
ผู้บรรลุนิพพาน
หลักบรรลุนิพพาน
มัชฌิมาปฏิปทา
ปรโตโฆสะ
โยนิโสมนสิการ
ปัญญา
ศีล
สมาธิ
อริยสัจ ๔
อารยธรรมวิถี
แรงจูงใจคน
ความสุข ๑
ความสุข ๒
ปฏิบัติธรรมให้ถูกทาง
ผู้พิพากษาตั้งตุลาให้สังคม ฯ
คติธรรมสั้นๆ
ภาษาธรรมวันละคำ
เรื่องเหนือสามัญวิสัย
รู้เขา รู้เรา
คำพูดของคนใกล้สิ้นลม
ความเป็นมาของการบวช
การทำวัตรสวดมนต์
ทำยังไงจึงจะมีอายุยืนและมีความสุข
นิพพาน-อนัตตา ฉบับเพียงเพื่อไม่ประมาท
มาฆบูชา กับ วาเลนไทน์
แรงดันคน
ที่ทำงานของจิต
บรรลุธรรมอะไร?
พุทธปรัชญาในสุตตันตปิฎก
ธัมมาธิบาย
สวดมนต์
ความจนเป็นทุกข์ในโลก
เมษายน 2564
>>
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
27 เมษายน 2564
ถามเกี่ยวกับสภาวะจากนั่งสมาธิ
กิเลสต้องเห็นชัดด้วยปัญญาจึงละได้
ธัมมะธัมโมโฮ่กันอยู่ได้
ปฏิบัติแบบนี้ก็พอได้
กำหนดเพื่อให้รู้เห็นชัด
เสียงจากการนั่งสมาธิ
ตัวอย่างเทียบ กท. ล่าง
คำถามเรื่องสมาธิ
ขณะหลงไม่รู้ ขณะโกรธไม่รู้ ดับแล้วจึงรู้
ได้ยินเสียงนั่นนี่โน่นขณะนั่งสมาธิ-สวดมนต์
Hi อานาปานะ
ปฏิบัติต้องลงมือทำ
ถามเจ็บ
100 ทั้ง 100
ทำ = ภาวนา. ภาวนา=ทำ. ทำ=ปฏิบัติ
ไม่ต้องตามหา เดี๋ยวมาเอง
ไม่รู้จะตั้งชื่ออะไร ดูเอง
เทียบนั่งสมาธิกับการบำเพ็ญบารมีสิบ
เห็น เกิด ดับ
ผู้ปฏิบัติแท้จะไม่หวั่นนิมิตใดๆทั้งทางกายทางใจ
อารมณ์ที่เกิดจากจิตซึ่งเป็นสมาธิแล้ว
เห็นสัจธรรมแล้วทุกข์คลายเองโดยอัตโนมัติ
หากต้องการเข้าถึงความจริง มนุษย์ต้องเข้าใจตัวเขาเอง
ขณะจิตที่บรรลุมรรคผล
ถึงอารมณ์เบื่อทุกอย่าง
เขาถามกันว่า
หายไปทั้งตัว
มีใครนั่งสมาธิแล้วเพี้ยน เป็นบ้าบ้าง
จิตร้องเพลง มีเสียงพูดเสียงสอน
ถามเกี่ยวกับสภาวะจากนั่งสมาธิ
กิเลสต้องเห็นชัดด้วยปัญญาจึงละได้
ใช้ หนอ
ประสบการณ์ชีวิตเยอะ ธรรมารมณ์ก็เยอะ
สมาธิล้ำองค์ธรรมอื่น
อย่าฝืน อย่าต้านสภาวธรรม
ทำสมาธิแล้วเกิดสภาวะทางกาย
ผู้ปฏิบัติดู Blog นี้แล้ว ดู Blog ภาคปฏิบัติด้วย
ทำสมาธิแล้วได้ยินเสียงสวดมนต์
นี่เขาใช้ หนอ
นี่ไม่ใช้คำภาวนาใดๆ
คำภาวนาใดๆ ไม่ใช่สาระ
ดูลมเข้า-ออก
แยก สมมุติ กับ สภาวธรรม ให้ชัด
ใช้พุทโธ.
สภาวธรรม หมายถึง
ถามเกี่ยวกับสภาวะจากนั่งสมาธิ
ใช้คำพูดสภาวะ
ขอสอบถามท่านผู้รู้ เกี่ยวกับสภาวะที่เกิดจากการนั่งสมาธิด้วยค่ะ
ตัวหนูเองเพิ่งเริ่ม
หัดนั่งสมาธิแบบจริงๆจังๆได้ไม่นาน
มานี้ โดยการ
กำหนดดูลมหายใจเข้าออก
คือ เวลานั่งกำหนดดูลมหายใจไปแล้วสักพัก ก็จะรู้สึกเหมือน
มีมวลแม่เหล็กกลมๆ
จับอยู่ที่บริเวณสันจมูกและบริเวณข้างๆจมูกโดยรอบ พอเรานั่งดู
เวทนา
นั้นไปเรื่อยๆ ก็เกิดความรู้สึกเหมือนว่า
ตัวหาย
ได้แต่นั่งดู
ความว่างเปล่าไปเรื่อยๆ
จนพอถอนตัวจากสมาธิ แล้วค่อยๆลืมตาขึ้น ตัวก็ยัง
ไร้ความรู้สึกและขยับตัวเองไม่ได้
เหมือนเป็นอัมพาตได้แต่ลืมตา และกระพริบตาเท่านั้น
(ตอนนั้นตกใจมาก คิดว่านั่งทับเส้นหรือเปล่า)
ต้องรอสัก1-2 นาที ถึงจะขยับตัวได้ พอ
ลุกขึ้นยืน
ก็ไม่มีแม้แต่ความรู้สึกปวดขา หรือ ปวดตามร่างกายเลยค่ะ เพราะโดยปกติหนูจะนั่งสมาธิในท่าเดียวได้ไม่ค่อยนาน ประมาณ 15-20 นาที ก็จะรู้สึกปวดเมื่อย และขยับตัวหรือออกจากสมาธิไปเลย
และพอหลังจากวันนั้นมา เวลาจะ
นั่งสมาธิพอกำหนดดูลมหายใจปุ๊บ ไม่ถึง 5-10 นาที
ก็จะเกิด
สภาวะไร้ความรู้สึกขึ้นมาทุกครั้ง
เลยค่ะ
(แต่ก็ถือว่าเป็นผลดีที่ทำให้เรานั่งได้นานๆเป็นชั่วโมง โดยที่เราไม่รู้สึกเจ็บหรือปวดเลย)
และอีกหนึ่งสภาวะคือถ้า
ตั้งใจนั่งสมาธิมากๆ พอนั่งไปสักพักร่างกายจะสั่นแรงมาก
ความรู้สึกเหมือนขับรถด้วยความเร็วสูงมากๆ ประมาณว่าคล้ายๆ ตอนขึ้นเครื่องบินแล้วเครื่องบินกำลังจะเทคออฟค่ะ คือมันพุ่งไปข้างหน้าอย่างเร็วแรงมาก
หนูเลยอยากทราบว่า สิ่งที่เกิดขึ้นในสภาวะแบบนี้คืออะไร ถูกต้องหรือไม่ และ
หนูต้องนั่งดูสภาวะ
แบบนี้ไปเรื่อยๆ แล้วปล่อย
ว่างอุเบกขา
ใช่หรือไม่ และสิ่งที่เกิดขึ้นตอนนี้ถึง
ขั้นไหนในการทำสมาธิ
แล้วคะ และจะ
มีอันตราย หรือ ผลที่จะตามมาไหม
คะ ขอบพระคุณเป็นอย่างสูงค่ะ
ดูความหมาย
สภาวะ
ให้เข้าใจ เมื่อเข้าใจแล้ว ก็ร้องอ๋อ มันเป็นของมันเอง ในเมื่อธรรมชาติมันเป็นยังงั้น มันก็เป็นยังงั้น แต่มันไม่ตรงใจเราตรงใจคน ปัญหาเกิดตอนนี้ สภาวะมันก็เปลี่ยนไปเรื่อยตามกฎของมัน เพราะฉะนั้น ผู้ปฏิบัติต้องมีหลักสำหรับดูสภาวะหรือธรรมชาติ หลักก็คือกำหนดรู้มันทุกอย่าง ไม่ใช่ดูเฉยๆโดยไม่กำหนดในใจนะ ต้องว่าในใจด้วย (ข้อนี้สำคัญ) เรื่องอุเบกขาแท้ๆ ให้ดูหัวข้อวิปัสสนาญาณ ๙ (สังขารุเปกขาญาณ) ตอนนี้ยังไปไม่ถึง ก็ต้องกำหนดรู้สภาวะที่ประสบต่อไป ไม่เป็นอันตราย แต่ให้กำหนดนะ ถ้าไม่กำหนดสภาวะมันจะวน แต่ก็ไม่ใช่กำหนดครั้งเดียวนะ กำหนดทุกครั้งทุกขณะที่รู้สึก
ให้เอาตัวอย่างมาสักร้อยพันอย่าง วิธีแก้อารมณ์ภาคปฏิบัติทางจิตนี้ มีอย่างเดียว ไม่ต้องไปคิดว่าวิธีอื่น ไม่มีทาง วิธีที่ว่า คือ กำหนดตามสภาวะ คิดยังไง เป็นยังไง รู้สึกยังไงทั้งทางกายทางใจ กำหนดตามที่คิดตามที่รู้สึกไม่ปล่อยผ่านไปเฉยๆ เดินจงกรมด้วย ไม่ใช่นั่งอย่างเดียว
อีกสัก ตย
.
นั่งสมาธิแล้วเหมือนมีแมลงไต่ รู้สึกกลัว
เดี๋ยวนี้ไม่ได้นั่งสมาธิเลยค่ะ กลัวอะไรก็บอกไม่ถูก เมื่อก่อนเวลานั่งสักพักรู้สึกเหมือนมีแมลงมาไต่อยู่ที่ขา ลูบดูก็ไม่มี
วันต่อๆ มาก็เป็นอีก จุดเดิม ที่เดิม เหมือนเดินไต่ไปเรื่อยๆ
แต่รู้ว่ามันไม่มีอะไรไต่จริง
แต่ก็ไม่รู้มันคืออะไร บางครั้งก็ได้ยินเสียงดัง "
ปัง
" ดังมากด้วย เหมือนอะไรตกบนบ้าน แต่
ถามแม่ แม่กลับไม่ได้ยิน
ตอนนี้ กลับมาคิด สมัยเด็กๆ เล็กๆ ชอบจับแมลงมาหักขา พวกแมงมุมขายาวๆ ที่อยู่ตามเพดาน เจอเป็นจับมาหักขาหมด ตอนนั้นไม่รู้อะไรควรไม่ควร โตมาพอรู้ความรู้สึกแย่มากๆ ค่ะ รู้สึกผิดกับพวกเค้า เค้าคงทรมานมากๆ ถึงจะเป็นแมลงตัวเล็กๆ แต่ก็รู้สึกเสียใจกับสิ่งที่เคยทำลงไปมากจริงๆ จะเกี่ยวกันรึเปล่าก็ไม่รู้ค่ะ
อย่างที่บอกให้มันเกิดสภาวะสักร้อยสักพันอย่าง กำหนดตรงๆตามที่มันเป็นเท่านั้น รู้สึกกลัว กลัวหนอๆๆๆ (อย่าเลี่ยงหนี) กลัวหนอๆๆๆ เสียงนั่นเสียงนี่ปึงปังโครมคราม เสียงหนอๆๆๆ (ปักจิตรับรู้ตรงหูกำหนด) เสียงหนอๆๆๆ มีอะไรอีกว่ามา ให้ครบพันอย่าง
เราก็กำหนดตามที่
เห็น
ตามที่
ได้ยิน
ตามที่ได้
กลิ่น
ตามที่
คิด
เท่านั้น รู้สึกเสียใจ เสียใจหนอๆๆๆ
ประตูรับรู้อารมณ์คนเรา มี ๖ ประตู คือ ทางตา ทางหู ทางจมูก ทางลิ้น ทางกาย (สัมผัส) ทางจิตใจ การปฏิบัติวิปัสสนา การปฏิบัติแนวสติปัฏฐาน การปฏิบัติธรรมทางจิต กำหนดรู้มันทุกๆประตู อะไรเกิดทางประตูไหนรับรู้หมด เหมือนมีสติเฝ้าประตูอยู่ กำหนดๆๆ นี่แหละสติสัมปชัญญะสมาธิเป็นต้นเกิดแล้ว
Create Date : 27 เมษายน 2564
Last Update : 28 กรกฎาคม 2564 8:03:22 น.
0 comments
Counter : 421 Pageviews.
Share
Tweet
ชื่อ :
* blog นี้ comment ได้เฉพาะสมาชิก
Comment :
*ส่วน comment ไม่สามารถใช้ javascript และ style sheet
สมาชิกหมายเลข 6393385
Location :
[ดู Profile ทั้งหมด]
ให้ทิปเจ้าของ Blog
[
?
]
ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
ผู้ติดตามบล็อก : 6 คน [
?
]
Webmaster - BlogGang
[Add สมาชิกหมายเลข 6393385's blog to your web]
Bloggang.com