กรรมเก่า คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ.เป็นเจ้าบทบาทเดิม จากนั้น การศึกษาอาศัยปรโตโฆสะ ซึ่งมีคติว่า "คนเป็นไปตามสภาพแวดล้อมที่ปรุงปั้น" และโยนิโสมนสิการ ซึ่งมีคติย้อนกลับว่า "ถ้าเป็นคนรู้จักคิด แม้แต่ฟังคนบ้าคนเมาพูด ก็อาจสำเร็จเป็นพระอรหันต์"
บุญ
ข้อธรรมะที่ถาม,ถกเถียงกันบ่อย
หลักปฏิบัติ
สภาวธรรม
ชีวิตคืออะไร.ขันธ์ ๕
ชีวิตคืออะไร.อายตนะ ๖
ชีวิตเป็นอย่างไร.ไตรลักษณ์
ชีวิตเป็นไปอย่างไร.ปฏิจจสมุปบาท
ชีวิตเป็นไปอย่างไร.กรรม
ชีวิตควรให้เป็นอย่างไร.วิชชา,นิพพาน
ปฏิบัติธรรมให้ถูกทาง
ผู้ พิ พ า ก ษ า ตั้ ง ตุ ลา ใ ห้ สั ง ค ม ส ม ดุ ล
คติธรรมสั้นๆ
ภาษาธรรมวันละคำ
รู้เขา รู้เรา
คำพูดของคนใกล้สิ้นลม
ความเป็นมาของการบวช
การทำวัตรสวดมนต์
ทำยังไงจึงจะมีอายุยืนและมีความสุข
นิพพาน-อนัตตา ฉบับเพียงเพื่อไม่ประมาท
พลังดันคน
ที่ทำงานของจิต
บรรลุธรรมอะไร?
พุทธปรัชญาในสุตตันตปิฎก
ธัมมาธิบาย
สวดมนต์
ค ว า ม จ น เ ป็ น ทุ ก ข์ ใ น โ ล ก
เรียนบาลีเพื่อรักษาพุทธพจน์
ศีล-ธรรมไม่มาโลกาจะพินาศ
หลักธรรมสำหรับผู้ยังไม่นับถือศาสนาใดๆ
ชีวิตควรเป็นอยู่อย่างไร
ปรโตโฆสะที่ดี
ความนำโยนิโสมนสิการ
โยนิโสมนสิการ ๑๐ วิธี
องค์ประกอบมัชฌิมาปฏิปทา,ปัญญา
องค์ประกอบมัชฌิมาปฏิปทา,ศีล
องค์ประกอบมัชฌิมาปฏิปทา,สมาธิ
อริยสัจ
วิถีชีวิตของคนมีอารยธรรม
เรื่องเหนือสามัญวิสัย.
ศีลกับเจตนารมณ์ทางสังคม
ปัญหาเกี่ยวกับแรงจูงใจ
วันแห่งความรัก.
ความสุข: ฉบับแบบแผน
ความสุข: ฉบับประมวลความ
ชีวิต ควรให้เป็นอย่างไร. หลักบรรลุนิพพาน
<<
สิงหาคม 2564
>>
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
30 สิงหาคม 2564
อารมณ์ที่เกิดจากจิตซึ่งเป็นสมาธิแล้ว
ประสบการณ์จากการฝึกสมาธิ
วิปัสสนูปกิเลส
ฝึกเป็นอริยบุคคล
หลักพระอรหันต์แท้ๆ
มีเสียงพูดเสียงสอน
ออกจากสมาธิแล้วคิดอะไรไม่ออก
จิตก็ต้องมีอาหารกิน
ถูกนักมายากลหลอก
สภาวะปีติ
ประสบไตรลักษณ์อย่างไม่รู้เท่าทัน กลับทำให้เกิดทุกข์
สภาวะทางกาย
นี่ใช้พุท-โธ
ใช้สอบอารมณ์ตนเองได้
ถูกทางแต่ยังไม่สุดทาง
กำลังเดินทาง
ปักธง
ติดสุข
สวดมนต์ เจอกิเลสมาร
ปฎิบัติธรรมเอง แล้วทุกอย่างเปลี่ยนไปเพราะอะไร
มิจฉาปฏิปทา
ไม่ใช่ทาง
แค่แสงสว่าง ก็หลงก็ติดกันแล้ว
แปะไว้ก่อน
สภาวะที่เกิดจากการนั่งสมาธิ
เหมือนมีประจุไฟฟ้าแล่นไปตามขา
คิดฟุ้งซ่านมาก ตอนนั่งสมาธิ แก้ไขอย่างไร
โอภาส แสงสว่าง
พอจิตเริ่มๆมีสมาธิ เอาล่ะทีนี้
แทนที่จะดี กลายเป็นเสียงของ
ต่อจากวิปัสสะนึก
วิปัสสะนึก ไม่ใช่วิปัสสนา
อารมณ์สมถะ - วิปัสสนา
ลมหายใจหาย ไปไม่เป็น
นั่งสมาธิแล้วเหมือนมีแมลงไต่
รู้ตามที่มันเป็น
วิธีล้างเจ้ากรรมนายเวรออก
วิบเดียว
วิบ วิบ
ปฏิบัติเพื่อให้รู้เข้าใจชีวิต
ธรรมะไม่ถูกใจคน
ถามเกี่ยวกับการนั่งสมาธิค่ะ
ธัมมะธัมโมโฮ่กันอยู่ได้
ปฏิบัติแบบนี้ก็พอได้
กำหนดเพื่อให้รู้เห็นชัด
เสียงจากการนั่งสมาธิ
ตัวอย่างเทียบ กท. ล่าง
คำถามเรื่องสมาธิ
ขณะหลงไม่รู้ ขณะโกรธไม่รู้ ดับแล้วจึงรู้
ได้ยินเสียงนั่นนี่โน่นขณะนั่งสมาธิ-สวดมนต์
รู้จัก อานะ+อาปานะ+สติ
ปฏิบัติต้องลงมือทำ
ถามเจ็บ
100 ทั้ง 100
ทำ = ภาวนา. ภาวนา=ทำ. ทำ=ปฏิบัติ
ไม่ต้องตามหา เดี๋ยวมาเอง
ไม่รู้จะตั้งชื่ออะไร ดูเอง
เทียบนั่งสมาธิกับการบำเพ็ญบารมีสิบ
เห็น เกิด ดับ
ผู้ปฏิบัติแท้จะไม่หวั่นนิมิตใดๆทั้งทางกายทางใจ
อารมณ์ที่เกิดจากจิตซึ่งเป็นสมาธิแล้ว
เห็นสัจธรรมแล้วทุกข์คลายเองโดยอัตโนมัติ
หากต้องการเข้าถึงความจริง มนุษย์ต้องเข้าใจตัวเขาเอง
ขณะจิตที่บรรลุมรรคผล
ถึงอารมณ์เบื่อทุกอย่าง
เขาถามกันว่า
หายไปทั้งตัว
มีใครนั่งสมาธิแล้วเพี้ยน เป็นบ้าบ้าง
จิตร้องเพลง มีเสียงพูดเสียงสอน
ถามเกี่ยวกับสภาวะจากนั่งสมาธิ
กิเลสต้องเห็นชัดด้วยปัญญาจึงละได้
ใช้ หนอ
ประสบการณ์ชีวิตเยอะ ธรรมารมณ์ก็เยอะ
สมาธิล้ำองค์ธรรมอื่น
อย่าฝืน อย่าต้านสภาวธรรม
ทำสมาธิแล้วเกิดสภาวะทางกาย
ผู้ปฏิบัติดู Blog นี้แล้ว ดู Blog ภาคปฏิบัติด้วย
ทำสมาธิแล้วได้ยินเสียงสวดมนต์
นี่เขาใช้ หนอ
นี่ไม่ใช้คำภาวนาใดๆ
คำภาวนาใดๆ ไม่ใช่สาระ
ดูลมเข้า-ออก
แยก สมมุติ กับ สภาวธรรม ให้ชัด
ใช้พุทโธ.
สภาวธรรม หมายถึง
อารมณ์ที่เกิดจากจิตซึ่งเป็นสมาธิแล้ว
คำถาม
ที่กลั่นออกมาจากความรู้สึกจริงๆ
เป็นคนจิตฟุ้งซ่านง่าย ทำอย่างไร จึงจะทำให้จิตนิ่งและแข็งขึ้นดีคะ
ตามหัวข้อเลยนะคะ เราอยากรู้ค่ะว่าทำยังไงไม่ให้จิตมันฟุ้งซ่าน ทำยังไงให้ตัวเองนิ่งขึ้นดี ต้องเล่าก่อนค่ะ ว่าปกติเป็นคนชอบปฏิบัติธรรมอยู่แล้ว แต่มา
ติดอยู่เรื่องเดียว
คือเราชอบ
กลัวเวลาสวดมนต์
อ่ะค่ะ เราไม่ได้เพ้อเจ้อนะคะ
แต่เวลาเราสวด เราจะสามารถสัมผัสพลังงานพวกนี้ได้ค่ะ เช่นเราสวดๆอยู่ เราจะรู้สึกเย็นๆบริเวณรอบลำตัวเลยค่ะ บางทีก็เย็นกลางหลัง บางทีก็เย็นที่เท้า หรือบางทีก็เย็นบริเวณรอบๆค่ะ
เย็นแบบเย็นยะเยือกอ่ะค่ะ อย่างกับลมหิมะ
เลย
แต่เราอยู่ห้องธรรมดา ห้องพัดลมแบบนี้ แล้วจะขนลุกเสมอ เวลาสัมผัสอะไรแบบนี้ได้
ทีนี้
เราไม่ได้บอกว่าไอการสัมผัสพลังงานอะไรแบบนี้มันไม่ดีนะคะ
แต่ทีนี้มันก็มีข้อเสียอย่างนึงคือ เวลาเราจะเข้าห้องพระไปสวดมนต์กลายเป็นว่าเราชอบไปกลัวไออาการที่เราเป็นอยู่ซะเอง เช่นเรากลัวว่า เขาจะมาทำร้ายเรามั้ย หรือ กลัวเขาจะหลอกเรา เราเป็นแบบนี้บ่อยมากค่ะ ทุกครั้งที่เข้าไปสวดมนต์ เราเลย เหมือนคนฟุ้งซ่านไปเลยว่าสวดทีไรจิตก็ไม่เคยนิ่ง และเอาชนะไม่เคยได้สักที มันเป็นอุปสรรค์สำหรับการปฏิบัติธรรมมากค่ะ เราไม่รู้จะแก้ยังไงดี
ตอนนี้เราอายุ 16
แล้วนะคะ
ชอบปฏิบัติมาตั้งแต่ 13 แล้ว
ค่ะ แต่ทำไม่เคยต่อเนื่องก็เพราะเรื่องนี้แหละที่เจอ คือจิตชอบไปกลัว ชอบไปคิดมาก แต่พอสวดเอาเข้าจริงๆมันก็ไม่มีอะไรหรอกค่ะ มีแต่เราที่คิดไปเอง
เราอยากทราบถึงพี่ๆ
หรือ เพื่อนๆ ที่ปฏิบัติกันมาได้นานๆอ่ะค่ะ
ว่าเวลาเจอสถานการณ์แบบนี้ จัดการกับความคิดยังไง แล้วรับมือยังไงกันบ้าง
บางท่านอาจจะคิดนะคะ ว่าถ้ากลัวมากแล้วปฏิบัติไปทำไม ก็เลิกทำสิ เราเคยเลิกไปหลายครั้งแล้วค่ะ กับการปฏิบัติเนี่ย ท้อไปก็มาก ล้มไปก็หลายครั้ง แต่สุดท้ายก็เหมือนจะมีอะไรดลบันดาลให้กลับไปปฏิบัติได้ตลอด
ค่ะ แต่จะต่อเนื่องหรือไม่ต่อเนื่องก็ขึ้นอยู่กับตัวเองทั้งนั้น
เราเคยลองหนีการปฏิบัติมาหลายครั้ง
นะคะ การปฏิบัติของเรา ณ.ที่นี้ หมายถึงการสวดมนต์ สร้างความดี ถือศีลควบคู่
เราชอบปฏิบัติค่ะ ยังไม่ทราบผลที่แท้จริงเหมือนกันว่าชอบไปทำไม แต่ปฏิบัติแล้วรู้สึกเลิกไม่ได้ค่ะ ช่วงนี้เองเราไม่ได้ปฏิบัติมา 1-2 เดือนแล้ว แล้วเรารู้สึกไม่ชินเลยค่ะ รู้สึกเหมือนชีวิตขาดอะไรไปสักอย่าง เหมือนเราลืมอะไรสักอย่าง
ไม่ปฏิบัติไม่ใช่ว่ามีความสุขนะคะ ไม่แม้แต่น้อย
เราเคยคิดนะ ทำไมชีวิตเราไม่เหมือนเด็กคนอื่น ถ้าเป็นวัยประมานนี้ ส่วนใหญ่ก็ต้อง ออกไปเที่ยว ออกไปเล่น มีชีวิตในแบบของเขา แต่เราคือไม่เลยค่ะ เราชอบอยู่บ้าน ชอบปฏิบัติธรรม สวดมนต์ไหว้พระ
เราเชื่อโลกหลังความตาย แต่ไม่ได้งมงายขนาดนั้นนะคะ เราเชื่อผลของการกระทำ เชื่อมั่นในตัวเอง ทำนองนี้ซะมากกว่าเชื่อมั่นในความดี เรื่องพวกนี้เป็นอะไรที่เราศรัทธา เป็นอะไรที่เราเชื่อ และเราชอบทำความดีค่ะ แต่อย่างที่เราอธิบายไปในตอนต้น ว่าเราชอบไปกลัวชอบไปคิดเยอะ เราเองก็ไม่รู้จะแก้ไขยังไงดี
มีรุ่นพี่เราที่สนิทคนนึง
พี่เขาก็บอกนะคะ ว่าใจต้องเด็ดเดี่ยว มั่นคงเข้าใว้ อย่าไปกลัว
เราอ่านเรารู้นะคะ ว่าต้องทำยังไง แต่พอถึงเวลาจริงๆ แทนที่จะหายกลัว ก็ดันกลัวเหมือนเดิมอีก ไม่มีประโยชน์เลยค่ะ
เลยไม่รู้ต้องแก้ยังไงดี เราจนปัญญามากค่ะ
ไม่อยากให้การปฏิบัติต้องล้มเลิกไปเลย
ฮือออออ
คคห. จขกท.7-1 อีก
ตอน
สวดมนต์คือเป็นแน่ๆค่ะตามที่เคยได้บอกเลย ส่วนตอนนั่งสมาธิก็มีบ้าง
นะคะ ยิ่งวันไหนสวดมนต์จิตอยู่กับบทสวดแบบมีสติมากๆ และไม่ฟุ้งซ่านจะเป็นค่ะ คือ
เวลานั่งสมาธิบางทีจะรู้สึกเย็นตามลำตัวและขนลุกตลอดการนั่งค่ะ อันนี้เป็นบ่อย จะเย็นยะเยือกมากค่ะ เย็นบริเวณแขนบ้าง เท้าบ้าง หลังบ้าง เย็นบ่อยค่ะ เย็นมาก แล้วบางทีก็จะขนลุกซู่
ด้วยค่ะ แต่ไม่ถึงขั้นว่าได้ยินเสียง หรืออะไรที่หนักกว่านี้ แต่บางที
นั่งสมาธิเห็นภาพขึ้นมากี่มี
ค่ะ แต่น้อย เพราะกว่าจิตเราจะไปถึงขั้นนั้นได้ก็ไม่ง่ายค่ะ อิอิ
คคห.จขทก. 11-1 อีก
สาธุนะคะ คุณเจ้าของเมนต์ เราเคยฝึกทั้งสองอย่างเลยค่ะ เกี่ยวกับการนั่งสมาธิ หรือฝึกตัวเอง
แบบที่ 1. ที่คุณเจ้าของเมนต์บอกว่า ฝึกเรื่องอารมณ์ เราเคยฝึกค่ะ โดยการที่เราอ่านธรรมะ แล้วนำมาปรับใช้กับตนเอง เช่นเราโกรธง่าย เราจะพยายามนิ่งและมองลึกๆค่ะ ว่าหากโกรธไป จะเกิดผลอะไรตามมา และอีกหลายเรื่องค่ะที่เราฝึกตัวเอง จนมีช่วงนึงเรานิ่งมากๆ แล้วก็กลับมาเหมือนเดิม เพราะไม่ได้ทำต่อเนื่อง
แบบที่ 2 เรานั่งสมาธิเพื่อดูการหายใจของตัวเราเอง มีสติอยู่กับการหายใจ เข้าและออกค่ะ บางทีเรานั่งไปก็นั่งภาวนา พุธโธๆ หรือบางที
นั่งไปก็จะนึกถึงความดีที่ตัวเราได้ทำ
ค่ะ จนเรา
นิ่งขึ้นมาก
บางทีก็จะนึกถึงคำสอนครูบาอาจารย์ต่างๆในขณะนั่งด้วยค่ะ เพื่อทบทวนไปในตัว
มีครั้งนึงที่เรานั่งสมาธิแล้ว
นึกถึงความดี
จนเราอยู่ดีๆก็ร้องให้ออกมาเลยค่ะ
ไม่ทราบเช่นกันว่าเป็นเพราะอะไร
https://pantip.com/topic/40943416
(ตอบที่นั่นไม่ได้)
ขออนุโมทนาในกุศลจิตกุศลเจตนาของน้องด้วย สภาวะที่เกิดตามที่เล่านั่นเป็นลักษณะของสมาธิ ของปีติ ของปัสสัทธิ
(พี่เองขณะที่อ่าน กท. ลักษณะนี้ จะขนลุกตามหลัง ตามขา ตามหน้า น้ำตาซึมๆ รู้สึกเย็นยะเยือกบางครั้งถึงสั่นสะท้าน ซึ่งมันเป็นอาการของสมาธิ ปีติ ปัสสัทธิเป็นต้นนี่แหละ ปัจจุบันน้อยแล้ว สภาวะเหล่านี้จะต้องกำหนดให้ผ่าน)
ไม่มีอะไรน่ากลัว แต่ความกลัว (จิต) มันเป็นอุปาทานขันธ์ ซึ่งเรายังละไม่ได้ จะต้องค่อยๆเรียนรู้จากการปฏิบัติทำนองนี้เรื่อยๆไป
เราอยากทราบถึงพี่ๆหรือเพื่อนๆ ที่ปฏิบัติกันมาได้นานๆอ่ะค่ะ ว่า
เวลาเจอสถานการณ์แบบนี้ จัดการกับความคิดยังไง แล้วรับมือยังไงกันบ้าง
ไม่รู้ จขกท.จะบังเอิญเห็นหรือเปล่า แต่ก็ตอบให้ไว้สำหรับผู้ปฏิบัติทางจิตจริงๆ ก็คือ
กำหนดจิต
ครับ ตามแนวสติปัฏฐานสั้นๆ
๑.
กาย
<=> ร่างกายเคลื่อนไหว ทำนั่นทำนี่ สติ สัมปชัญญะตามทันทุกการกระทำ
๒.
เวทนา
<=> สุขหนอ , ทุกข์หนอ เฉยหนอๆ
๓.
จิต
<= => รู้สึกกลัวปุ๊บ ให้ว่าในใจ (กำหนด) ปั๊บ กลัวหนอๆๆๆๆ ปักความรู้สึก (จิต) ตรงหัวใจ กลัวหนอๆๆๆๆ
(๔-๕ ครั้ง แล้วปล่อย เราทำอะไรอยู่ก็เบนความคิดมาจับอยู่ที่งานนั้นเรื่องนั้นสะ คิดกลัวขึ้นมาอีก ให้กำหนดอีกทำนองเดียวกัน)
๔.
ธรรม
<=> ฟุ้งซ่านหนอๆๆๆๆ
ทางกาย
เช่น รู้สึกขนลุกเป็นต้น ก็ให้กำหนดตามอาการ ตย. เช่น ขนลุกหนอๆๆๆ รู้สึกเย็นยะเยือกเหมือนอยู่ท่ามกลางหิมะ ให้กำหนดคือว่าในใจ รู้หนอๆๆๆ ก็ได้ (คือ รู้ว่ามันเป็นยังงั้น) เย็นหนอๆๆๆ ก็ได้
สรุปก็คือเป็นยังไง กำหนดยังงั้น รู้สึกยังไง กำหนดยังงั้น ตรงๆ ไม่เลี่ยงหนีสภาวธรรม
มีเวลาค่อยๆอ่านทำความเข้าใจเรื่องสติปัฏฐานที่
https://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=samathijit&month=04-2021&date=26&group=14&gblog=8
ที่พูดนี่จริงแท้
พูดกับทำนั่นต่างกัน เหมือนนักมวย กับ คนเชียร์อยู่ขอบเวที เขาปราถนาดีอยากให้เราชนะ เราก็อยากชนะ แต่ไม่รู้จะเอายังไง เพราะโดนทั้งเข่าโดนทั้งศอกจนหูอื้อตาลายดาวเต็มไปหมด
มีรุ่นพี่เราที่สนิทคนนึง
พี่เขาก็บอกนะคะ ว่าใจต้องเด็ดเดี่ยว มั่นคงเข้าใว้ อย่าไปกลัว
เราอ่านเรารู้นะคะ ว่าต้องทำยังไง แต่พอถึงเวลาจริงๆ แทนที่จะหายกลัว ก็ดันกลัวเหมือนเดิมอีก ไม่มีประโยชน์เลยค่ะ
เทียบตัวอย่างนี้
นี่เขาใช้หลักพุทโธ ทั้งกล่าวอ้างสติปัฏฐาน ๔ ด้วย ยังเอาไม่อยู่ ดังว่านั่นเป็นหลักสำหรับใช้ปฏิบัติ ส่วนสภาวะเป็นธรรมชาติ ลองดู
ผมก็
นั่งตามลมหายใจพุทโธ
ไป
วันแรกๆ ก็ไม่เป็นอะไร พอ
วันที่สามนั่งไปซักพักประมาณสิบนาที
เริ่มมีอาการ
เหวี่ยงแบบเหวี่ยงหมุนจน เวียนหัว
จึง
นั่งต่อไม่ได้ลืมตาขึ้น
มานั่งดูพระรูปอื่น
เป็นอย่างนี้อยู่เกือบตลอด กลับมาที่กุฏิก่อนจะจำวัดก็นั่งก็เป็นอีก
จนมาถามพระพี่เลี้ยงท่านบอกเหมือนจิตกำลังจะได้เข้าสู่ความสงบให้ผ่านจุดนี้ไปให้ได้ แต่มันก็ได้แบบแปปๆแล้วก็หมุนอีกหมุนอีก
จนลาสิกขามาก็เริ่มมาหาอ่านเอง จนได้อ่าน
บันทึกกรรมฐานของเจ้าพระคุณสมเด็จพระสังฆราช
ให้พิจารณา
กาย เวทนา จิต ธรรม
คราวนี้ก็ทำตามหนังสือ
หายใจตอนแรกก็ยาว ก็ตามไปซักพัก
เริ่มพิจารณาตามสติปัฐฐาน คราวนี้
หมุนเร็ว
เลยหมุนแรงมากจน
รู้สึกจะอาเจียน
เลย
ผมก็พิจารณาว่าเป็น
ทุกขเวทนา ก็ดีขึ้นแปป
ก็
หมุนอีก
เรื่อยๆ จนตอนนี้ยังแก้ไม่ได้เลยครับ ไม่รู้ว่าจะทำยังไง ล่าสุดเมื่อคืนหมุนจน
จะอ้วกจนถอนสมาธิ
ออกมา ยังมีอาการเวียนหัวจะอ้วกมาอีกซัก
สิบห้านาที
ค่อยดีขึ้น
คำถามครับ
1. ผมควรแก้ปัญหานี้ยังไงดี ฝืนนั่งไปเรื่อยๆจนหายหรือต้อง
กำหนดอะไรยังไง
2. จุดมุ่งหมายจริงๆ คือวิปัสสนากรรมฐานคืออะไรครับ
ไม่ได้โอ้อวดว่าตัวเองเก่งนะครับ พอดีผม
เรียนแพทย์เลยเข้าใจพวกสรีระร่างกายมนุษย์
อยู่แล้ว เมื่อ
มาเรียนรู้ทางธรรมพิจารณาตามขันธ์ 5 ก็เข้าใจว่ามันไม่ได้มีตัวตนจริงๆของเรา
เหมือนเท่าที่
อ่านการฝึกวิปัสสนา ทำให้เราเข้าใจว่า ทุกอย่างมีเกิด-ดับของมัน เป็นธรรมดา ไม่ให้เรายึดติด
แต่ถ้าผม
อ่านแล้วเข้าใจแล้วจะทำไปเพื่ออะไร
หรือว่าให้
จิต
เราแข็งแกร่ง จะได้
มีสติ
รู้เท่าทันทุกการกระทำ
หลังสึกออกมาทุกวันนี้
เวลาจะโกรธใครก็เหมือนมี
สติมาห้าม
ทัน แต่ก็ยังมีหลุดบ้าง ซึ่งก่อนหน้านี้จะตอบโต้แทบจะทันทีเพราะเป็นคนใจร้อน
ที่ว่า อารมณ์ที่เกิดจากจิตที่เป็นสมาธิแล้ว แต่มันยังไม่สมบูรณ์เต็มร้อย
ต้องฝึกหัดพัฒนาจิตต่อไปอีก ก็ทำดังเคยทำว่าสวดมนต์นั่น แม้ในชีวิตประจำวัน ขณะนั้นๆทำงานทำการอะไร เช่น อ่านหนังสือ เขียนหนังสือ ทำงานบ้าน กินข้าว อาบน้ำล้างหน้าแปรงฟัน เดิน-วิ่งออกกำลังกาย ใช้เป็นอารมณ์ของจิต หรือจะเรียกว่าใช้เจริญสมาธิแล้วจะแต่จะพูด เป็นกายานุปัสสนาสติปัฏฐานทั้งเพ
ประเด็นนี้ก็นำไปตั้งกระทู้ได้
โดยกับเทียบอนุสติ ๑๐
หรือบางที
นั่งไปก็จะ
นึกถึงความดีที่ตัวเราได้ทำ
ค่ะ จนเรา
นิ่งขึ้นมาก
บางทีก็จะนึกถึงคำสอนครูบาอาจารย์ต่างๆในขณะนั่งด้วยค่ะ เพื่อทบทวนไปในตัว มีครั้งนึงที่เรานั่งสมาธิแล้ว
นึกถึงความดี
จนเราอยู่ดีๆก็ร้องให้ออกมาเลยค่ะ ไม่ทราบเช่นกันว่าเป็นเพราะอะไร
ของเขานี่
ก็แยกไปกระทู้ได้
ความรู้แบบปริยัติ กับ ความรู้แบบปฏิบัติ ต่างกันเห็นชัดเลย
ไม่ได้โอ้อวดว่าตัวเองเก่งนะครับ พอดีผม
เรียนแพทย์เลยเข้าใจพวกสรีระร่างกายมนุษย์
อยู่แล้ว
เมื่อ
มาเรียนรู้ทางธรรมพิจารณาตามขันธ์ 5 ก็เข้าใจว่ามันไม่ได้มีตัวตนจริงๆของเรา
เหมือน
เท่าที่
อ่านการฝึกวิปัสสนา ทำให้เราเข้าใจว่า ทุกอย่างมีเกิด-ดับของมัน เป็นธรรมดา ไม่ให้เรายึดติด
แต่
ถ้าผมอ่านแล้วเข้าใจแล้วจะทำไปเพื่ออะไร
Create Date : 30 สิงหาคม 2564
Last Update : 1 กันยายน 2564 18:24:44 น.
0 comments
Counter : 1707 Pageviews.
Share
Tweet
ชื่อ :
* blog นี้ comment ได้เฉพาะสมาชิก
Comment :
*ส่วน comment ไม่สามารถใช้ javascript และ style sheet
สมาชิกหมายเลข 6393385
Location :
[ดู Profile ทั้งหมด]
ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
ผู้ติดตามบล็อก : 9 คน [
?
]
Webmaster - BlogGang
[Add สมาชิกหมายเลข 6393385's blog to your web]
Bloggang.com