กรรมเก่า คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ.เป็นเจ้าบทบาทเดิม จากนั้น การศึกษาอาศัยปรโตโฆสะ ซึ่งมีคติว่า "คนเป็นไปตามสภาพแวดล้อมที่ปรุงปั้น" และโยนิโสมนสิการ ซึ่งมีคติย้อนกลับว่า "ถ้าเป็นคนรู้จักคิด แม้แต่ฟังคนบ้าคนเมาพูด ก็อาจสำเร็จเป็นพระอรหันต์"
บุญ
ข้อธรรมะที่ถาม,ถกเถียงกันบ่อย
หลักปฏิบัติ
สภาวธรรม
ปฏิบัติธรรมให้ถูกทาง
ผู้ พิ พ า ก ษ า ตั้ ง ตุ ลา ใ ห้ สั ง ค ม ส ม ดุ ล
คติธรรมสั้นๆ
ภาษาธรรมวันละคำ
รู้เขา รู้เรา
คำพูดของคนใกล้สิ้นลม
ความเป็นมาของการบวช
การทำวัตรสวดมนต์
ทำยังไงจึงจะมีอายุยืนและมีความสุข
นิพพาน-อนัตตา ฉบับเพียงเพื่อไม่ประมาท
พลังดันคน
ที่ทำงานของจิต
บรรลุธรรมอะไร?
พุทธปรัชญาในสุตตันตปิฎก
ธัมมาธิบาย
สวดมนต์
ค ว า ม จ น เ ป็ น ทุ ก ข์ ใ น โ ล ก
เรียนบาลีเพื่อรักษาพุทธพจน์
ศีล-ธรรมไม่มาโลกาจะพินาศ
หลักธรรมสำหรับผู้ยังไม่นับถือศาสนาใดๆ
วันแห่งความรัก.
ก่อนศึกษาพุทธธรรม
ภาค ๑. มัชเฌนธรรมเทศนา
ภาค ๒. มัชฌิมาปฏิปทา
ภาค ๓. อารยธรรมวิถี
วัฒนธรรมประเพณีก็สำคัญ
เมษายน 2564
>>
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
24 เมษายน 2564
ประสบการณ์ชีวิตเยอะ ธรรมารมณ์ก็เยอะ
มือ ลูกกะตา ปาก ขา ทั้งร่างกาย เคลื่อนไหวเอง
กำหนดรู้ตามที่มันเป็น
วิธีแผ่เมตตาจิต
สงสัยอาการตอนนั่งสมาธิ
จิตเดินทาง
สภาวะเกิดแล้วกลัว
นั่งสมาธิแล้วเหมือนโดนไฟช็อต
นั่งสมาธิจงกรมแล้วอารมณ์ยังเหวี่ยงง่าย
เป็นกิเลส ไม่ใช่ฤทธิ์
จิต
สภาวะของมัน
เจตนา เป็นตัวกรรม
ประสบการณ์จากการฝึกสมาธิ
วิปัสสนูปกิเลส
ฝึกเป็นอริยบุคคล
หลักพระอรหันต์แท้ๆ
มีเสียงพูดเสียงสอน
ออกจากสมาธิแล้วคิดอะไรไม่ออก
จิตก็ต้องมีอาหารกิน
ถูกนักมายากลหลอก
สภาวะปีติ
ประสบไตรลักษณ์อย่างไม่รู้เท่าทัน กลับทำให้เกิดทุกข์
สภาวะทางกาย
นี่ใช้พุท-โธ
ใช้สอบอารมณ์ตนเองได้
ถูกทางแต่ยังไม่สุดทาง
กำลังเดินทาง
ปักธง
ติดสุข
สวดมนต์ เจอกิเลสมาร
ปฎิบัติธรรมเอง แล้วทุกอย่างเปลี่ยนไปเพราะอะไร
มิจฉาปฏิปทา
ไม่ใช่ทาง
แค่แสงสว่าง ก็หลงก็ติดกันแล้ว
แปะไว้ก่อน
สภาวะที่เกิดจากการนั่งสมาธิ
เหมือนมีประจุไฟฟ้าแล่นไปตามขา
คิดฟุ้งซ่านมาก ตอนนั่งสมาธิ แก้ไขอย่างไร
โอภาส แสงสว่าง
พอจิตเริ่มๆมีสมาธิ เอาล่ะทีนี้
แทนที่จะดี กลายเป็นเสียงของ
ต่อจากวิปัสสะนึก
วิปัสสะนึก ไม่ใช่วิปัสสนา
อารมณ์สมถะ - วิปัสสนา
ลมหายใจหาย ไปไม่เป็น
นั่งสมาธิแล้วเหมือนมีแมลงไต่
รู้ตามที่มันเป็น
วิธีล้างเจ้ากรรมนายเวรออก
วิบเดียว
วิบ วิบ
ปฏิบัติเพื่อให้รู้เข้าใจชีวิต
ธรรมะไม่ถูกใจคน
ถามเกี่ยวกับการนั่งสมาธิค่ะ
ธัมมะธัมโมโฮ่กันอยู่ได้
ปฏิบัติแบบนี้ก็พอได้
กำหนดเพื่อให้รู้เห็นชัด
เสียงจากการนั่งสมาธิ
ตัวอย่างเทียบ กท. ล่าง
คำถามเรื่องสมาธิ
ขณะหลงไม่รู้ ขณะโกรธไม่รู้ ดับแล้วจึงรู้
ได้ยินเสียงนั่นนี่โน่นขณะนั่งสมาธิ-สวดมนต์
รู้จัก อานะ+อาปานะ+สติ
ปฏิบัติต้องลงมือทำ
ถามเจ็บ
100 ทั้ง 100
ทำ = ภาวนา. ภาวนา=ทำ. ทำ=ปฏิบัติ
ไม่ต้องตามหา เดี๋ยวมาเอง
ไม่รู้จะตั้งชื่ออะไร ดูเอง
เทียบนั่งสมาธิกับการบำเพ็ญบารมีสิบ
เห็น เกิด ดับ
ผู้ปฏิบัติแท้จะไม่หวั่นนิมิตใดๆ ทั้งทางกาย ทางใจ
อารมณ์ที่เกิดจากจิตซึ่งเป็นสมาธิแล้ว
เห็นสัจธรรมแล้วทุกข์จะคลายโดยอัตโนมัติ
หากต้องการเข้าถึงความจริง มนุษย์ต้องเข้าใจตัวเขาเอง
ขณะจิตที่บรรลุมรรคผล
ถึงอารมณ์เบื่อทุกอย่าง
ชอบถามธรรมะระดับแก่นกัน
นั่งสมาธิแล้วตัวหาย
มีใครนั่งสมาธิแล้วเพี้ยน เป็นบ้าบ้าง
จิตร้องเพลง มีเสียงพูดเสียงสอน
ถามเกี่ยวกับสภาวะจากนั่งสมาธิ
กิเลสต้องเห็นชัดด้วยปัญญา
เขาใช้ พอง-ยุบ
ประสบการณ์ชีวิตเยอะ ธรรมารมณ์ก็เยอะ
สมาธิล้ำองค์ธรรมอื่น
อย่าฝืน อย่าต้านสภาวธรรม
ทำสมาธิแล้วเกิดสภาวะทางกาย
ผู้ปฏิบัติดู Blog นี้แล้ว ดู Blog ภาคปฏิบัติด้วย
ทำสมาธิแล้วได้ยินเสียงสวดมนต์
นี่เขาใช้ หนอ
นี่ไม่ใช้คำภาวนาใดๆ
คำภาวนาใดๆ ไม่ใช่สาระ
ดูลมเข้า-ออก
แยก สมมุติ กับ สภาวธรรม ให้ชัด
เขาใช้พุทโธ
สภาวธรรม หมายถึง
ประสบการณ์ชีวิตเยอะ ธรรมารมณ์ก็เยอะ
ถาม
นั่งสมาธิแล้วมีภาพเจ้ากรรมนายเวรลอยมาให้เห็นครับ
เวลาผมนั่งสมาธิ พอภาวนาไปซักพัก เริ่มตัดภาวนาไปแล้วทีนี้ก็จะเกิดอาการขนลุกเย็นทั้งตัว แล้วหลังจากนั้นก็จะมีภาพ คน สัตว์ แมลง ที่เราเคยทำร้ายเคยทำให้เค้าตาย หรือเจ็บลอยมาให้เห็น คือ แปลกใจว่า บางเรื่องเป็นเรื่องที่นานมากบางเรื่องเป็นเรื่องสมัยเด็กๆอยู่ด้วยซ้ำ ซึ่งบางทีนึกถึงยังนึกไม่ออกเลย เพราะนานมาก แต่พอมานั่งสมาธิ ก็ลอยมาให้เห็นเฉยเลย.
การใช้ชีวิตของคนเราต่างกัน ประสบการณ์ทางตา ทางหู ฯลฯ ทางกาย แล้วไปรวมที่ใจ ความชอบใจ ไม่ชอบใจ เฉยๆ อ่อนแรงเข้มแล้วแต่คนๆ ใจที่คิด กิจที่ทำ คำที่พูด ก็สุมๆทับถมกันอยู่ในจิตใจเป็นอนุสัย ยามใช้ชีวิตปกติเหมือนไม่มีอะไร (อารมณ์ใหม่บังอารมณ์เก่าซ้อนๆๆ) แต่พอวันหนึ่งเราต้องการใช้จิตที่สุขุมขึ้นมา ตอนนี้แหละประสบการณ์เก่าๆที่สั่งสมไว้ก็พรั่งพรูมากวนใจ เมื่อไม่มีวิธีปฏิบัติก็ติดตันอยู่กับธรรมารมณ์นั้น นึกแล้วก็เสียใจ หากมีสัมมาปฏิบัติ คือ กำหนดธรรมารมณ์นั้นไม่จมแช่อยู่กับมัน ก็ผ่านไปได้.
เทียบพุทธพจน์นี้
ตัดมาหน่อย
"อนึ่ง เธอย่อม
ไม่มีความขัดใจ
เพราะ
ทุกขเวทนา
นั้น เมื่อไม่มีความขัดใจเพราะทุกขเวทนานั้น
ปฏิฆานุสัย
เพราะทุกขเวทนานั้น ย่อมไม่นอนเนื่อง เธอถูกทุกขเวทนากระทบ ก็ไม่หันเข้าระเริงกับกามสุข เพราะอะไร ? เพราะอริยสาวกผู้เรียนรู้แล้ว ย่อมรู้ทางออกจากทุกขเวทนา นอกจากกามสุขไปอีก เมื่อเธอไม่ระเริงกับกามสุข
ราคานุสัย
เพราะสุขเวทนานั้นก็ไม่นอนเนื่อง เธอย่อมรู้เท่าทันความเกิดขึ้น ความสูญสลาย
ข้อดี ข้อเสีย
และ
ทางออกของเวทนา
เหล่านั้นตามที่มันเป็น เมื่อเธอรู้ ... ตามที่มันเป็น
อวิชชานุสัย
เพราะอทุกขมสุขเวทนา ก็ไม่นอนเนื่อง
"ถ้าเสวยสุขเวทนา เธอก็เสวยอย่างไม่ถูกมัดตัว ถ้าเสวยทุกขเวทนา เธอก็เสวยอย่างไม่ถูกมัดตัว ถ้าเสวยอทุกขมสุขเวทนา เธอก็เสวยอย่างไม่ถูกมัดตัว ภิกษุทั้งหลาย นี้เรียกว่า อริยสาวก ผู้ได้เรียนรู้ ผู้ปราศจากชาติ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส และอุปายาส เราเรียกว่า ผู้ปราศจากทุกข์"
"ภิกษุทั้งหลาย นี้แลเป็นความพิเศษ เป็นความแปลก เป็นข้อแตกต่าง ระหว่างอริยสาวกผู้ได้เรียนรู้ กับ ปุถุชนผู้มิได้เรียนรู้"
(สํ.สฬ.18/369-372/257-260)
Create Date : 24 เมษายน 2564
Last Update : 30 พฤศจิกายน 2566 13:26:17 น.
0 comments
Counter : 485 Pageviews.
Share
Tweet
ชื่อ :
* blog นี้ comment ได้เฉพาะสมาชิก
Comment :
*ส่วน comment ไม่สามารถใช้ javascript และ style sheet
BlogGang Popular Award#19
สมาชิกหมายเลข 6393385
Location :
[ดู Profile ทั้งหมด]
ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
ผู้ติดตามบล็อก : 9 คน [
?
]
Webmaster - BlogGang
[Add สมาชิกหมายเลข 6393385's blog to your web]
Bloggang.com