กรรมเก่า คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ.เป็นเจ้าบทบาทเดิม จากนั้น การศึกษาอาศัยปรโตโฆสะ ซึ่งมีคติว่า "คนเป็นไปตามสภาพแวดล้อมที่ปรุงปั้น" และโยนิโสมนสิการ ซึ่งมีคติย้อนกลับว่า "ถ้าเป็นคนรู้จักคิด แม้แต่ฟังคนบ้าคนเมาพูด ก็อาจสำเร็จเป็นพระอรหันต์"
บุญ
ข้อธรรมะที่ถาม,ถกเถียงกันบ่อย
หลักปฏิบัติ
สภาวธรรม
ชีวิต เป็นอย่างไร.ไตรลักษณ์
ชีวิต เป็นไปอย่างไร.ปฏิจจสมุปบาท
ชีวิตควรให้เป็นอย่างไร.วิชชา,นิพพาน
ปฏิบัติธรรมให้ถูกทาง
ผู้ พิ พ า ก ษ า ตั้ ง ตุ ลา ใ ห้ สั ง ค ม ส ม ดุ ล
คติธรรมสั้นๆ
ภาษาธรรมวันละคำ
รู้เขา รู้เรา
คำพูดของคนใกล้สิ้นลม
ความเป็นมาของการบวช
การทำวัตรสวดมนต์
ทำยังไงจึงจะมีอายุยืนและมีความสุข
นิพพาน-อนัตตา ฉบับเพียงเพื่อไม่ประมาท
พลังดันคน
ที่ทำงานของจิต
บรรลุธรรมอะไร?
พุทธปรัชญาในสุตตันตปิฎก
ธัมมาธิบาย
สวดมนต์
ค ว า ม จ น เ ป็ น ทุ ก ข์ ใ น โ ล ก
เรียนบาลีเพื่อรักษาพุทธพจน์
ศีล-ธรรมไม่มาโลกาจะพินาศ
หลักธรรมสำหรับผู้ยังไม่นับถือศาสนาใดๆ
วันแห่งความรัก.
ชีวิต ควรเป็นอยู่อย่างไร.มัชฌิมาปฎิปทา
ชีวิต ควรเป็นอยู่อย่างไร.ปรโตโฆสะที่ดี
ชีวิต ควรเป็นอยู่อย่างไร.โยนิโสมนสิการ
ชีวิตควรเป็นอย่างไร.ไตรสิกขา
อริยสัจ
ชีวิตที่ดี เป็นอย่างไร.โสดาบัน
ศีลกับเจตนารมณ์ทางสังคม
เรื่องเหนือสามัญวิสัย.
ปัญหาเกี่ยวกับแรงจูงใจ
ความสุข.ฉบับแบบแผน,ประมวลความ
ชีวิต คืออะไร. ขันธ์ ๕
อายตนะ ๖
กรรม
ก่อนศึกษาพุทธธรรม
<<
เมษายน 2566
>>
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
18 เมษายน 2566
ปักธง
เป็นกิเลส ไม่ใช่ฤทธิ์
จิต
สภาวะของมัน
เจตนา เป็นตัวกรรม
ประสบการณ์จากการฝึกสมาธิ
วิปัสสนูปกิเลส
ฝึกเป็นอริยบุคคล
หลักพระอรหันต์แท้ๆ
มีเสียงพูดเสียงสอน
ออกจากสมาธิแล้วคิดอะไรไม่ออก
จิตก็ต้องมีอาหารกิน
ถูกนักมายากลหลอก
สภาวะปีติ
ประสบไตรลักษณ์อย่างไม่รู้เท่าทัน กลับทำให้เกิดทุกข์
สภาวะทางกาย
นี่ใช้พุท-โธ
ใช้สอบอารมณ์ตนเองได้
ถูกทางแต่ยังไม่สุดทาง
กำลังเดินทาง
ปักธง
ติดสุข
สวดมนต์ เจอกิเลสมาร
ปฎิบัติธรรมเอง แล้วทุกอย่างเปลี่ยนไปเพราะอะไร
มิจฉาปฏิปทา
ไม่ใช่ทาง
แค่แสงสว่าง ก็หลงก็ติดกันแล้ว
แปะไว้ก่อน
สภาวะที่เกิดจากการนั่งสมาธิ
เหมือนมีประจุไฟฟ้าแล่นไปตามขา
คิดฟุ้งซ่านมาก ตอนนั่งสมาธิ แก้ไขอย่างไร
โอภาส แสงสว่าง
พอจิตเริ่มๆมีสมาธิ เอาล่ะทีนี้
แทนที่จะดี กลายเป็นเสียงของ
ต่อจากวิปัสสะนึก
วิปัสสะนึก ไม่ใช่วิปัสสนา
อารมณ์สมถะ - วิปัสสนา
ลมหายใจหาย ไปไม่เป็น
นั่งสมาธิแล้วเหมือนมีแมลงไต่
รู้ตามที่มันเป็น
วิธีล้างเจ้ากรรมนายเวรออก
วิบเดียว
วิบ วิบ
ปฏิบัติเพื่อให้รู้เข้าใจชีวิต
ธรรมะไม่ถูกใจคน
ถามเกี่ยวกับการนั่งสมาธิค่ะ
ธัมมะธัมโมโฮ่กันอยู่ได้
ปฏิบัติแบบนี้ก็พอได้
กำหนดเพื่อให้รู้เห็นชัด
เสียงจากการนั่งสมาธิ
ตัวอย่างเทียบ กท. ล่าง
คำถามเรื่องสมาธิ
ขณะหลงไม่รู้ ขณะโกรธไม่รู้ ดับแล้วจึงรู้
ได้ยินเสียงนั่นนี่โน่นขณะนั่งสมาธิ-สวดมนต์
รู้จัก อานะ+อาปานะ+สติ
ปฏิบัติต้องลงมือทำ
ถามเจ็บ
100 ทั้ง 100
ทำ = ภาวนา. ภาวนา=ทำ. ทำ=ปฏิบัติ
ไม่ต้องตามหา เดี๋ยวมาเอง
ไม่รู้จะตั้งชื่ออะไร ดูเอง
เทียบนั่งสมาธิกับการบำเพ็ญบารมีสิบ
เห็น เกิด ดับ
ผู้ปฏิบัติแท้จะไม่หวั่นนิมิตใดๆทั้งทางกายทางใจ
อารมณ์ที่เกิดจากจิตซึ่งเป็นสมาธิแล้ว
เห็นสัจธรรมแล้วทุกข์คลายเองโดยอัตโนมัติ
หากต้องการเข้าถึงความจริง มนุษย์ต้องเข้าใจตัวเขาเอง
ขณะจิตที่บรรลุมรรคผล
ถึงอารมณ์เบื่อทุกอย่าง
เขาถามกันว่า
หายไปทั้งตัว
มีใครนั่งสมาธิแล้วเพี้ยน เป็นบ้าบ้าง
จิตร้องเพลง มีเสียงพูดเสียงสอน
ถามเกี่ยวกับสภาวะจากนั่งสมาธิ
กิเลสต้องเห็นชัดด้วยปัญญาจึงละได้
ใช้ หนอ
ประสบการณ์ชีวิตเยอะ ธรรมารมณ์ก็เยอะ
สมาธิล้ำองค์ธรรมอื่น
อย่าฝืน อย่าต้านสภาวธรรม
ทำสมาธิแล้วเกิดสภาวะทางกาย
ผู้ปฏิบัติดู Blog นี้แล้ว ดู Blog ภาคปฏิบัติด้วย
ทำสมาธิแล้วได้ยินเสียงสวดมนต์
นี่เขาใช้ หนอ
นี่ไม่ใช้คำภาวนาใดๆ
คำภาวนาใดๆ ไม่ใช่สาระ
ดูลมเข้า-ออก
แยก สมมุติ กับ สภาวธรรม ให้ชัด
ใช้พุทโธ.
สภาวธรรม หมายถึง
ปักธง
ตัวอย่างที่ตรัสถึงขันธ์ ๕ ตามหลักไตรลักษณ์
"ภิกษุทั้งหลาย
รูป
ไม่เที่ยง (อนิจจัง) เวทนาไม่เที่ยง สัญญาไม่เที่ยง สังขารทั้งหลายไม่เที่ยง วิญญาณไม่เที่ยง...
"ภิกษุทั้งหลาย
รูป
ปัจจัยบีบคั้น
คงสภาพอยู่มิได้
(
ทุกข์
)
เวทนา... สัญญา...สังขารทั้งหลาย...วิญญาณ
ปัจจัยบีบคั้น
คงสภาพอยู่มิได้
"...
"ภิกษุทั้งหลาย
รูป
ไม่เป็นตัวตน (อนัตตา)
เวทนา... สัญญา...สังขาร
ทั้งหลาย...
วิญญาณ
ไม่เป็นตัวตน อริยสาวกผู้ได้เรียนรู้ เมื่อเห็นอยู่อย่างนี้ ย่อมหายติดแม้ในรูป....แม้ในเวทนา....แม้ในสัญญา....แม้ในสังขารทั้งหลาย....แม้ในวิญญาณ เมื่อหายติด
(นิพพิทา)
ย่อมคลายออก
(วิราคะ)
เพราะคลายออก ย่อมหลุดพ้น เมื่อหลุดพ้น ย่อม
มีญาณว่า หลุดพ้นแล้ว ย่อมรู้ชัดว่า สิ้นกำเนิด
จบ
มรรคาชีวิตประเสริฐ
(พรหมจรรย์)
เสร็จกรณีย์
ไม่มีกิจอื่นอีกเพื่อภาวะเช่นนี้
"
(สํ.ข.17/39-41/27)
พอรู้เข้าใจเบญจขันธ์
หรือบรรดาสังขาร ตามหลักไตรลักษณ์อย่างนี้
เห็นความจริงชัดแล้ว
ก็ไม่เกิดเป็นอุปาทานขันธ์ขึ้นมา หรือเลิกเป็นอุปาทานขันธ์ แต่
ตรงข้าม กลายเป็นหลุดพ้นอิสระ
หมดปัญหา สว่างสดใส เบิกบาน ไม่เกิดมีทุกข์อีกต่อไป.
พุทธพจน์นั้นดุจดังแผนที่สำหรับโยคีผู้ปฏิบัติธรรม, ปฏิบัติกรรมฐาน, ภาวนา หรือในชื่ออื่นจากนี้ จะไปปฏิบัติกันยังไง จะทำกันอย่างไรที่เห็นๆพูดๆ (จบกิจบ้าง ข่อยบ่กลับมาเกิดอีกแล้วเด้อบ้าง...) กัน จำต้องเดินทางทางจิตไปให้ถึงจุดยอดนี้
ดูเพิ่มเติมที่
https://www.bloggang.com/mainblog.php?id=samathijit&month=18-04-2023&group=74&gblog=13
ตัวอย่าง blog สภาวธรรมทั้งนั้น โยคีกำลังเดินทางทางจิตกัน ในการเดินทางนั้นมีอุปสรรคมากมาย จะฝ่าไปได้ไหม ยังไงซึ่งก็แล้วแต่บุคคล
เชื่อในพระเจ้าพ้นทุกข์ได้หรือไม่.
อ.ชารีฟ วงศ์เสงี่ยม
https://www.facebook.com/100006481028547/videos/419628387051078/?idorvanity=800582937198178
Create Date : 18 เมษายน 2566
Last Update : 18 เมษายน 2566 20:23:31 น.
0 comments
Counter : 205 Pageviews.
(โหวต blog นี้)
Share
Tweet
ชื่อ :
Comment :
*ใช้ code html ตกแต่งข้อความได้เฉพาะสมาชิก
BlogGang Popular Award#19
สมาชิกหมายเลข 6393385
Location :
[ดู Profile ทั้งหมด]
ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
ผู้ติดตามบล็อก : 9 คน [
?
]
Webmaster - BlogGang
[Add สมาชิกหมายเลข 6393385's blog to your web]
Bloggang.com