Group Blog
OWL2's blog
<<
มิถุนายน 2563
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
10 มิถุนายน 2563
Konnichiwa Nihon no densha (14)
Konnichiwa Nihon no densha (ตอนจบ)
All Blogs
น่าน น้าน นาน (ตอนจบ)
น่าน น้าน นาน (4)
น่าน น้าน นาน (3)
น่าน น้าน นาน (2)
น่าน น้าน นาน (1)
Konnichiwa Nihon no densha (14)
Konnichiwa Nihon no densha (ตอนจบ)
Konnichiwa Nihon no densha (24)
Konnichiwa Nihon no densha (23)
Konnichiwa Nihon no densha (22)
Konnichiwa Nihon no densha (21)
Konnichiwa Nihon no densha (20)
Konnichiwa Nihon no densha (19)
Konnichiwa Nihon no densha (18)
Konnichiwa Nihon no densha (17)
Konnichiwa Nihon no densha (16)
Konnichiwa Nihon no densha (15)
Konnichiwa Nihon no densha (13)
Konnichiwa Nihon no densha (12)
Konnichiwa Nihon no densha (11)
Konnichiwa Nihon no densha (10)
Konnichiwa Nihon no densha (9)
Konnichiwa Nihon no densha (8)
Konnichiwa Nihon no densha (7)
Konnichiwa Nihon no densha (6)
Konnichiwa Nihon no densha (5)
Konnichiwa Nihon no densha (4)
Konnichiwa Nihon no densha (3)
Konnichiwa Nihon no densha (2)
Konnichiwa Nihon no densha (1)
มิงกาลาบาห์ เมียนมาร์ ( ตอนจบ )
มิงกาลาบาห์ เมียนมาร์ ( 12 )
มิงกาลาบาห์ เมียนมาร์ ( 11 )
มิงกาลาบาห์ เมียนมาร์ ( 10 )
มิงกาลาบาห์ เมียนมาร์ ( 9 )
มิงกาลาบาห์ เมียนมาร์ ( 8 )
มิงกาลาบาห์ เมียนมาร์ ( 7 )
มิงกาลาบาห์ เมียนมาร์ ( 6 )
มิงกาลาบาห์ เมียนมาร์ ( 5 )
มิงกาลาบาห์ เมียนมาร์ ( 4 )
มิงกาลาบาห์ เมียนมาร์ ( 3 )
มิงกาลาบาห์ เมียนมาร์ ( 2 )
มิงกาลาบาห์ เมียนมาร์ ( 1 )
พินิจงานรถไฟสายอีสานด้วยค่าโดยสารเพียง 50 บาท (ตอนจบ)
พินิจงานรถไฟสายอีสานด้วยค่าโดยสารเพียง 50 บาท (5)
พินิจงานรถไฟสายอีสานด้วยค่าโดยสารเพียง 50 บาท (4)
พินิจงานรถไฟสายอีสานด้วยค่าโดยสารเพียง 50 บาท (3)
พินิจงานรถไฟสายอีสานด้วยค่าโดยสารเพียง 50 บาท (2)
พินิจงานรถไฟสายอีสานด้วยค่าโดยสารเพียง 50 บาท (1)
ล่องใค้ ไปอีสาน (ตอนสุดท้าย)
ล่องใต้ ไปอีสาน ( ๑๒ )
ล่องใต้ ไปอีสาน ( ๑๑ )
ล่องใต้ ไปอีสาน ( ๑๐ )
ล่องใต้ ไปอีสาน ( ๙ )
ล่องใต้ ไปอีสาน ( ๘ )
ล่องใต้ ไปอีสาน ( ๗ )
ล่องใต้ ไปอีสาน ( ๖ )
ล่องใต้ ไปอีสาน ( ๕ )
ล่องใต้ ไปอีสาน ( ๔ )
ล่องใต้ ไปอีสาน ( ๓ )
ล่องใต้ ไปอีสาน ( ๒ )
ล่องใต้ ไปอีสาน ( ๑ )
ทานตะวัน Express (2)
ทานตะวัน Express (1)
xinchao Vietnam (ตอนจบ)
Xinchao Vietnam ( 13 )
Xinchao Vietnam ( 12 )
Xinchao Vietnam ( 11 )
Xinchao Vietnam ( 10 )
Xinchao Vietnam ( 9 )
Xinchao Vietnam ( 8 )
Xinchao Vietnam ( 7 )
Xinchao Vietnam ( 6 )
Xinchao Vietnam ( 5 )
Xinchao Vietnam ( 4 )
Xinchao Vietnam ( 3 )
Xinchao Vietnam ( 2 )
Xinchao Vietnam ( 1 )
Meeting สุดชายแดนบูรพา (ตอนสุดท้าย)
Meeting สุดชายแดนบูรพา (4)
Meeting สุดชายแดนบูรพา (3)
Meeting สุดชายแดนบูรพา (2)
Meeting สุดชายแดนบูรพา (1)
สะบายดี...จำปาสัก (ตอนสุดท้าย)
สะบายดี...จำปาสัก (ตอนที่ 5)
สะบายดี...จำปาสัก (ตอนที่ 4)
สะบายดี...จำปาสัก (ตอนที่ 3)
สะบายดี...จำปาสัก (ตอนที่ 2)
สะบายดี...จำปาสัก (ตอนที่ 1)
กุลวาขาว แมคคิลวารี
เที่ยวไปกับทัวร์ Circular Train (ตอนสุดท้าย)
เที่ยวไปกับทัวร์ Circular Train (ตอนที่ 6)
เที่ยวไปกับทัวร์ Circular Train (ตอนที่ 5)
เที่ยวไปกับทัวร์ Circular Train (ตอนที่ 4)
เที่ยวไปกับทัวร์ Circular Train (ตอนที่ 3)
เที่ยวไปกับทัวร์ Circular Train (ตอนที่ 2)
เที่ยวไปกับทัวร์ Circular Train (ตอนที่ 1)
เที่ยวสุพรรณ....กับด่วนขุนแผน ตอนที่ 3 (ส่งท้าย)
เที่ยวสุพรรณ....กับด่วนขุนแผน ตอนที่ 2
เที่ยวสุพรรณ....กับด่วนขุนแผน ตอนที่ 1
เที่ยวฉ่ำฝน (ที่ไม่ใช่ธรรมดา) ตอนที่ 6 (สุดท้าย)
เที่ยวฉ่ำฝน (ที่ไม่ใช่ธรรมดา) ตอนที่ 5
เที่ยวฉ่ำฝน (ที่ไม่ใช่ธรรมดา) ตอนที่ 4
เที่ยวฉ่ำฝน (ที่ไม่ใช่ธรรมดา) ตอนที่ 3
เที่ยวฉ่ำฝน (ที่ไม่ใช่ธรรมดา) ตอนที่ 2
เที่ยวฉ่ำฝน (ที่ไม่ใช่ธรรมดา) ตอนที่ 1
ก่อนที่จะมาเป็นถนนวิภาวดีรังสิต
เรื่องราวในอดีตของถนนมิตรภาพ : กรุงเทพฯ - หนองคาย ใน 8 ชั่วโมง
สารคดีสั้น...จาก "คนเมือง" (12)
สารคดีสั้น...จาก "คนเมือง" (11)
สารคดีสั้น...จาก "คนเมือง" (10)
สารคดีสั้น...จาก "คนเมือง" (9)
สารคดีสั้น...จาก "คนเมือง" (8)
สารคดีสั้น...จาก "คนเมือง" (7)
สารคดีสั้น...จาก "คนเมือง" (6)
สารคดีสั้น...จาก "คนเมือง" (5)
สารคดีสั้น...จาก "คนเมือง" (4)
สารคดีสั้น...จาก "คนเมือง" (3)
สารคดีสั้น...จาก "คนเมือง" (2)
สารคดีสั้น...จาก "คนเมือง" (1)
Konnichiwa Nihon no densha (14)
วันนี้ อ.วิรัตน์พาชาวคณะไปเยี่ยมป
ู่ C 56 44 ซึ่งเคยเป็นนักรบคราวสงคราม
มหาเอเซียบูรพา ประจำการอยู่กับกองพลรถไฟคร
าวสร้างเส้นทางระหว่างไทย - พม่า หรือเส้นทางรถไฟสายมรณะนั่น
แหละครับ
โดยปู่ C 56 44 ได้ประจำการจนสงครามสิ้นสุด
และกองทัพฝ่ายสัมพันธมิตรได
้ขายเส้นทางรถไฟสายนี้พร้อม
รถจักร ล้อเลื่อน ให้รัฐบาลไทย ในราคา 50 ล้านบาท (ราคาในสมัยนั้น)
ปู่ C 56 44 เลยสังกัดการรถไฟฯ ภายใต้หมายเลข 735 และวิ่งทบทวนความหลังบนเส้น
ทางสายน้ำตก จนกระทั่งปลดประจำการ
ก่อนที่จะถูกขายแยกชิ้นส่วน
เป็นเศษเหล็กไปนั้น เรื่องเข้าถึงหูบริษัทรถไฟ โออิกาวะ ซึ่งเป็นบริษัทเอกชน ถึงประวัติอันน่าทึ่งของปู่
C 56 เลยติดต่อขอซื้อไปทั้งคัน และลำเลียงไปซ่อมประกอบใหม่
ที่ญี่ปุ่น จนสุขภาพแข็งแรง สามารถใช้ถ่านหินเป็นเชื้อเ
พลิงเหมือนคราวบรรจุประจำกา
รใหม่ๆ แถมยังให้เกียรติพ่นตราของ รฟท.ไว้อีกด้วย จนกระทั่งเปลี่ยนเป็นสีดั้ง
เดิมจนปัจจุบัน
ไปดูกันหน่อยสิว่า ปู่ยังพูดภาษาไทยได้ฤาไฉน ?
รุ่งเช้า ชาวคณะออกเดินทางจากที่พักไ
ปยังสถานีนาโกยา เพื่อขึ้นรถด่วน ชิง กังเซ็น ฮิคาริ ไปยังสถานีฮามามัตสึ ซึ่งอยู่ใกล้พิพิธภัณฑ์กลาง
แจ้งของบริษัทรถไฟแห่งนี้ และปู่ C 56 อยู่ในสังกัด และประจำการอีกด้วย
รถด่วนชิน กังเซ็น ฮิคาริ เที่ยวเช้านี้ ค่อนข้างว่างครับ แต่อาจมีผู้โดยสารคึกคักช่ว
งกลางทางก็ได้
เส้นทางช่วงแรกระหว่างสถานี
นาโกยา ไปยังสถานีฮามามัตสึ
เส้นทางสายใต้จะไม่เหมือนทา
งเหนือ เพราะหนาแน่นไปด้วยตึกรามบ้
านช่อง ล้วนแต่สูงระดับสิบชั้นขึ้น
ไปทั้งนั้น
เก็บภาพชีวิตตามรายทางไปเรื
่อยๆ นะครับ
คราวนี้ เราจะเห็นสีสันของรถไฟในสัง
กัด JR East บ้างล่ะ
แน่นอนครับว่า จำนวนผู้โดยสารย่อมมีมากกว่
าเส้นทางสายเหนืออยู่แล้ว คงเป็นต้นแบบของกระเป๋าลากท
ี่พี่น้องวัยรุ่นเรากำลังฮิ
ตกระมัง ?
แค่มองไม่ไกลนัก สามารถเห็นสะพานรถไฟ 2 แห่ง และสะพานรถยนต์อีก 2 แห่งด้วยสิ
ยี่ห้อนี้ คงไม่ต้องบอกนะครับ เป็นอาคารพิพิธภัณฑ์ประวัติ
ศาสตร์ของบริษัท
ผ่านย่านสถานีอันใหญ่โต แต่จำไม่ได้ว่าเป็นสถานีใด ?
และอีกแห่งครับ แฟนรถไฟคงชอบ
สภาพภายในตู้โดยสาร ก่อนที่ชาวคณะจะลงปลายทาง
มองแค่ป้ายชื่อสถานีก็พอรู้
แล้วนะครับ
ขณะรอขึ้นรถไฟ Local Train ไปยังสถานีคานายา
กับผู้โดยสารรายอื่นที่รอขึ
้นรถเช่นกัน
มาล่ะครับ ขบวนรถ Local Train สายโทไคโด ที่จะเดินทางไปยังสถานีคานา
ยา
เส้นทางรถไฟ local train โทไดโด ช่วงสถานีฮามามัตสึ - คานายา
แล้วต่อด้วยขบวนรถไฟของบริษ
ัท โออิกาวะ จากสถานีคานายา ไปยังสถานีชิน คานายา ซึ่งเส้นทางสายนี้เป็นของบริษัท
รถไฟเอกชน เพิ่งเคยขึ้นตอนนี้แหละ
ผู้คนยังว่างอยู่ เพราะเป็นช่วงเช้าและสถานีต
้นทาง
ดูความสะอาดเอี่ยมภายในตัวร
ถเขาบ้างเป็นไร ?
ป้ายบอกสถานีบนเส้นทางตลอดส
าย และอัตราค่าโดยสาร ไม่ผิดเพี้ยนไปจากขบวนรถของ
กลุ่มบริษัท JR ผมคิดว่า ขบวนนี้คงให้บริการผู้โดยสารที่มาช
มการแสดงที่พิพิธภัณฑ์รถจัก
รสถานีชิน คานายา โดยเฉพาะ
เส้นทางช่างแสนสั้นสำหรับชา
วคณะ แค่สถานีเดียวเท่านั้น
ช่วงแรก จะขนานกับเส้นทางสายโทไคโดของ JR ไปก่อน
จากนั้น จะแยกซ้ายไปตามเส้นทางของบร
ิษัท สู่สถานี ชิน คานายา
ราวอึดใจเดียว ก็เข้าสู่สถานี ชิน คานายาแล้ว
ยังใช้ห่วงทางสะดวกอยู่ด้วย
พอมาถึงชานชาลาสถานีชิน คานายา ก็เห็นขบวนรถพิเศษจอดอยู่ที
่รางว่างในย่านสถานีแล้ว แถมรถจักรที่หาซื้อมาสะสมนั
้น สามารถใช้การได้ดีทุกคันอีก
ด้วย
มีแฟนคลับรถไฟชาวญี่ปุ่นเริ
่มทะยอยมาบ้างแล้ว แต่ยังไม่ถึงเวลาเปิดงานครั
บ โดยใช้รถจักรไอน้ำประวัติศา
สตร์ทำขบวนไปยังสถานีเซ็นสุซึ่งเป็นปลายทาง
จากป้ายประชาสัมพันธ์ภายในอ
าคารสถานี จะมีบาร์โค้ตให้โหลดฟังคลิป
เสียงรถจักรที่ระบุอีกด้วย ไม่เชื่อก็ลองดูสิ
แผ่นที่สองครับ
และแผ่นสุดท้าย ผมคิดว่าประธานบริษัทรถไฟนี้ คงเป็นนักสะสมตัวยงเลยล่ะ
หลังจากนั้น ชาวคณะชวนกันเดินไปยังลานแส
ดงและโรงรถจักรที่ตั้งอยู่ใ
กล้ๆ สถานีโดยไม่รอช้า
เจอกับรถจักรไฟฟ้า รุ่น E 102 ซึ่งถือว่าเป็นรถจักรรุ่นปู
่ของเด็กสมัยนี้ เห็นว่าเป็นรุ่นปู่แบบนั้น แต่ยังใช้การได้ดีมากๆ ทีเดียว เพราะพ่วงท้ายขบวนรถประวัติ
ศาสตร์นำกลับมายังต้นทางอีก
ด้วย
ดูจากตัวจริง เสียงจริงดีกว่าครับ
เจอคุณปู่ C 12 อีกคันหนึ่งครับ แต่วันนี้ จอดอยู่ที่แท่นกลับรถจักร ไม่มีทีท่าจะเข้าเวรปฏิบัติ
หน้าที่แต่อย่างใด
ดูบั้นท้าย ไม่พ่วงรถลำเลียงอย่างที่เร
าเคยเห็น แสดงว่าใช้งานเฉพาะช่วงทางร
ะยะใกล้เท่านั้น
มีป้ายบอกผังลานแสดงรถจักรใ
ห้เห็นด้วยครับ
มองดูปู่ C 56 44 เห็นพนักงานกำลังสาละวนเติม
น้ำ เติมถ่านหินเร่งทำสตีมเป็นก
ารใหญ่ ก่อนที่จะเข้าทำขบวน
ดูบรรยากาศการอุ่นเครื่องกั
นสักนิดนะครับ
อาจเป็นเพราะชาวคณะมาถึงเช้
าเกินไปก็ได้ จึงกลับไปตั้งหลักยังอาคารแ
สดงโมเดลและภายในสถานี ชิน คานายา ก่อนเวลาแสดงจริงต่อไป
ส่วนคุณอรรณพนั้น ขอตัวไปหาซื้อน้ำดื่มเพราะคอแห้งแต่เช้าแล้ว ก่อนที่จะกลับมาสมทบกับชาวค
ณะอีกครั้งหนึ่ง
อาคารหลังนี้ เป็นที่แสดงโมเดลรถไฟให้นัก
ท่องเที่ยวได้ชม แต่มีขนาดเล็กกว่าพิพิธภัณฑ
์รถไฟที่โอมิยะ
พอเข้าไปข้างในก็ทึ่งกับงาน
ทำโมเดล ซึ่งรวมรถจักรไอน้ำประวัติศ
าสตร์ของญี่ปุ่นไว้ด้วยกัน
เข้าไปดูใกล้ๆ กันหน่อย คงไม่ต้องอธิบายซ้ำนะครับ เพราะเราเห็นมาแล้ว
สำคัญอยู่ที่ C 56 คันนี้ สมัยยังประจำการอยู่ที่การร
ถไฟฯ แต่วันนี้ ชาวคณะได้ดั้นด้นมาดูตัวจริ
งกันถึงถิ่น
ญาติตระกูลเดียวกันครับ C 12 แต่นิยมใช้ทำขบวนรถในระยะทา
งสั้นๆ หรือทำเป็นรถจักรสับเปลี่ยน
ขบวนรถในย่านสถานี
โมเดลของสถานี ชิน คานายา
อันนี้ไม่จำลอง แต่เป็นไฟหน้ารถจักรไอน้ำใน
สมัยก่อน
โมเดลรถจักรไอน้ำรุ่น D 51 ญาติของรถจักรรุ่น "มิกาโด" ของการรถไฟฯ
รถจักรไอน้ำใช้งานตามโรงงาน
อุตสาหกรรม หรือบริษัททำไม้ โดยใช้พลังไอน้ำดันลูกสูบไป
หมุนเพลาล้อ เช่นเครื่องยนต์เรือเดินทะเ
ลในสมัยก่อน
ขบวนรถโดยสารใช้พลังไฟฟ้า แทนเครื่องยนต์ดีเซล
น่าสนใจมาก เห็นจะเป็นโมเดลรถไฟซึ่งมีข
บวนรถหลากหลายวิ่งกันขวักไข
ว่ ที่อยู่ในฝันของแต่ละคน รวมทั้งตัวผมด้วย
เห็นแล้วยังนึกๆ อยู่ว่า ทำไมเราไม่เอารางเก่าของรถไ
ฟสายแม่กลอง หรือสายน้ำตก มาทำเป็นของที่ระลึกแบบนี้บ
้างหนอ ? ปล่อยให้สูญหายไปตามกาลเวลา
น่าเสียดายมากๆ
อ.วิรัตน์ เสนอว่า เพื่อไม่ให้วุ่นวายล่าช้าตอ
นขากลับ ขอให้แต่ละคนจัดแจงซื้อตั๋ว
รถไฟกลับไปยังสถานีคานายาด้
วย
เนื่องจากผมได้เก็บรูปเรียบ
ร้อยแล้ว พอซื้อตั๋วเสร็จ กะว่าจะเดินออกไปที่ชานชาลาแต่ประตูถูกปิดไว้ นายสถานีบอกเป็นภาษาญี่ปุ่น
ทำนองว่า จะเปิดประตูให้ก่อนขบวนรถจะ
เข้ามาถึงเพียงเล็กน้อย ต้องเดินเกร่ภายในอาคารส
ถานีนั่นเอง
ชมป้ายโฆษณาไปพลางๆ ที่ญี่ปุ่น มักใช้การ์ตูนในการสื่อความ
หมายการผู้ชมครับ
แม้แต่ป้ายเตือน ห้ามเล่นริมทางรถไฟ
มีตู้ไปรษณีย์รุ่นคลาสสิกตั
้งไว้หน้าอาคารสถานีด้วย คิดว่าคงใช้งานอยู่น่า
จู่ๆ นายสถานีเปิดประตูให้ผู้โดย
สารที่ซื้อตั๋วแล้วออกไปยัง
ชานชาลาและหนึ่งในจำนวนนั้นมีผมที่
ติดหลังแหออกมาด้วยสิ
ปรากฎว่าเขาขึ้นขบวนรถขาล่องไปจนหมด
เหลือผมค้างอยู่คนเดียวที่ช
านชาลา เหอ... เหอ...
ครั้นจะกลับเข้าไป เขาก็ปิดประตูแล้ว เลยมองโน่น ถ่ายรูปนี่ไปพลางๆ
เป็นประแจมือเสือหมอบแบบญี่
ปุ่น ท่าทางจะนิรภัยกว่าของบ้านเ
รา ที่อาจตีกลับได้ เวลารถจักรหนักๆ วิ่งผ่าน
เดินเตร็ดเตร่ได้ไม่นานนัก รถจักรไฟฟ้าที่พ่วงกับขบวนร
ถพิเศษวันนี้ ได้นำขบวนออกจากย่าน ถอยหลังเข้าเทียบชานชาลาสถา
นี
เป็นตู้โดยสารรุ่นป้าโอชินย
ังสาวกระมัง ?
เป็นรุ่นเก่าจริงๆ ด้วย จากที่แอบมองลอดหน้าต่าง จะเห็นที่เขี่ยบุหรี่ยังติด
ไว้อยู่เลย เพราะตอนนี้ มีกฎหมายห้ามสูบบุหรี่บนขบว
นรถแล้วครับ
โอบะซังที่เป็น พรร.ประจำรถ เห็นผมมยืนเก้ๆ กังๆ ที่ชานชาลาสถานี เอ่ยถามว่าผมจะไปไหน เลยตอบเป็นภาษาประกิตไปว่า
" I waiting my friend "
รอดตัวไปได้หนึ่งมื้อ ทราบภายหลังว่าทั้ง อ.วิรัตน์ และคุณอรรณพ กำลังหามุมเหมาะๆ เพื่อถ่ายคลิปครั้งสำคัญนี้
แล้วปู่ C 56 44 แล่นเข้ามาต่อขบวน คราวนี้เป็นทีของผมบ้างล่ะ เพราะเป็นคนเดียวที่อยู่บนช
านชาลาขณะนั้น
แถมยังได้ภาพ พขร.กับ ชค. ขณะตรวจสอบความเรียบร้อยบนร
ถจักรด้วยสิ
ก่อนที่จะลงจากรถจักรไปตรวจ
สอบความเรียบร้อยของช่วงล่า
งรถ
ตอนนี้ ทางสถานีได้ปล่อยให้ผู้โดยส
ารมาขึ้นรถ ทำให้ผมไม่เหงาแล้วล่ะ หลายรายคงทำอย่างที่แฟนรถไฟไทยทำ คือไปจ้องมอง และถ่ายรูปกันคึกคักทีเดียว
ผู้โดยสารต่างเข้าไปนั่งตาม
ที่นั่งซึ่งได้จับจองไว้ ในขณะที่พนักงานได้นำรถเข็น
บรรจุของว่างและเครื่องดื่ม
ขึ้นรถไปให้บริการด้วย
เท่าที่สังเกต พื้นตู้โดยสารจะเป็นไม้ล้วน
ๆ ไม่มีแผ่นไวนิลปูทับแต่ประก
ารใด
พอได้เวลา ขบวนรถไฟพิเศษชักหวีดแล่นออ
กจากสถานีชิน คานายา โดยมีพี่น้องชาวบ้านและญาติ
มิตรที่มาส่ง โบกมือให้เป็นทิวแถว
มองไกลๆ ไปทางโรงรถจักร ยังมีรถจักรไอน้ำรุ่น C 56 จอดติดเตาควันกรุ่นอีกหนึ่ง
คัน เข้าใจว่าคงรับเวรช่วงบ่าย หลังจากขบวนเช้าวันนี้ได้กล
ับมาจากปลายทางแล้ว
หลังจากไปส่งขบวนรถพิเศษออก
เดินทางสมความตั้งใจแล้ว ชาวคณะก็เดินทางกลับไปยั
งสถานีคานายา เพื่อเดินทางกลับไปที่เมือง
นาโกยาต่อไป
Create Date : 10 มิถุนายน 2563
Last Update : 10 มิถุนายน 2563 22:01:47 น.
0 comments
Counter : 1080 Pageviews.
Share
Tweet
ชื่อ :
* blog นี้ comment ได้เฉพาะสมาชิก
Comment :
*ส่วน comment ไม่สามารถใช้ javascript และ style sheet
owl2
Location :
กรุงเทพฯ Thailand
[ดู Profile ทั้งหมด]
ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
Smember
ผู้ติดตามบล็อก : 3 คน [
?
]
Friends' blogs
Webmaster - BlogGang
[Add owl2's blog to your web]
Links
Bloggang.com
Pantip.com
|
PantipMarket.com
|
Pantown.com
| © 2004
BlogGang.com
allrights reserved.