กรรมเก่า คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ(สํ.สฬ.18/217/166) เป็นเจ้าบทบาทเดิม จากนั้น การศึกษาอาศัยปรโตโฆสะซึ่งมีคติว่า "คนเป็นไปตามสภาพแวดล้อมที่ปรุงปั้น" และโยนิโสมนสิการ ซึ่งมีคติย้อนกลับว่า"ถ้าเป็นคนรู้จักคิด แม้แต่ฟังคนบ้าคนเมาพูด ก็อาจสำเร็จเป็นพระอรหันต์"
หลักปฏิบัติ
สภาวธรรม
เบญจขันธ์
อายตนะ
ไตรลักษณ์
ปฏิจจสมุปบาท
กรรม
วิชชา วิมุตติ วิสุทธิ สันติ นิพพาน
ผู้บรรลุนิพพาน
หลักบรรลุนิพพาน
มัชฌิมาปฏิปทา
ปรโตโฆสะ
โยนิโสมนสิการ
ปัญญา
ศีล
สมาธิ
อริยสัจ ๔
อารยธรรมวิถี
แรงจูงใจคน
ความสุข ๑
ความสุข ๒
ปฏิบัติธรรมให้ถูกทาง
ผู้พิพากษาตั้งตุลาให้สังคม ฯ
คติธรรมสั้นๆ
ภาษาธรรมวันละคำ
เรื่องเหนือสามัญวิสัย
รู้เขา รู้เรา
คำพูดของคนใกล้สิ้นลม
ความเป็นมาของการบวช
การทำวัตรสวดมนต์
ทำยังไงจึงจะมีอายุยืนและมีความสุข
นิพพาน-อนัตตา ฉบับเพียงเพื่อไม่ประมาท
มาฆบูชา กับ วาเลนไทน์
แรงดันคน
ที่ทำงานของจิต
บรรลุธรรมอะไร?
พุทธปรัชญาในสุตตันตปิฎก
ธัมมาธิบาย
สวดมนต์
ความจนเป็นทุกข์ในโลก
เมษายน 2564
>>
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
27 เมษายน 2564
ถามเกี่ยวกับสภาวะจากนั่งสมาธิ
กิเลสต้องเห็นชัดด้วยปัญญาจึงละได้
ธัมมะธัมโมโฮ่กันอยู่ได้
ปฏิบัติแบบนี้ก็พอได้
กำหนดเพื่อให้รู้เห็นชัด
เสียงจากการนั่งสมาธิ
ตัวอย่างเทียบ กท. ล่าง
คำถามเรื่องสมาธิ
ขณะหลงไม่รู้ ขณะโกรธไม่รู้ ดับแล้วจึงรู้
ได้ยินเสียงนั่นนี่โน่นขณะนั่งสมาธิ-สวดมนต์
Hi อานาปานะ
ปฏิบัติต้องลงมือทำ
ถามเจ็บ
100 ทั้ง 100
ทำ = ภาวนา. ภาวนา=ทำ. ทำ=ปฏิบัติ
ไม่ต้องตามหา เดี๋ยวมาเอง
ไม่รู้จะตั้งชื่ออะไร ดูเอง
เทียบนั่งสมาธิกับการบำเพ็ญบารมีสิบ
เห็น เกิด ดับ
ผู้ปฏิบัติแท้จะไม่หวั่นนิมิตใดๆทั้งทางกายทางใจ
อารมณ์ที่เกิดจากจิตซึ่งเป็นสมาธิแล้ว
เห็นสัจธรรมแล้วทุกข์คลายเองโดยอัตโนมัติ
หากต้องการเข้าถึงความจริง มนุษย์ต้องเข้าใจตัวเขาเอง
ขณะจิตที่บรรลุมรรคผล
ถึงอารมณ์เบื่อทุกอย่าง
เขาถามกันว่า
หายไปทั้งตัว
มีใครนั่งสมาธิแล้วเพี้ยน เป็นบ้าบ้าง
จิตร้องเพลง มีเสียงพูดเสียงสอน
ถามเกี่ยวกับสภาวะจากนั่งสมาธิ
กิเลสต้องเห็นชัดด้วยปัญญาจึงละได้
ใช้ หนอ
ประสบการณ์ชีวิตเยอะ ธรรมารมณ์ก็เยอะ
สมาธิล้ำองค์ธรรมอื่น
อย่าฝืน อย่าต้านสภาวธรรม
ทำสมาธิแล้วเกิดสภาวะทางกาย
ผู้ปฏิบัติดู Blog นี้แล้ว ดู Blog ภาคปฏิบัติด้วย
ทำสมาธิแล้วได้ยินเสียงสวดมนต์
นี่เขาใช้ หนอ
นี่ไม่ใช้คำภาวนาใดๆ
คำภาวนาใดๆ ไม่ใช่สาระ
ดูลมเข้า-ออก
แยก สมมุติ กับ สภาวธรรม ให้ชัด
ใช้พุทโธ.
สภาวธรรม หมายถึง
กิเลสต้องเห็นชัดด้วยปัญญาจึงละได้
มีพุทธพจน์ว่า
“ภิกษุทั้งหลาย
ธรรม
ที่พึงละด้วยกาย มิใช่ด้วยวาจา ก็มี
ธรรม
ที่พึงละด้วยวาจา มิใช่ด้วยกาย ก็มี
ธรรม
ที่พึงละมิใช่ด้วยกาย มิใช่ด้วยวาจา
ต้องเห็นชัดด้วยปัญญาจึงละได้
ก็มี”
“ธรรมที่พึงละด้วยกาย มิใช่ด้วยวาจา เป็นไฉน? คือ ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เป็นผู้ถึงความละเมิดอันเป็น
อกุศล
บางส่วนด้วยกาย เพื่อนพรหมจารีผู้เป็น
วิญญู
ใคร่ครวญแล้ว กล่าวกะเธออย่างนี้ว่า ท่านผู้มีอายุถึงความละเมิดอันเป็นอกุศลบางส่วนด้วยกาย จะเป็นการดีแท้ ที่ท่านผู้มีอายุได้โปรดละกายทุจริต จงบำเพ็ญกายสุจริตเถิด เธอถูกเพื่อนพรหมจารีผู้เป็นวิญญูใคร่ครวญแล้ว ว่ากล่าวอยู่ จึงละกายทุจริต บำเพ็ญกายสุจริต นี่เรียกว่า ธรรมที่พึงละด้วยกาย มิใช่ละด้วยวาจา”
“ธรรมที่พึงละด้วยวาจา มิใช่ด้วยกายเป็นไฉน? คือ ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เป็นผู้ถึงความละเมิดอันเป็น
อกุศล
บางส่วนด้วยวาจา เพื่อนพรหมจารีผู้เป็นวิญญูใคร่ครวญแล้ว กล่าวกะเธออย่างนี้ว่า ท่านผู้มีอายุถึงความละเมิดอันเป็นอกุศลบางส่วนด้วยวาจา จะเป็นการดีแท้ ที่ท่านผู้มีอายุได้โปรดละวจีทุจริต จงบำเพ็ญวจีสุจริตเถิด เธอถูกเพื่อนพรหมจารี ผู้เป็นวิญญูใคร่ครวญแล้ว ว่ากล่าวอยู่ จึงละวจีทุจริต บำเพ็ญวจีสุจริต นี่เรียกว่า ธรรมที่พึงละด้วยวาจา มิใช่ละด้วยกาย”
“ธรรมที่พึงละ มิใช่ด้วยกาย มิใช่ด้วยวาจา ต้องเห็นชัดด้วยปัญญาจึงละได้ เป็นไฉน ? คือ
โลภะ...โทสะ...โมหะ...ความโกรธ...ความผูกโกรธ.
..ความหลบหลู่...ความยกตัวกดเขาไว้...ความตระหนี่
....พึงละมิใช่ด้วยกาย มิใช่ด้วยวาจา
ต้องเห็น
ชัด
ด้วยปัญญา จึงละได้
...”
(อง.ทสก. 24/23/41)
ทางกาย ทางวาจา พออาศัยกัลยาณมิตรบัณฑิตชนชี้แนะได้ แต่ทางใจ ตัวเองต้องเห็นชัดๆเองด้วยปัญญาจึงละมันได้
มี ตย.หนึ่ง
จะทำยังไงให้ไม่คิดแค้นหรือโกรธใครคะ
เราเปนคนนึงที่ไม่ชอบคนพูดจาไม่ดีกับเรา หรือเอาเปรียบเรา คิดแล้วแค้นไม่สบายใจนอนไม่หลับคะ ทำยังไงถึงจะเลิกคิดได้คะ อยากให้อภัยมีหลักคิดยังไงคะ ถ้าเรายังพบเจอคนนั้น ชีวิตยังวนเวียนอยุ่กับเรื่องนั้นๆ มันก้อต้องวนกลับมาคิดใหม่ ช่วยแนะนำหน่อยคะ
https://pantip.com/topic/40668521
คนเราหนีความคิดตัวเองไม่พ้นหรอก เจ้าตัวไปไหนมันก็ไปด้วย จะลุยน้ำ ดำดิน บินไปในอากาศ เข้าถ้ำอยู่คนเดียว ความคิดก็ตามไปทุกที่ อยู่คนเดียวเงียบๆ ก็ยิ่งคิดคิดสนุกเขาล่ะ
หลักปฏิบัติท่านให้เข้าเผชิญหน้ากับมันตรงๆ ไม่ให้หนีมัน พ่ะน่ะเผชิญยังไง
ก็กำหนดจิตตามที่มันคิดไง
เดินๆ อยู่ นั่งๆอยู่ ทำอะไรๆอยู่ มันคิดปุ๊บ กำหนดปั้บ คิดหนอๆๆๆๆๆ
(ปักจิตลงตรงหัวใจใต้ราวนมข้างซ้าย คิดหนอๆๆๆ)
ขณะนั้นทำอะไรอยู่ ก็สนใจงานเฉพาะหน้าไปสะ ใจอยู่กับกิจ จิตอยู่กับสิ่งที่ทำสะ ทำๆไปแว้บมาอีก กำหนดอีก คิดหนอๆๆๆ แค้นหนอๆๆๆ โกรธหนอๆๆๆ. ยังไม่แนะนำให้นั่งดูมันตรงๆเช่นนั่งกรรมฐาน อ้าวทำไมล่ะ ? เพราะความคิดที่เป็นพื้นนิสัยด้วยก็ยิ่งแรง ดูใกล้ไปเอาไม่อยู่ ต้องเล่นวงนอกกับมันก่อน ภาษามวยเรียกว่าไม่เข้าคลุกวงใน เด้งเชือกต่อยเอา
(=จิตตานุปัสสนา) ตามหลักพุทธธรรมก็อย่างที่พระพุทธเจ้าบอกเมื่อสองพันกว่าปีว่า อุปาทานขันธ์ห้า คือทุกข์ (เป็นทุกข์)
ธัมมารมณ์, ธรรมารมณ์
อารมณ์คือธรรม, สิ่งที่ถูกรับรู้ทางใจ, สิ่งที่รู้ด้วยใจ, สิ่งที่ใจรู้สึกนึกคิด
อารมณ์
เครื่องยึดหน่วงของจิต, สิ่งที่จิตยึดหน่วง, สิ่งที่ถูกรู้หรือถูกรับรู้ ได้แก่ อายตนะภายนอก ๖ คือ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์
Create Date : 27 เมษายน 2564
Last Update : 4 กรกฎาคม 2564 7:09:31 น.
0 comments
Counter : 246 Pageviews.
Share
Tweet
ชื่อ :
* blog นี้ comment ได้เฉพาะสมาชิก
Comment :
*ส่วน comment ไม่สามารถใช้ javascript และ style sheet
สมาชิกหมายเลข 6393385
Location :
[ดู Profile ทั้งหมด]
ให้ทิปเจ้าของ Blog
[
?
]
ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
ผู้ติดตามบล็อก : 6 คน [
?
]
Webmaster - BlogGang
[Add สมาชิกหมายเลข 6393385's blog to your web]
Bloggang.com