|
|
|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 |
8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 |
15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 |
22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 |
29 | 30 | |
|
|
|
|
|
|
|
|
- อันตรายที่ซ่อนอยู่ ต้องเห็นชัดด้วยปัญญาจึงละได้
- นั่งสมาธิแล้วตัวหด
- ง่วงเป็นอุปสรรคในการปฏิบัติธรรม ผ่านไปไม่ได้
- ไม่ใช่มองเห็นการนั่งเป็นสมาธิไป
- บีบกด VS เป็นไปเอง
- ฌาน
- ตัวอย่าง รู้ตามที่เราอยากให้มันเป็น ๒
- ตัวอย่าง รู้ตามที่เราอยากให้มันเป็น ๑
- ใกล้ตายจิตสงบง่าย
- สมถะวิปัสสนายาใจยามเจ็บ
- นั่งสมาธิวันละ 40 นาที 4 เดือนแล้ว ทำไมๆ
- นั่งสมาธิแล้วลมหายใจหายทำไงต่อ
- ภาวนา พุทธ/โธ โดยไม่ดูลมหายใจ
- อวิชชา คือความไม่รู้ตามความเป็นจริง
- เมื่อทุกข์ค้นหาเหตุกำจัดเหตุทุกข์ดับ
- นั่งสมาธิแล้วรู้สึกกลัวเหมือนกำลังจะตาย
- ถึงนิมิตแล้วจะผ่านไปได้อย่างไร ,
- ภาวนาตัวสั่น ตัวหาย ,
- โอภาส แสงสีสว่างไสว ,
- สพฺเพ ธมฺมา นาลํ อภินิเวสาย
- ธรรมสากัจฉา โอภาส ,
- อาจารย์สำนักหนึ่งแนะวิธีบรรลุธรรม ,
- ทำกรรมฐานแล้วหูแว่วแก้ยังไงดีคะ ,
- ตัวอย่างแนวๆนี้พึงระวัง ,
- นั่งสมาธิเกิดปรากฏการณ์ทางจิตแปลกๆ ,
- ชีวิต ,
- นั่งสมาธิเหมือนมีอะไรกดดันที่คอ ,
- การนั่งสมาธิกับความคิด ,
- ร่างกายเหมือนคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ,
- ปฏิบัติโยงศัพท์ทางธรรม ,
- นั่งสมาธิมีเสียงในหัวหยุดความคิดไม่ได้ ,
- อ่านรู้สึก VS เข้าถึงรู้สึก ,
- กัดฟันสู้ VS สู้อย่างรู้เข้าใจ ,
- พื้นๆ
- ๒ แนวปฏิบัติ สมถะ กับ วิปัสสนา
- บริกรรมพุทโธเหมาะเริ่มต้น
- ทุกข์เป็นสภาวะด้านหนึ่งของชีวิต
- ธรรมชาติของชีวิต
- ทำสมาธินานๆ แล้วเห็นแสงมีจริงหรือครับ
- นั่งสมาธิตัวสั่นโยกเร็วแล้วหยุด ,
- มหัศจรรย์ ครั้งแรกในชีวิตกับการภาวนา
- ลมหายใจหาย อึดอัดทนไม่ไหว
- การนั่งสมาธิที่ถูกต้องต้องทำอย่างไร
- ถึงเป็นแฟนก็ทำแทนกันไม่ได้
- จุดตายโกก้า
- ความหมาย วิปัสสนา
- คอร์สโกก้า วันที่ 1-9
- คอร์สโกก้า วันที่ 10
- ปล่อยวางความแค้นในอดีต ได้ยังไง
- ตอนทำสมาธิ เห็นสิ่งที่ไม่ใช่คน
- มือ ลูกกะตา ปาก ขา ทั้งร่างกาย เคลื่อนไหวเอง
- กำหนดรู้ตามที่มันเป็น
- วิธีแผ่เมตตาจิต
- อยากหยุดความรู้สึกที่ไม่ดี
- จิตจะพัฒนาไปเรื่อย
- นั่งสมาธิแล้วเกิดนั่นนี่โน่น กลัวค่ะ ,
- นั่งสมาธิแล้วเหมือนโดนไฟช็อต
- นั่งสมาธิจงกรมแล้วอารมณ์ยังเหวี่ยงง่าย
- ไม่ใช่ฤทธิ์ เป็นกิเลส
- นั่งสมาธิแล้วเหมือนมีแมลงไต่
- นั่งสมาธิแล้วภาพ สัตว์ แมลงลอยให้เห็น ,
- ประสบการณ์จากการฝึกสมาธิ ,
- วิปัสสนูปกิเลส
- ฝึกเป็นอริยบุคคล ,
- หลักพระอรหันต์แท้ๆ
- นั่งสมาธิมีเสียงพูดเสียงสอน
- ออกจากสมาธิแล้วคิดอะไรไม่ออก
- จิตส่งเสียงคล้ายคนสวดมนต์
- จิตบอกให้หยุดหายใจ ,
- สภาวะปีติ ๕
- ประสบไตรลักษณ์อย่างไม่รู้เท่าทัน ,
- นั่งสมาธิแล้วร่างกายสั่นจริง
- นี่ใช้พุท-โธ
- หลักสอบอารมณ์ตนเอง ,
- ลมหายใจหาย ,
- ภาวนาแล้วรู้สึกตัวเองสกปรก ,
- ธงชัยอริยบุคคล
- นั่งสมาธิแล้วมีความสุขมาก
- สวดมนต์ เจอกิเลสมารคิดชั่วร้ายกับครูอาจารย์
- ปฎิบัติธรรมเอง แล้วทุกอย่างเปลี่ยนไป ,
- มิจฉาปฏิปทา ,
- นั่งสมาธิร่างกายคล้ายๆมวลสาร
- ธัมมุทธัจจ์ ๑๐
- เหมือนตัวหาย ,
- เหมือนมีประจุไฟฟ้าแล่นไปตามขา
- นั่งสมาธิ ฟุ้งซ่านมาก
- นั่งสมาธิแล้วมีแสงสว่างจ้าวาบเข้ามาในตา ,
- พอจิตเริ่มนิ่งๆ แขนขยับได้เอง
- เรากับสามีไปปฏิบัติธรรม แล้วสามีมีอาการเหมือนคนบ้า
- ต่อจากวิปัสสะนึก
- วิปัสสะนึก ,
- อารมณ์สมถะ - วิปัสสนา ,
- ลมหายใจหาย ไปไม่เป็น ,
- นั่ ง ส ม า ธิ แ ล้ ว เหมือนมีแมลงไต่ ,
- ทำสมาธิแล้วเหมือนจะขาดใจ ,
- วิธีล้างเจ้ากรรมนายเวรออก
- วิบเดียว
- จิตเกิด-ดับรวดเร็ว วิบ
- นั่งสมาธิแล้วเกิดอาการชาๆตึงๆ ,
- ธรรมะไม่ถูกใจคน ,
- นั่งสมาธิแล้วรู้สึกมีลมเย็นพัดผ่านหลัง ,
- ธัมมะธัมโมโฮ่กันอยู่ได้
- นั่งสมาธิเห็นเป็นคนมาล้อม, กลัว ,
- กำหนดรู้ตามที่มันเป็นเพื่อให้รู้เห็นชัด ,
- นั่งสมาธิแล้วได้ยินเสียงคนพูด ,
- ตัวอย่างเทียบ กท. ล่าง ,
- เห็นนิมิตเทวดาพนมมือรับบุญ ,
- ขณะโทสะเกิดคนไม่รู้ ดับแล้วจึงรู้ ,
- นั่งสมาธิ-สวดมนต์ ได้ยินเสียงนั่นนี่โน่น ,
- รู้จัก อานาปานสติ
- อ่านเข้าใจแล้วต้องไปปฏิบัติ ,
- ชาวพุทธเข้าใจคำว่าธรรม ว่าหมายถึงอะไรกันบ้างเหรอครับ ,
- ภาวนา=ทำ. ทำ=ปฏิบัติ = ปฏิปทา ,
- ไม่ต้องตามหา เดี๋ยวมาเอง ,
- แสง สี เป็นต้นจะปรากฎเมื่อจิตเริ่มสงบ ,
- นั่งสมาธิ กับ บารมี ๑๐ ,
- เห็นการเกิด-ดับ ,
- ผู้ปฏิบัติแท้จะไม่หวั่นนิมิตใดๆ ทั้งทางกาย ทางใจ ,
- เป็นอารมณ์ที่เกิดจากจิตที่เป็นสมาธิแล้ว ,
- เห็นสัจธรรมแล้วทุกข์คลายเอง ,
- หากต้องการเข้าถึงความจริง มนุษย์ต้องเข้าใจตัวเขาเอง ,
- ขณะจิตบรรลุมรรคผล
- นั่งสมาธิ แ ล้ ว เ บื่ อ ทุกอย่าง ,
- ชอบถามธรรมะระดับแก่นกัน ,
- นั่งสมาธิแล้วหายไปทั้งตัว ,
- มีใครนั่งสมาธิแล้วเพี้ยน เป็นบ้าบ้าง ,
- นั่งสมาธิได้ยินเสียงสิ่งที่มองไม่เห็น ,
- สภาวะจากนั่งสมาธิตัวหาย กายสั่น ,
- กิเลสต้องเห็นชัดด้วยปัญญา
- ใช้ พอง-ยุบ เป็นกรรมฐาน
- ประสบการณ์ชีวิตเยอะ ธรรมารมณ์ก็เยอะ
- นั่งสมาธิแล้วรู้สึกเหมือนจะตาย เกร็งๆ
- อย่าฝืน อย่าต้านสภาวธรรม
- นั่งสมาธิเหมือนมีคนจับหน้าบิดไปมา ,
- ผู้ปฏิบัติดู Blog นี้แล้ว ดู Blog ภาคปฏิบัติด้วย
- ทำสมาธิแล้วได้ยินเสียงสวดมนต์ ,
- ตัวอย่าง ใช้พองหนอ ยุบหนอ
- ตัวอย่าง ไม่ใช้คำภาวนาใดๆ ,
- คำภาวนา ไม่ใช่สาระ
- นั่งสมาธินั่งดูลม พอจิตเริ่มนิ่งๆสงบ ,
- แยก สมมุติ กับ สภาวธรรม ให้ชัด
- ตัวอย่างใช้ พุทโธ
- ความหมาย สภาวธรรม ตัวอย่าง
|
|
|
|
|
หัวข้อล่างเขาอ้างอิงฌาน
- ความหมายของ ฌาน
ผู้เริ่มศึกษาพึงทราบว่า คำว่า ฌาน ๔ ตามปกติหมายถึง รูปฌาน ๔ ดังนั้น จะพูดว่าฌาน ๔ หรือ รูปฌาน ๔ ก็มีความหมายเท่ากัน; อนึ่ง ไม่พึงสับสนฌาน ๔ กับฌาน ๕ เพราะฌาน ๕ ก็คือฌาน ๔ นั่นเอง เป็นแต่ขยายละเอียดออกไปตามแนวอภิธรรม และฌานที่ ๕ ตามแนวอภิธรรมนั้น ก็ตรงกับฌานที่ ๔ ในที่นี้นั่นเอง (ฌานที่แยกเป็น ๔ เรียกว่าฌานจตุกกนัย เป็นแบบหลักที่พบทั่วไปในพระสูตร ส่วนฌานที่แยกขยายออกเป็น ๕ ตามแนวอภิธรรม เรียกว่า ฌานปัญจกนัย)
ฌาน ๔ นี้ควรจะกล่าวถึงในบทว่าด้วยมรรค ตอนสัมมาสมาธิ ในภาคปฏิบัติข้างหน้า แต่เมื่อเอ่ยถึงในที่นี้แล้ว ก็ควรทำความเข้าใจเล็กน้อย
“ฌาน” แปลว่า เพ่ง หมายถึง ภาวะจิตที่เพ่งอารมณ์จนแน่วแน่ ได้แก่ ภาวะจิตที่มีสมาธินั่นเอง แต่สมาธินั้นมีความประณีตสนิทชัดเจนผ่องใส และมีกำลังมากน้อยต่างๆ กัน แยกได้เป็นหลายระดับ ความต่างของระดับนั้น กำหนดด้วยคุณสมบัติของจิตที่เป็นองค์ประกอบร่วมของสมาธิในขณะนั้นๆ องค์ประกอบเหล่านี้ ได้แก่ วิตก (การจรดจิตลงในอารมณ์) วิจาร (การที่จิตเคล้าอยู่กับอารมณ์) ปีติ (ความอิ่มใจ) สุข อุเบกขา (ความมีใจเป็นกลาง) และ เอกัคคตา (ภาวะที่จิตมีอารมณ์แน่วแน่เป็นหนึ่งเดียว คือตัวสมาธินั่นเอง)
ฌานที่มีรูปธรรมเป็นอารมณ์ (รูปฌาน) ท่านนิยมแบ่งออกเป็น ๔ ระดับ มีองค์ประกอบที่ใช้กำหนดระดับ ดังนี้
๑. ปฐมฌาน (ฌานที่ ๑) มีองค์ ๕ คือ วิตก วิจาร ปีติ สุข เอกัคคตา
๒. ทุติยฌาน (ฌานที่ ๒) มีองค์ ๓ คือ ปีติ สุข เอกัคคตา
๓. ตติยฌาน (ฌานที่ ๓) มีองค์ ๒ คือ สุข เอกัคคตา
๔. จตุตถฌาน (ฌานที่ ๔) มีองค์ ๒ คือ อุเบกขา เอกัคคตา
ฌานที่สูงขึ้นไปกว่านี้ คือ อรูปฌาน ก็มีองค์ ๒ คือ อุเบกขา และเอกัคคตา เหมือนจตุตถฌาน แต่กำหนดอรูปธรรมเป็นอารมณ์ และมีความประณีตยิ่งขึ้นไปโดยลำดับ ตามอารมณ์ที่กำหนด อรูปฌาน ๔ แต่ละข้อ (ตรงกับวิโมกข์ข้อ ๔ ถึง ๗)
ฌาน อาจใช้ในความหมายอย่างหลวมๆ โดยแปลว่า เพ่ง พินิจ ครุ่นคิด เอาใจจดจ่อ ก็ได้ และอาจใช้ในแง่ที่ไม่ดี เป็นฌานที่พระพุทธเจ้าทรงตำหนิ เช่น เก็บเอากามราคะ พยาบาท ความหดหู่ ความกลัดกลุ้มวุ่นวายใจ ความลังเลสงสัย (นิวรณ์ ๕) ไว้ในใจ ถูกอกุศลธรรมเหล่านั้นกลุ้มรุมใจ เฝ้าแต่ครุ่นคิดอยู่ ก็เรียกว่าฌานเหมือนกัน (ม.อุ. ๑๔/๑๑๗/๙๘) หรือ กิริยาของสัตว์ เช่น นกเค้าแมวจ้องจับหนู สุนัขจิ้งจอกจ้องหาปลา เป็นต้น ก็เรียกว่าฌาน (ใช้ในรูปกริยาศัพท์ เช่น ม.มู. ๑๒/๕๖๐/๖๐๔)
บางทีก็นำมาใช้แสดงความหมายด้านวิปัสสนาด้วย โดยแปลว่า เพ่งพินิจ หรือ คิดพิจารณา ในอรรถกถาบางแห่งจึงแบ่งฌานออกเป็น ๒ จำพวก คือ การเพ่งอารมณ์ตามแบบของสมถะ เรียกว่า อารัมมณูปนิชฌาน (ได้แก่ ฌานสมาบัตินั่นเอง) การเพ่งพิจารณาให้เห็นไตรลักษณ์ ตามแบบวิปัสสนา หรือวิปัสสนานั่นเอง เรียกว่า ลักขณูปนิชฌาน (ในกรณีนี้ แม้แต่มรรคผล ก็เรียกว่าฌานได้ เพราะแปลว่าเผากิเลสบ้าง เพ่งลักษณะที่เป็นสุญญตาของนิพพานบ้าง) (ดู องฺ.อ.๑/๕๓๖; ฯลฯ )
Create Date : 16 กันยายน 2567 |
|
0 comments |
Last Update : 16 กันยายน 2567 20:14:12 น. |
Counter : 90 Pageviews. |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|