Group Blog
OWL2's blog
<<
มิถุนายน 2563
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
23 มิถุนายน 2563
น่าน น้าน นาน (ตอนจบ)
All Blogs
น่าน น้าน นาน (ตอนจบ)
น่าน น้าน นาน (4)
น่าน น้าน นาน (3)
น่าน น้าน นาน (2)
น่าน น้าน นาน (1)
Konnichiwa Nihon no densha (14)
Konnichiwa Nihon no densha (ตอนจบ)
Konnichiwa Nihon no densha (24)
Konnichiwa Nihon no densha (23)
Konnichiwa Nihon no densha (22)
Konnichiwa Nihon no densha (21)
Konnichiwa Nihon no densha (20)
Konnichiwa Nihon no densha (19)
Konnichiwa Nihon no densha (18)
Konnichiwa Nihon no densha (17)
Konnichiwa Nihon no densha (16)
Konnichiwa Nihon no densha (15)
Konnichiwa Nihon no densha (13)
Konnichiwa Nihon no densha (12)
Konnichiwa Nihon no densha (11)
Konnichiwa Nihon no densha (10)
Konnichiwa Nihon no densha (9)
Konnichiwa Nihon no densha (8)
Konnichiwa Nihon no densha (7)
Konnichiwa Nihon no densha (6)
Konnichiwa Nihon no densha (5)
Konnichiwa Nihon no densha (4)
Konnichiwa Nihon no densha (3)
Konnichiwa Nihon no densha (2)
Konnichiwa Nihon no densha (1)
มิงกาลาบาห์ เมียนมาร์ ( ตอนจบ )
มิงกาลาบาห์ เมียนมาร์ ( 12 )
มิงกาลาบาห์ เมียนมาร์ ( 11 )
มิงกาลาบาห์ เมียนมาร์ ( 10 )
มิงกาลาบาห์ เมียนมาร์ ( 9 )
มิงกาลาบาห์ เมียนมาร์ ( 8 )
มิงกาลาบาห์ เมียนมาร์ ( 7 )
มิงกาลาบาห์ เมียนมาร์ ( 6 )
มิงกาลาบาห์ เมียนมาร์ ( 5 )
มิงกาลาบาห์ เมียนมาร์ ( 4 )
มิงกาลาบาห์ เมียนมาร์ ( 3 )
มิงกาลาบาห์ เมียนมาร์ ( 2 )
มิงกาลาบาห์ เมียนมาร์ ( 1 )
พินิจงานรถไฟสายอีสานด้วยค่าโดยสารเพียง 50 บาท (ตอนจบ)
พินิจงานรถไฟสายอีสานด้วยค่าโดยสารเพียง 50 บาท (5)
พินิจงานรถไฟสายอีสานด้วยค่าโดยสารเพียง 50 บาท (4)
พินิจงานรถไฟสายอีสานด้วยค่าโดยสารเพียง 50 บาท (3)
พินิจงานรถไฟสายอีสานด้วยค่าโดยสารเพียง 50 บาท (2)
พินิจงานรถไฟสายอีสานด้วยค่าโดยสารเพียง 50 บาท (1)
ล่องใค้ ไปอีสาน (ตอนสุดท้าย)
ล่องใต้ ไปอีสาน ( ๑๒ )
ล่องใต้ ไปอีสาน ( ๑๑ )
ล่องใต้ ไปอีสาน ( ๑๐ )
ล่องใต้ ไปอีสาน ( ๙ )
ล่องใต้ ไปอีสาน ( ๘ )
ล่องใต้ ไปอีสาน ( ๗ )
ล่องใต้ ไปอีสาน ( ๖ )
ล่องใต้ ไปอีสาน ( ๕ )
ล่องใต้ ไปอีสาน ( ๔ )
ล่องใต้ ไปอีสาน ( ๓ )
ล่องใต้ ไปอีสาน ( ๒ )
ล่องใต้ ไปอีสาน ( ๑ )
ทานตะวัน Express (2)
ทานตะวัน Express (1)
xinchao Vietnam (ตอนจบ)
Xinchao Vietnam ( 13 )
Xinchao Vietnam ( 12 )
Xinchao Vietnam ( 11 )
Xinchao Vietnam ( 10 )
Xinchao Vietnam ( 9 )
Xinchao Vietnam ( 8 )
Xinchao Vietnam ( 7 )
Xinchao Vietnam ( 6 )
Xinchao Vietnam ( 5 )
Xinchao Vietnam ( 4 )
Xinchao Vietnam ( 3 )
Xinchao Vietnam ( 2 )
Xinchao Vietnam ( 1 )
Meeting สุดชายแดนบูรพา (ตอนสุดท้าย)
Meeting สุดชายแดนบูรพา (4)
Meeting สุดชายแดนบูรพา (3)
Meeting สุดชายแดนบูรพา (2)
Meeting สุดชายแดนบูรพา (1)
สะบายดี...จำปาสัก (ตอนสุดท้าย)
สะบายดี...จำปาสัก (ตอนที่ 5)
สะบายดี...จำปาสัก (ตอนที่ 4)
สะบายดี...จำปาสัก (ตอนที่ 3)
สะบายดี...จำปาสัก (ตอนที่ 2)
สะบายดี...จำปาสัก (ตอนที่ 1)
กุลวาขาว แมคคิลวารี
เที่ยวไปกับทัวร์ Circular Train (ตอนสุดท้าย)
เที่ยวไปกับทัวร์ Circular Train (ตอนที่ 6)
เที่ยวไปกับทัวร์ Circular Train (ตอนที่ 5)
เที่ยวไปกับทัวร์ Circular Train (ตอนที่ 4)
เที่ยวไปกับทัวร์ Circular Train (ตอนที่ 3)
เที่ยวไปกับทัวร์ Circular Train (ตอนที่ 2)
เที่ยวไปกับทัวร์ Circular Train (ตอนที่ 1)
เที่ยวสุพรรณ....กับด่วนขุนแผน ตอนที่ 3 (ส่งท้าย)
เที่ยวสุพรรณ....กับด่วนขุนแผน ตอนที่ 2
เที่ยวสุพรรณ....กับด่วนขุนแผน ตอนที่ 1
เที่ยวฉ่ำฝน (ที่ไม่ใช่ธรรมดา) ตอนที่ 6 (สุดท้าย)
เที่ยวฉ่ำฝน (ที่ไม่ใช่ธรรมดา) ตอนที่ 5
เที่ยวฉ่ำฝน (ที่ไม่ใช่ธรรมดา) ตอนที่ 4
เที่ยวฉ่ำฝน (ที่ไม่ใช่ธรรมดา) ตอนที่ 3
เที่ยวฉ่ำฝน (ที่ไม่ใช่ธรรมดา) ตอนที่ 2
เที่ยวฉ่ำฝน (ที่ไม่ใช่ธรรมดา) ตอนที่ 1
ก่อนที่จะมาเป็นถนนวิภาวดีรังสิต
เรื่องราวในอดีตของถนนมิตรภาพ : กรุงเทพฯ - หนองคาย ใน 8 ชั่วโมง
สารคดีสั้น...จาก "คนเมือง" (12)
สารคดีสั้น...จาก "คนเมือง" (11)
สารคดีสั้น...จาก "คนเมือง" (10)
สารคดีสั้น...จาก "คนเมือง" (9)
สารคดีสั้น...จาก "คนเมือง" (8)
สารคดีสั้น...จาก "คนเมือง" (7)
สารคดีสั้น...จาก "คนเมือง" (6)
สารคดีสั้น...จาก "คนเมือง" (5)
สารคดีสั้น...จาก "คนเมือง" (4)
สารคดีสั้น...จาก "คนเมือง" (3)
สารคดีสั้น...จาก "คนเมือง" (2)
สารคดีสั้น...จาก "คนเมือง" (1)
น่าน น้าน นาน (ตอนจบ)
วันสุดท้าย สองคนพี่น้องออกเดินทางรวดเ
ดียวจากที่พัก อ.ปัว ดิ่งมายังวนอุทยานแพะเมืองผ
ี อ.เมืองแพร่ ก่อนที่จะแวะนมัสการวัดพระธ
าตุช่อแฮ ถึงกลับสู่อุตรดิตถ์ในฃ่วงบ
่ายแก่ๆ
หลังจากมื้อเช้าแล้ว สองคนพี่น้องออกเดินทางจากท
ี่พัก เผยเสน่ห์ฝายแก้ง อ.ปัว ดิ่งลงใต้ผ่าน อ.ท่าวังผา, อ.เมืองน่าน , อ.เวียงสา มายัง จ.แพร่
ขับเพลินไปนิด เลยลืมแวะหอศิลป์ริมน่าน ของอาจารย์วินัย ปราบริปู ซึ่งอยู่ด้านเหนือก่อนเข้าช
ุมชนเมืองน่านไปอย่างน่าเสี
ยดาย ค่อยรอไว้โอกาสหน้าดีกว่า
ระหว่างทาง น้องผมขอให้แวะยังแผงจำหน่า
ยสินค้าผลิตภัณฑ์ชุมชนใกล้ด
่านตรวจห้วยน้ำอุ่น ตอนแรกผมเข้าใจว่าคงแวะซื้อ
ไข่มดแดงไว้ลองชิมกระมัง ?
การณ์ปรากฎว่า น้องผมแวะซื้อข้าวหลามไว้เป
็นเสบียงมื้อเที่ยงระหว่างท
าง โดยแวะกินที่สามแยกบรรจบกับ
ทางหลวงสาย อ.งาว - อ.ร้องกวาง นั่นเอง
อันว่าข้าวหลามเมืองน่านนั้
น ไม่หวานมันแบบข้าวหลามหนองม
น พอหลามเสร็จ จะปอกผิวไม้ไผ่ด้านนอกออก เหลือเปลือกสีขาวหุ้มไว้บาง
ๆ สามารถใช้มือปอกเองได้ โดยไม่ใช้ฆ้อนทุบหรือตีหัวค
นให้แตกแบบข้าวหลามหนองมนแต
่อย่างใด
มีเรื่องขำขันล้อเลียนคนเมื
องน่านสมัยก่อนเข้ามาเที่ยว
กรุงเทพฯ เพิ่งเห็นหลอดฟลูอออเรสเซนต
์ส่องสว่างเป็นครั้งแรกในชี
วิต แทนที่จะเป็นหลอดไส้อันคุ้น
เคย ด้วยความตื่นเต้นจนเพื่อนชา
วกรุงล้อเลียนว่า "คนน่าน ข้าวหลามแจ้ง" จนกลายเป็นสมญาล้อเลียนตั้ง
แต่นั้น
แต่ตอนนี้ คงมีชกกันปากแตกแน่ๆ อย่าได้เผลอพูดให้ชาวน่านได
้ยินเชียว
พอถึงแยกแม่หล่ายด้านใต้ไปอ
ีกนิด น้องผมชวนไปดูวนอุทยานแพะเม
ืองผี ซึ่งผมมาราชการที่ จ.แพร่ หนใดไม่เคยไปถึงแพะเมืองผีส
ักที่ คราวนี้ได้โอกาสละ จะได้ถือโอกาสไปชมต้นดิ๊กเด
ียมอันลือชื่อมานานนักหนาด้
วย
เพียงเสียค่าธรรมเนียมเข้าช
มวนอุทยานฯ คนละ 20 บาท สองพี่น้องได้เข้าเยือนแพะเ
มืองผีสมปรารถนา
ขอบันทึกภาพไว้เป็นที่ระลึก
ไว้หน่อย
ให้ภาพเล่าดีกว่าครับ
เป็นหาบเงินหาบทองประกอบฉาก
เท่านั้น อย่าได้ฉกแบบตู้ปันความสุขล
่ะ
ส่วนคำบรรยายตามลักษณะทางกา
ยภาพจะเป็นอย่างนี้ครับ
สองคนพี่น้องพากันเดินเข้าส
ู่บริเวณวนอุทยานฯ ทันที
วันนี้ มีลูกเสือออกภาคสนามบริเวณน
ี้ด้วย ความรู้สึกเหมือนเราสมัยเด็
ก หากได้พ้นจากห้องเรียนี่แสน
จำเจได้สักวัน ก็มีความสุขแล้ว
ผมสอบถามครูที่ควบคุมคณะลูก
เสือว่ามาจากโรงเรียนใด แต่น่าเขกหัวตัวเองที่ดันลื
มว่าเป็นโรงเรียนอะไร ?
อย่ามองแค่ตัวนางแบบเป็นหลั
กนะครับ ผมตั้งใจจะเปรียบเทียบว่าบร
ิเวณที่เขาเรียก "ฉากโรงละคร" นั้น กว้างใหญ่เพียงใด ?
คราวนี้ก็เน้นตัวนางแบบจริง
ๆ ล่ะ
จากนั้นก็ชวนกันปีนขึ้นมาตร
งจุดชมวิวบริเวณผาส่วนบนซึ่
งสามารถมองเห็นอาณาบริเวณอุ
ทยานฯ
บริเวณนี้จะเรียกว่า "ผาผ่อแล่" (ผา = หน้าผา , ผ่อ = ดู , แล่ = สิ,เถอะ)
จากทิวทัศน์ที่มองออกไป หากผ่านบริเวณนี้ยามกลางคืน
ภูมิประเทศจะคล้ายกันหมดอัน
เป็นเหตุให้หลงได้ พอเข้าคำว่า "เค้าแพะเมืองผี" เช่นกัน
ลักษณะเช่นนี้จะมีปรากฎอีกแ
ห่งที่ อ.นาน้อย จ.น่าน มีชื่อเรียกว่า "ฮ่อมจ๊อม" (ฮ่อม = ร่อง,จ๊อม = แคบ) แต่ไม่ค่อยมีชื่อเสียงเหมือ
นที่นี่ อาจเป็นเพราะมีระยะทางค่อนข
้างไกลก็ได้
สิ่งที่แปลกอีกอย่างคู่กับแ
พะเมืองผี เห็นจะเป็นต้นดิ๊กเดียม ต้นตำหรับที่นี่แหละ
คงไม่กล่าวถึงความเป็นมาและ
สรรพคุณของต้นดิ๊กเดียมนี้อ
ีกนะครับ เพราะเคยเล่ามาแล้วในตอนที่
ผ่านมา
เท่าที่ลองเอามือลูบต้นไม้น
ี้ ไม่แสดงอาการอะไรออกมาจนสัง
เกตได้ชัด อาจเป็นเพราะมีนักท่องเที่ย
วหลากหลายคณะมาลองลูบคลำดู จนต้นไม้เกิดอาการ"หมึน" (ด้าน,ชา) ไปแล้วก็ได้
อย่างไรก็ตาม ผมบันทึกภาพไว้เป็นที่ระลึก
ตามคำขอ ก่อนจะออกเดินทางต่อไปยังวั
ดพระธาตุช่อแฮ พระอารามหลวงของ จ.แพร่
จากวนอุทยานแพะเมืองผี แทนที่จะกลับไปยังถนนใหญ่ ผมเลี้ยวซ้ายไปตามทางหลวงชน
บทสายที่ พร.4011 และ พร.3024 เลียบคลองชลประทาน ผ่านบ้านร้องฟอง ไปยังวัดพระธาตุช่อแฮ
พอถึงบ้านร้องฟอง มีป้ายจราจรบอกว่าจะตรงไปหร
ือเลี้ยวขวาเข้าหมู่บ้านก็ไ
ด้ แล้วมาพบทีหลังว่าเส้นทางสา
ยตรงก็มาบรรจบกับเส้นทางสาย
วัดพระธาตุช่อแฮ ตรงเหนือหมู่บ้านนั่นแล แถมไม่มีรถราวิ่งพลุกพล่านช
วนรำคาณใจอีกด้วย
ไหนๆ ก็ไหนๆ แล้ว พอถึบริเวณวัด กลับนำรถไปจอดบริเวณด้านหลั
ง ต้องเมื่อยขาปีนขึ้นบันไดไป
ยังบริเวณเนินอุโบสถและองค์
เจดีย์อีกต่อหนึ่งแน่ะ
ขอนั่งพักขาชมพระเจดีย์ ก่อนเข้าไปนมัสการองค์พระปร
ะธานในพระอุโบสถต่อไป
วัดพระธาตุช่อแฮ พระอารามหลวง เป็นวัดที่ตั้งอยู่เนินเขาเ
ตี้ยสูงประมาณ 28 เมตร องค์พระธาตุช่อแฮเป็นเจดีย์
ศิลปะเชียงแสนแบบแปดเหลี่ยม
บุด้วยทองดอกบวบหรือทองจังโ
ก องค์พระธาตุสูง 33 เมตร ฐานสี่เหลี่ยมกว้างด้านละ 11 เมตร ลักษณะองค์พระธาตุตั้งอยู่บ
นฐานเขียงสี่เหลี่ยม 1 ชั้น ถัดขึ้นไปเป็นฐานหน้ากระดาน
แปดเหลี่ยม 3 ชั้นรองรับ ถัดไปเป็นฐานบัวคว่ำและชุดท้องไม้แปดเหล
ี่ยม ซ้อนลดชั้นกันขึ้นไป 7 ชั้น จากนั้นเป็นบัวระฆัง 1 ชั้น และหน้ากระดานหนึ่งชั้น จนถึงองค์ระฆังแปดเหลี่ยม ถัดขึ้นไปเป็นบัลลังก์ย่อมุ
มไม้สิบสองและปล้องไฉน ส่วนยอดฉัตรประดับตกแต่งด้ว
ยเครื่องบนแบบล้านนา มีรั้วเหล็กรอบองค์พระธาตุ 4 ทิศ มีประตูเข้าออก 4 ประตู แต่ละประตูได้สร้างซุ้มแบบป
ราสาทล้านนาไว้อย่างสวยงาม
(ข้อมูลจากเว็บไซต์วิกิพีเด
ียไทยดอทคอม)
วัดพระธาตุช่อแฮ พระอารามหลวง เป็นวัดศักดิ์สิทธิ์เก่าแก่
คู่บ้านคู่เมืองจังหวัดแพร่
และเป็นวัดพระธาตุประจำปีเก
ิดของผู้ที่เกิดปีขาล ตั้งอยู่เลขที่ 1 หมู่ที่ 11 ถนนช่อแฮ ตำบลช่อแฮ อำเภอเมืองแพร่ จังหวัดแพร่ บนเนื้อที่ 175 ไร่ บุคคลใดที่มาเที่ยวจังหวัดแ
พร่แล้วจะต้องมานมัสการพระธ
าตุช่อแฮ เพื่อเป็นสิริมงคลกับตนเอง จนมีคำกล่าวว่า ถ้ามาเที่ยวจังหวัดแพร่ แต่ไม่ได้มานมัสการพระธาตุช
่อแฮเหมือนไม่ได้มาจังหวัดแ
พร่
การเดินทางมาเที่ยววัดพระธา
ตุช่อแฮ ถนนสายหลัก คือ ถนนช่อแฮ เริ่มตั้งแต่สี่แยกบ้านทุ่ง
อำเภอเมืองแพร่ ซึ่งเป็นสี่แยกใจกลางเมืองแ
พร่ เข้าสู่ถนนช่อแฮ และตรงไปตามถนนช่อแฮ ผ่านโรงพยาบาลแพร่ สนามบินจังหวัดแพร่ หมู่บ้านเหล่า หมู่บ้านนาจักร หมู่บ้านแต (กวีรัตน์) หมู่บ้านมุ้ง สถานที่ตั้งของวัดพระธาตุช่
อแฮอยู่ในบริเวณเขตเทศบาลตำ
บลช่อแฮ ด้วยระยะทาง 9 กิโลเมตร จากตัวเมืองจังหวัดแพร่
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภ
ูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ยกวัดพระธาตุช่อแฮ ตำบลช่อแฮ อำเภอเมือง จังหวัดแพร่ เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ ตั้งแต่วันที่ 23 มิถุนายน พ.ศ.2549 โดยได้ประกาศในราชกิจจานุเบ
กษา ฉบับทั่วไป เล่ม 123 ตอนที่ 96 ง วันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2549 (พ.ศ.2508 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ทรงใช้มวลสารจากพระธาตุช่อแ
ฮ ทำพระสมเด็จจิตรลดา)
(ข้อมูลจากเว็บไซต์วิกิพีเด
ียไทยดอทคอม)
พระราชพงศาวดารว่าด้วยกรุงส
ุโขทัย
หอสมุดแห่งชาติ กล่าวถึงวัดพระธาตุช่อแฮว่า
สร้างขึ้นระหว่าง พ.ศ.1879 - 1881 ในสมัยที่พระมหาธรรมราชา (ลิไท) ยังเป็นพระมหาอุปราชซึ่งครอ
งเมืองศรีสัชนาลัยอยู่ในครั
้งนั้น พระองค์โปรดให้สร้างสถานที่
สำคัญทางศาสนาตามที่ปรากฏใน
พุทธประวัติในที่ต่างๆ รวมทั้งที่เมืองแพร่ซึ่งอยู
่ในขอบขัณฑสีมาของกรุงสุโขท
ัย พระมหาธรรมราชาลิไทพระราชทา
นพระบรมสารีริกธาตุแก่ขุนลั
วะอ้ายก้อมให้นำมาบรรจุไว้ในฐานเจดีย์ เมื่อขุนลัวะอ้ายก้อมมาถึงบ
ริเวณดอยโกสิยธชัคคะเห็นว่า
ทำเลดีจึงสร้างเจดีย์ขึ้น และนำผอบพระบรมสารีริกธาตุบ
รรจุไว้ในสิงห์ทองคำ สร้างแท่นที่ตั้งผอบด้วยเงิ
นและทอง แล้วตั้งสิงห์ทองคำไว้โดยโบ
กปูนทับอีกชั้นหนึ่ง หลังจากนั้นก็จัดงานบำเพ็ญก
ุศลเฉลิมฉลอง 7 วัน 7 คืน
ภายหลังเมืองแพร่ถูกรวมเข้า
กับอาณาจักรล้านนาไทยกษัตริ
ย์ล้านนาก็ทรงได้ทะนุบำรุงพ
ระธาตุช่อแฮตามลำดับ จนกระทั่งราชวงศ์นี้หมดอำนา
จลง พระธาตุช่อแฮก็ทรุดโทรมเป็น
อันมาก
จนล่วงมาถึง พ.ศ.2467 พระมหาเมธังกร (พรหม พรหมเทโว) อดีตเจ้าคณะจังหวัดแพร่ และเจ้าอาวาสวัดเมธัง เป็นประธานฝ่ายสงฆ์ในการบูร
ณปฏิสังขรณ์ พร้อมด้วย ครูบาศรีวิชัย (หรือตุ๊เจ้าวัดบ้านปาง จังหวัดลำพูน) ได้เป็นประธานบูรณปฏิสังขรณ
์พระธาตุร่วมกับคณะสงฆ์จังห
วัดแพร่ จนทำให้พระธาตุช่อแฮกลับมาม
ีความงดงาม และเป็นแหล่งเชิดหน้าชูตาขอ
งจังหวัดแพร่
(ข้อมูลจากเว็บไซต์วิกิพีเด
ียไทยดอทคอม)
ถึงแม้จะไม่ได้เกิดในปีขาล แต่น้องผมก็มีจิตศรัทธาเดิน
นมัสการรอบพระเจดีย์ตามธรรม
เนียมโดยมีผมบันทึกภาพไว้เป
็นที่ระลึก ก่อนที่จะออกเดินทางกลับอุต
รดิตถ์
แต่สำหรับน้องผมนั้น ต้องเดินทางต่อไปยังบ้านพัก
ที่ จ.ขอนแก่น ในวันรุ่งขึ้น โดยผมได้ทัดทานให้พักหายเหน
ื่อยสักหนึ่งคืน ไม่เช่นนั้นจะหักโหมเกินไป ถึงจะเป็นบ้านของตัวเองก็เถ
อะ
ขอความสุขสวัสดี จงมีแด่ทุกท่านที่ติดตามเรื
่องราวนี้มาจนจบนะครับ
Create Date : 23 มิถุนายน 2563
Last Update : 23 มิถุนายน 2563 19:33:13 น.
5 comments
Counter : 3455 Pageviews.
Share
Tweet
ผู้โหวตบล็อกนี้...
คุณสายหมอกและก้อนเมฆ
,
คุณKavanich96
เคยไปแพะเมืองผีเดือนเมษครับ ร้อนมากกกก ฮ่าๆๆ
โดย:
ทนายอ้วน
วันที่: 24 มิถุนายน 2563 เวลา:13:48:27 น.
ผมไปถึงตอนบ่าย เจออากาศร้อนเหมือนกันครับ สมกับเป็นแหล่งหุบลูกรัง
โดย:
owl2
วันที่: 24 มิถุนายน 2563 เวลา:20:50:22 น.
ขอบคุณที่แบ่งปัน
โดย:
Kavanich96
วันที่: 26 มิถุนายน 2563 เวลา:4:35:32 น.
ขอบคุณครับ
โดย:
owl2
วันที่: 26 มิถุนายน 2563 เวลา:17:26:19 น.
น่านเจ้า ..
โดย:
ป้าทุยบ้านทุ่ง
วันที่: 26 มิถุนายน 2564 เวลา:10:29:20 น.
ชื่อ :
* blog นี้ comment ได้เฉพาะสมาชิก
Comment :
*ส่วน comment ไม่สามารถใช้ javascript และ style sheet
owl2
Location :
กรุงเทพฯ Thailand
[ดู Profile ทั้งหมด]
ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
Smember
ผู้ติดตามบล็อก : 3 คน [
?
]
Friends' blogs
Webmaster - BlogGang
[Add owl2's blog to your web]
Links
Bloggang.com
Pantip.com
|
PantipMarket.com
|
Pantown.com
| © 2004
BlogGang.com
allrights reserved.