กรรมเก่า คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ.เป็นเจ้าบทบาทเดิม จากนั้น การศึกษาอาศัยปรโตโฆสะ ซึ่งมีคติว่า "คนเป็นไปตามสภาพแวดล้อมที่ปรุงปั้น" และโยนิโสมนสิการ ซึ่งมีคติย้อนกลับว่า "ถ้าเป็นคนรู้จักคิด แม้แต่ฟังคนบ้าคนเมาพูด ก็อาจสำเร็จเป็นพระอรหันต์"
บุญ
ข้อธรรมะที่ถาม,ถกเถียงกันบ่อย
หลักปฏิบัติ
สภาวธรรม
ชีวิต เป็นอย่างไร.ไตรลักษณ์
ชีวิต เป็นไปอย่างไร.ปฏิจจสมุปบาท
ชีวิตควรให้เป็นอย่างไร.วิชชา,นิพพาน
ปฏิบัติธรรมให้ถูกทาง
ผู้ พิ พ า ก ษ า ตั้ ง ตุ ลา ใ ห้ สั ง ค ม ส ม ดุ ล
คติธรรมสั้นๆ
ภาษาธรรมวันละคำ
รู้เขา รู้เรา
คำพูดของคนใกล้สิ้นลม
ความเป็นมาของการบวช
การทำวัตรสวดมนต์
ทำยังไงจึงจะมีอายุยืนและมีความสุข
นิพพาน-อนัตตา ฉบับเพียงเพื่อไม่ประมาท
พลังดันคน
ที่ทำงานของจิต
บรรลุธรรมอะไร?
พุทธปรัชญาในสุตตันตปิฎก
ธัมมาธิบาย
สวดมนต์
ค ว า ม จ น เ ป็ น ทุ ก ข์ ใ น โ ล ก
เรียนบาลีเพื่อรักษาพุทธพจน์
ศีล-ธรรมไม่มาโลกาจะพินาศ
หลักธรรมสำหรับผู้ยังไม่นับถือศาสนาใดๆ
วันแห่งความรัก.
ชีวิต ควรเป็นอยู่อย่างไร.มัชฌิมาปฎิปทา
ชีวิต ควรเป็นอยู่อย่างไร.ปรโตโฆสะที่ดี
ชีวิต ควรเป็นอยู่อย่างไร.โยนิโสมนสิการ
ชีวิตควรเป็นอย่างไร.ไตรสิกขา
อริยสัจ
ชีวิตที่ดี เป็นอย่างไร.โสดาบัน
ศีลกับเจตนารมณ์ทางสังคม
เรื่องเหนือสามัญวิสัย.
ปัญหาเกี่ยวกับแรงจูงใจ
ความสุข.ฉบับแบบแผน,ประมวลความ
ชีวิต คืออะไร. ขันธ์ ๕
อายตนะ ๖
กรรม
ก่อนศึกษาพุทธธรรม
เมษายน 2564
>>
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
10 เมษายน 2564
แยก สมมุติ กับ สภาวธรรม ให้ชัด
เป็นกิเลส ไม่ใช่ฤทธิ์
จิต
สภาวะของมัน
เจตนา เป็นตัวกรรม
ประสบการณ์จากการฝึกสมาธิ
วิปัสสนูปกิเลส
ฝึกเป็นอริยบุคคล
หลักพระอรหันต์แท้ๆ
มีเสียงพูดเสียงสอน
ออกจากสมาธิแล้วคิดอะไรไม่ออก
จิตก็ต้องมีอาหารกิน
ถูกนักมายากลหลอก
สภาวะปีติ
ประสบไตรลักษณ์อย่างไม่รู้เท่าทัน กลับทำให้เกิดทุกข์
สภาวะทางกาย
นี่ใช้พุท-โธ
ใช้สอบอารมณ์ตนเองได้
ถูกทางแต่ยังไม่สุดทาง
กำลังเดินทาง
ปักธง
ติดสุข
สวดมนต์ เจอกิเลสมาร
ปฎิบัติธรรมเอง แล้วทุกอย่างเปลี่ยนไปเพราะอะไร
มิจฉาปฏิปทา
ไม่ใช่ทาง
แค่แสงสว่าง ก็หลงก็ติดกันแล้ว
แปะไว้ก่อน
สภาวะที่เกิดจากการนั่งสมาธิ
เหมือนมีประจุไฟฟ้าแล่นไปตามขา
คิดฟุ้งซ่านมาก ตอนนั่งสมาธิ แก้ไขอย่างไร
โอภาส แสงสว่าง
พอจิตเริ่มๆมีสมาธิ เอาล่ะทีนี้
แทนที่จะดี กลายเป็นเสียงของ
ต่อจากวิปัสสะนึก
วิปัสสะนึก ไม่ใช่วิปัสสนา
อารมณ์สมถะ - วิปัสสนา
ลมหายใจหาย ไปไม่เป็น
นั่งสมาธิแล้วเหมือนมีแมลงไต่
รู้ตามที่มันเป็น
วิธีล้างเจ้ากรรมนายเวรออก
วิบเดียว
วิบ วิบ
ปฏิบัติเพื่อให้รู้เข้าใจชีวิต
ธรรมะไม่ถูกใจคน
ถามเกี่ยวกับการนั่งสมาธิค่ะ
ธัมมะธัมโมโฮ่กันอยู่ได้
ปฏิบัติแบบนี้ก็พอได้
กำหนดเพื่อให้รู้เห็นชัด
เสียงจากการนั่งสมาธิ
ตัวอย่างเทียบ กท. ล่าง
คำถามเรื่องสมาธิ
ขณะหลงไม่รู้ ขณะโกรธไม่รู้ ดับแล้วจึงรู้
ได้ยินเสียงนั่นนี่โน่นขณะนั่งสมาธิ-สวดมนต์
รู้จัก อานะ+อาปานะ+สติ
ปฏิบัติต้องลงมือทำ
ถามเจ็บ
100 ทั้ง 100
ทำ = ภาวนา. ภาวนา=ทำ. ทำ=ปฏิบัติ
ไม่ต้องตามหา เดี๋ยวมาเอง
ไม่รู้จะตั้งชื่ออะไร ดูเอง
เทียบนั่งสมาธิกับการบำเพ็ญบารมีสิบ
เห็น เกิด ดับ
ผู้ปฏิบัติแท้จะไม่หวั่นนิมิตใดๆทั้งทางกายทางใจ
อารมณ์ที่เกิดจากจิตซึ่งเป็นสมาธิแล้ว
เห็นสัจธรรมแล้วทุกข์คลายเองโดยอัตโนมัติ
หากต้องการเข้าถึงความจริง มนุษย์ต้องเข้าใจตัวเขาเอง
ขณะจิตที่บรรลุมรรคผล
ถึงอารมณ์เบื่อทุกอย่าง
เขาถามกันว่า
หายไปทั้งตัว
มีใครนั่งสมาธิแล้วเพี้ยน เป็นบ้าบ้าง
จิตร้องเพลง มีเสียงพูดเสียงสอน
ถามเกี่ยวกับสภาวะจากนั่งสมาธิ
กิเลสต้องเห็นชัดด้วยปัญญาจึงละได้
ใช้ หนอ
ประสบการณ์ชีวิตเยอะ ธรรมารมณ์ก็เยอะ
สมาธิล้ำองค์ธรรมอื่น
อย่าฝืน อย่าต้านสภาวธรรม
ทำสมาธิแล้วเกิดสภาวะทางกาย
ผู้ปฏิบัติดู Blog นี้แล้ว ดู Blog ภาคปฏิบัติด้วย
ทำสมาธิแล้วได้ยินเสียงสวดมนต์
นี่เขาใช้ หนอ
นี่ไม่ใช้คำภาวนาใดๆ
คำภาวนาใดๆ ไม่ใช่สาระ
ดูลมเข้า-ออก
แยก สมมุติ กับ สภาวธรรม ให้ชัด
ใช้พุทโธ.
สภาวธรรม หมายถึง
แยก สมมุติ กับ สภาวธรรม ให้ชัด
เราจะ
เรียกชื่อ ปฏิบัติกรรมฐาน, ปฏิบัติธรรม, นั่งสมาธิ, ภาวนา ใช้ชื่อไหนก็แล้วแต่ ชื่อไม่สำคัญ จะบัญญัติชื่อเรียกยังไงก็ได้ นี่อย่างหนึ่ง
อีกอย่างหนึ่ง
คำบริกรรม,คำภาวนา ยังไงก็ได้ ใช้วิธีนับเลขก็ได้ พุทโธ ธัมโม สังโฆ ก็ได้ ใช้หนอก็ได้
(พองหนอ -ยุบหนอ คือ ใช้อาการท้องที่พองขึ้น กับ ยุบลง เป็นที่ทำงานของจิต คือ เป็นกรรมฐาน)
ก็ได้
ไม่ใช้ก็ยังได้
แต่เบื้องต้น ให้อ่านบทความสั้นๆนี้ให้เข้าใจก่อน แยกความหมาย สมมุติ กับ สภาวธรรมให้ชัดให้เข้าใจก่อน ถ้าสั้นไปไม่ชัด
อ่านยาวๆ ตามลิงค์ข้างล่างดู
สิ่งทั้งหลายที่มีอยู่ก็แค่รูปธรรม และนามธรรม แล้วบนรูปธรรมและนามธรรมนั้นๆ เช่น ที่ประกอบกันเข้าเป็นสัดส่วนในลักษณาการที่มีความเป็นไปอย่างนี้ๆ
เราก็สมมุติเรียกว่า
เป็น “สัตว์” เป็น “คน” เป็น “บุคคล” เป็น “ตัว” “ตน” หรือ“ตัวตน”(อัตตา, อาตุมา, อาตมา)
เป็น “เรา” เป็น “เขา” เป็น “ท่าน”
ฯลฯ
“สัตว์” “บุคคล” “ตัวตน” “เราเขา” เป็นต้น ที่
สมมุติ
ขึ้นมานี้ ไม่มีจริง เมื่อเอาชื่อ หรือ คำเรียกออกไป หรือ
มองผ่านทะลุคำเรียกชื่อ
นั้นไป ก็มีเพียงรูปธรรมและนามธรรม
“รูปธรรม-นามธรรม”แม้จะเป็นคำเรียกที่
บัญญัติ
ขึ้นมา แต่ก็เป็น
คำที่สื่อถึงสิ่งที่มีอยู่จริง
(ใช้คำอย่างบาลีว่า “
สภาวะ
” หรือ“
สภาวธรรม
” คือ
สิ่งที่มีภาวะของมันเอง
หรือ
สิ่งที่มีความเป็นจริงของมัน
)
ส่วน “สัตว์” “บุคคล” “ตัวตน/อัตตา/อาตมา/อาตมัน” “เรา” “เขา
”
เป็นต้น
ไม่สื่อถึงสภาวะ
คือ สิ่งที่มีอยู่จริงนั้น แต่
เป็นชื่อที่สมมุติซ้อน
ขึ้นมาอีกชั้นหนึ่ง บนของจริงที่เป็นสภาวะของมัน ที่สัมพันธ์กันอยู่ เช่น เป็นเหตุปัจจัยแก่กันในลักษณะอาการต่างๆ พอระบบสัมพันธ์นั้นแปรหรือสลาย องค์ประกอบวิบัติกระจัดกระจาย “สัตว์” “บุคคล” “ตัวตน,อัตตา,อาตมา,อาตมัน” ฯลฯ นั้นๆ ก็หายไป มีแต่
สภาวธรรม
ทั้งหลายที่เป็นไปตามวิถีทางของมัน
https://www.bloggang.com/mainblog.php?id=samathijit&month=08-04-2021&group=6&gblog=4
ฅนกำลังเล่นอยู่กับธรรมะระดับแก่น ธรรมก็อย่างฅนก็อย่าง ธรรมมันมีมันเป็นไปตามเรื่องของมัน ส่วนฅนจะเอาแต่ใจตัว นี่ธรรมะกับคนขัดกันแล้ว
ยกตัวอย่างง่ายๆ ขำๆ
วันหนึ่งฝนตก
หนักทั้งวัน แม่ค้าขายของไม่ได้ ก็ด่าฝน
%*^& จะตกทำไมนักว่ะ โน่นท้องไร่ท้องนา ทำไมไม่ตก แค่นี้ฅนกับธรรมะ-ชาติ ขัดกันแล้ว ฉันใด การปฏิบัติธรรม ทำสมาธิ ภาวนาอะไรๆ ก็ฉันนั้น ธรรมะเป็นยังไง มันก็เป็นยังงั้น เราปฏิบัติธรรมเพื่อต้องการพ้นทุกข์ (ถูกไหม) เราก็ต้องรู้ตามที่มันเป็นดิ จะชอบใจ ไม่ชอบใจ จะสุขจะทุกข์ยังไง ก็ต้องรู้ตามที่มันเป็นของมัน เราจะเอาแต่ใจตัวได้ที่ไหน มันก็ขัดกันดิ
กำหนดรู้ทุกๆขณะก็จะเห็นการเปลี่ยนแปลงความไม่คงที่ของมัน ถึงบางอ้อเลย อ้อมันเป็นยังงี้นี่เอง กูหลงยึดสะตั้งนาน เมื่อรู้เองเห็นเองก็ปล่อยวางสุขทุกข์ได้ อะไรเกิดรับรู้สู้หน้าได้ทุกเรื่อง ใจก็เป็นกลางคือมีอุเบกขาว่างั้นเถอะ อุเบกขาเห็นด้วยตนเอง ไม่ใช่อุเบกขาแบบพูดเอา
ดูตัวอย่าง
หลังจาก
นั่งสมาธิ
สวดมนต์แล้วรู้สึกแปลกๆ
เราเป็นมาวันนี้วันที่สอง
แล้ว วันแรกตอนสวดมนต์ก็ปกติ พอ
นั่งสมาธิไปสักพัก
จะเริ่มมึนๆ ตรงนี้อาจจะเป็นเพราะ
หายใจไม่ถูก
หรือร่างกายไม่พร้อมรึป่าว
ส่วน
วันที่สอง
นี้ เราลอง
ท่องนโมก่อนนั่งสมาธิ เพราะกลัว
หลังจากนั่งได้ไม่กี่นาที ก็มาสวดมนต์ แผ่เมตตา
ตอนสวดรู้สึก
มือสั่น
แต่
คิดว่ากล้ามเนื้อคงเกร็งหลังจากเล่นโทรศัพท์มา
แต่พอตอนพูดว่า ข้าพเจ้า...ขออุทิศ...ยิ่ง
พูดนานเท่าไหร่ยิ่งนิ่ง
ยิ่งรู้สึกตัวเอง
มือโต เท้าโต ตัวเล็ก มองมุมกว้าง
ควรทำอย่างไรดีคะ
ไม่เคยรู้สึกแบบนี้มาก่อน
เพราะได้หยุดนั่งสมาธิไปเกือบสองปี
หลังจากนั่งเป็น ชม.
เเล้ว
ข้างในโยกเยกก็เลยกลัว
รบกวนแนะแนวแนะนำหน่อยนะคะ สาธุค่ะ
คนกับธรรมะ-ชาติ ขัดกันแล้ว ไม่มีอะไรผิดปกติ ธรรมะ-ดาๆ แต่ผู้ปฏิบัติร้อยทั้งร้อย ขาดวิธีกำหนดสภาวอารมณ์ที่ปรากฏแต่ละขณะๆ เมื่อไม่มีวิธี พอประสบสภาวธรรมไปไม่เป็น ก็โทษนั่นโทษนี่ หายใจผิดหายใจไม่ถูก วาดภาพฟุ้งไป
Create Date : 10 เมษายน 2564
Last Update : 11 กุมภาพันธ์ 2566 10:30:26 น.
0 comments
Counter : 480 Pageviews.
Share
Tweet
ชื่อ :
* blog นี้ comment ได้เฉพาะสมาชิก
Comment :
*ส่วน comment ไม่สามารถใช้ javascript และ style sheet
BlogGang Popular Award#19
สมาชิกหมายเลข 6393385
Location :
[ดู Profile ทั้งหมด]
ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
ผู้ติดตามบล็อก : 9 คน [
?
]
Webmaster - BlogGang
[Add สมาชิกหมายเลข 6393385's blog to your web]
Bloggang.com