กรรมเก่า คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ.เป็นเจ้าบทบาทเดิม จากนั้น การศึกษาอาศัยปรโตโฆสะ ซึ่งมีคติว่า "คนเป็นไปตามสภาพแวดล้อมที่ปรุงปั้น" และโยนิโสมนสิการ ซึ่งมีคติย้อนกลับว่า "ถ้าเป็นคนรู้จักคิด แม้แต่ฟังคนบ้าคนเมาพูด ก็อาจสำเร็จเป็นพระอรหันต์"
บุญ
ข้อธรรมะที่ถาม,ถกเถียงกันบ่อย
หลักปฏิบัติ
สภาวธรรม
ชีวิต เป็นอย่างไร.ไตรลักษณ์
ชีวิต เป็นไปอย่างไร.ปฏิจจสมุปบาท
ชีวิตควรให้เป็นอย่างไร.วิชชา,นิพพาน
วิชชา นิพพาน
ปฏิบัติธรรมให้ถูกทาง
ผู้ พิ พ า ก ษ า ตั้ ง ตุ ลา ใ ห้ สั ง ค ม ส ม ดุ ล
คติธรรมสั้นๆ
ภาษาธรรมวันละคำ
รู้เขา รู้เรา
คำพูดของคนใกล้สิ้นลม
ความเป็นมาของการบวช
การทำวัตรสวดมนต์
ทำยังไงจึงจะมีอายุยืนและมีความสุข
นิพพาน-อนัตตา ฉบับเพียงเพื่อไม่ประมาท
พลังดันคน
ที่ทำงานของจิต
บรรลุธรรมอะไร?
พุทธปรัชญาในสุตตันตปิฎก
ธัมมาธิบาย
สวดมนต์
ค ว า ม จ น เ ป็ น ทุ ก ข์ ใ น โ ล ก
เรียนบาลีเพื่อรักษาพุทธพจน์
ศีล-ธรรมไม่มาโลกาจะพินาศ
หลักธรรมสำหรับผู้ยังไม่นับถือศาสนาใดๆ
วันแห่งความรัก.
ชีวิต ควรเป็นอยู่อย่างไร.มัชฌิมาปฎิปทา
ชีวิต ควรเป็นอยู่อย่างไร.ปรโตโฆสะที่ดี
ชีวิต ควรเป็นอยู่อย่างไร.โยนิโสมนสิการ
ชีวิตควรเป็นอย่างไร.ไตรสิกขา
อริยสัจ
ชีวิตที่ดี เป็นอย่างไร.โสดาบัน
ศีลกับเจตนารมณ์ทางสังคม
เรื่องเหนือสามัญวิสัย.
ปัญหาเกี่ยวกับแรงจูงใจ
ความสุข.ฉบับแบบแผน,ประมวลความ
ชีวิต คืออะไร. ขันธ์ ๕
อายตนะ ๖
กรรม
ก่อนศึกษาพุทธธรรม
<<
กรกฏาคม 2564
>>
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
24 กรกฏาคม 2564
ขณะจิตที่บรรลุมรรคผล
เป็นกิเลส ไม่ใช่ฤทธิ์
จิต
สภาวะของมัน
เจตนา เป็นตัวกรรม
ประสบการณ์จากการฝึกสมาธิ
วิปัสสนูปกิเลส
ฝึกเป็นอริยบุคคล
หลักพระอรหันต์แท้ๆ
มีเสียงพูดเสียงสอน
ออกจากสมาธิแล้วคิดอะไรไม่ออก
จิตก็ต้องมีอาหารกิน
ถูกนักมายากลหลอก
สภาวะปีติ
ประสบไตรลักษณ์อย่างไม่รู้เท่าทัน กลับทำให้เกิดทุกข์
สภาวะทางกาย
นี่ใช้พุท-โธ
ใช้สอบอารมณ์ตนเองได้
ถูกทางแต่ยังไม่สุดทาง
กำลังเดินทาง
ปักธง
ติดสุข
สวดมนต์ เจอกิเลสมาร
ปฎิบัติธรรมเอง แล้วทุกอย่างเปลี่ยนไปเพราะอะไร
มิจฉาปฏิปทา
ไม่ใช่ทาง
แค่แสงสว่าง ก็หลงก็ติดกันแล้ว
แปะไว้ก่อน
สภาวะที่เกิดจากการนั่งสมาธิ
เหมือนมีประจุไฟฟ้าแล่นไปตามขา
คิดฟุ้งซ่านมาก ตอนนั่งสมาธิ แก้ไขอย่างไร
โอภาส แสงสว่าง
พอจิตเริ่มๆมีสมาธิ เอาล่ะทีนี้
แทนที่จะดี กลายเป็นเสียงของ
ต่อจากวิปัสสะนึก
วิปัสสะนึก ไม่ใช่วิปัสสนา
อารมณ์สมถะ - วิปัสสนา
ลมหายใจหาย ไปไม่เป็น
นั่งสมาธิแล้วเหมือนมีแมลงไต่
รู้ตามที่มันเป็น
วิธีล้างเจ้ากรรมนายเวรออก
วิบเดียว
วิบ วิบ
ปฏิบัติเพื่อให้รู้เข้าใจชีวิต
ธรรมะไม่ถูกใจคน
ถามเกี่ยวกับการนั่งสมาธิค่ะ
ธัมมะธัมโมโฮ่กันอยู่ได้
ปฏิบัติแบบนี้ก็พอได้
กำหนดเพื่อให้รู้เห็นชัด
เสียงจากการนั่งสมาธิ
ตัวอย่างเทียบ กท. ล่าง
คำถามเรื่องสมาธิ
ขณะหลงไม่รู้ ขณะโกรธไม่รู้ ดับแล้วจึงรู้
ได้ยินเสียงนั่นนี่โน่นขณะนั่งสมาธิ-สวดมนต์
รู้จัก อานะ+อาปานะ+สติ
ปฏิบัติต้องลงมือทำ
ถามเจ็บ
100 ทั้ง 100
ทำ = ภาวนา. ภาวนา=ทำ. ทำ=ปฏิบัติ
ไม่ต้องตามหา เดี๋ยวมาเอง
ไม่รู้จะตั้งชื่ออะไร ดูเอง
เทียบนั่งสมาธิกับการบำเพ็ญบารมีสิบ
เห็น เกิด ดับ
ผู้ปฏิบัติแท้จะไม่หวั่นนิมิตใดๆทั้งทางกายทางใจ
อารมณ์ที่เกิดจากจิตซึ่งเป็นสมาธิแล้ว
เห็นสัจธรรมแล้วทุกข์คลายเองโดยอัตโนมัติ
หากต้องการเข้าถึงความจริง มนุษย์ต้องเข้าใจตัวเขาเอง
ขณะจิตที่บรรลุมรรคผล
ถึงอารมณ์เบื่อทุกอย่าง
เขาถามกันว่า
หายไปทั้งตัว
มีใครนั่งสมาธิแล้วเพี้ยน เป็นบ้าบ้าง
จิตร้องเพลง มีเสียงพูดเสียงสอน
ถามเกี่ยวกับสภาวะจากนั่งสมาธิ
กิเลสต้องเห็นชัดด้วยปัญญาจึงละได้
ใช้ หนอ
ประสบการณ์ชีวิตเยอะ ธรรมารมณ์ก็เยอะ
สมาธิล้ำองค์ธรรมอื่น
อย่าฝืน อย่าต้านสภาวธรรม
ทำสมาธิแล้วเกิดสภาวะทางกาย
ผู้ปฏิบัติดู Blog นี้แล้ว ดู Blog ภาคปฏิบัติด้วย
ทำสมาธิแล้วได้ยินเสียงสวดมนต์
นี่เขาใช้ หนอ
นี่ไม่ใช้คำภาวนาใดๆ
คำภาวนาใดๆ ไม่ใช่สาระ
ดูลมเข้า-ออก
แยก สมมุติ กับ สภาวธรรม ให้ชัด
ใช้พุทโธ.
สภาวธรรม หมายถึง
ขณะจิตที่บรรลุมรรคผล
ขณะจิตที่บรรลุมรรคผล
ตามหลักที่ว่า ใน
ขณะที่บรรลุอริยมรรค แม้แต่ผู้ที่มิได้ฌาน
มาก่อน
จิตก็จะเป็นสมาธิ
ถึง
ขั้นอัปปนา
คือ ถึงระดับฌาน ในเรื่องนี้ สำหรับผู้มีพื้นความรู้ด้านอภิธรรม พึงดูลำดับ
การทำงานของจิตในตอนบรรลุมรรคผล
(
อัปปนาชวนวารแห่งมรรควิถี
)
ของพระวิปัสสนายานิก
(ตามนัยที่ท่านแสดงไว้ใน
อุ.อ.42 สงฺคณี.อ.359 วิสุทธิ.3/316,324 สงฺคห.22)
ดังที่ถอดความออกเป็นแผนผังได้ ดังนี้
กามาวจรชวนะ โลกุตตรอัปปนาชวนะ
(สังขารุฯ =>ภวังค์>) มโนทฯ =>
บริกรรม
=>
อุปจาร
=>
อนุโลม
=>
โคตรภู
=>
มัคคจิต
=>
ผลจิต
=>ภวังค์
1 2 3 4 5 6-7
หรือ= >
อุปจาร
=>
อนุโลม
=>
โคตรภู
=>
มัคคจิต
=>
ผลจิต
=>
(ภวังค์)
1 2 3 4 5-6-7
(สังขารุฯ = สังขารุเบกขาญาณ ซึ่งเป็นวิปัสสนาญาณข้อที่ ๘ มโนทฯ = มโนทวาราวัชชนะ)
ส่วนลำดับจิตของสมถยานิก อาจแสดงคร่าวๆ ได้ดังนี้ (ตอนมรรควิถีเหมือนข้างบน จึงไม่แสดงรายละเอียด)
ภวังค์=> ฌานวิถี => ภวังค์ => วิปัสสนาวิถี => ภวังค์ => มัคควิถี => ภวังค์
(วิปัสสนาวิถีนี้ เป็นการแสดงแบบคลุมๆ ความจริง มีการตกภวังค์ได้แล้วๆเล่าๆ ในระหว่าง)
หลักการที่ว่าจิต
ที่บรรลุมรรคผลต้องเป็นอัปปนาสมาธิ
นี้ เมื่อมองอย่างกว้างๆทำให้เกิดความคิดว่า ความรู้ความเข้าใจ หรือ ความหยั่งรู้หยั่งเห็น ที่จะแจ่มแจ้งชัดเจนและแล่นลึก
ถึง
ขั้น
เปลี่ยนแปลงพื้นจิตของคน
ได้
กำจัดกิเลส เปลี่ยนแปลงบุคลิกภาพ
ได้นั้น จะต้องเป็น
ประสบการณ์ภายใน
ชนิดเต็มทั่วหมดทั้งจิตทั้งใจ หรือ
โพลงทั้งชีวิต
ทีเดียว
แยกออกมาจากหัวข้อใหญ่
https://www.bloggang.com/mainblog.php?id=samathijit&month=11-06-2021&group=22&gblog=1
อัปปนาสมาธิ
สมาธิแน่วแน่, จิตต์ตั้งมั่นสนิท เป็นสมาธิ
อัปปนาภาวนา
ภาวนาขั้นแน่วแน่ คือ ฝึกสมาธิถึงขั้นเป็นอัปปนา
Create Date : 24 กรกฎาคม 2564
Last Update : 24 กรกฎาคม 2564 18:40:04 น.
0 comments
Counter : 575 Pageviews.
Share
Tweet
ชื่อ :
* blog นี้ comment ได้เฉพาะสมาชิก
Comment :
*ส่วน comment ไม่สามารถใช้ javascript และ style sheet
สมาชิกหมายเลข 6393385
Location :
[ดู Profile ทั้งหมด]
ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
ผู้ติดตามบล็อก : 9 คน [
?
]
Webmaster - BlogGang
[Add สมาชิกหมายเลข 6393385's blog to your web]
Bloggang.com