Group Blog
OWL2's blog
<<
มิถุนายน 2563
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
4 มิถุนายน 2563
Konnichiwa Nihon no densha (22)
All Blogs
น่าน น้าน นาน (ตอนจบ)
น่าน น้าน นาน (4)
น่าน น้าน นาน (3)
น่าน น้าน นาน (2)
น่าน น้าน นาน (1)
Konnichiwa Nihon no densha (14)
Konnichiwa Nihon no densha (ตอนจบ)
Konnichiwa Nihon no densha (24)
Konnichiwa Nihon no densha (23)
Konnichiwa Nihon no densha (22)
Konnichiwa Nihon no densha (21)
Konnichiwa Nihon no densha (20)
Konnichiwa Nihon no densha (19)
Konnichiwa Nihon no densha (18)
Konnichiwa Nihon no densha (17)
Konnichiwa Nihon no densha (16)
Konnichiwa Nihon no densha (15)
Konnichiwa Nihon no densha (13)
Konnichiwa Nihon no densha (12)
Konnichiwa Nihon no densha (11)
Konnichiwa Nihon no densha (10)
Konnichiwa Nihon no densha (9)
Konnichiwa Nihon no densha (8)
Konnichiwa Nihon no densha (7)
Konnichiwa Nihon no densha (6)
Konnichiwa Nihon no densha (5)
Konnichiwa Nihon no densha (4)
Konnichiwa Nihon no densha (3)
Konnichiwa Nihon no densha (2)
Konnichiwa Nihon no densha (1)
มิงกาลาบาห์ เมียนมาร์ ( ตอนจบ )
มิงกาลาบาห์ เมียนมาร์ ( 12 )
มิงกาลาบาห์ เมียนมาร์ ( 11 )
มิงกาลาบาห์ เมียนมาร์ ( 10 )
มิงกาลาบาห์ เมียนมาร์ ( 9 )
มิงกาลาบาห์ เมียนมาร์ ( 8 )
มิงกาลาบาห์ เมียนมาร์ ( 7 )
มิงกาลาบาห์ เมียนมาร์ ( 6 )
มิงกาลาบาห์ เมียนมาร์ ( 5 )
มิงกาลาบาห์ เมียนมาร์ ( 4 )
มิงกาลาบาห์ เมียนมาร์ ( 3 )
มิงกาลาบาห์ เมียนมาร์ ( 2 )
มิงกาลาบาห์ เมียนมาร์ ( 1 )
พินิจงานรถไฟสายอีสานด้วยค่าโดยสารเพียง 50 บาท (ตอนจบ)
พินิจงานรถไฟสายอีสานด้วยค่าโดยสารเพียง 50 บาท (5)
พินิจงานรถไฟสายอีสานด้วยค่าโดยสารเพียง 50 บาท (4)
พินิจงานรถไฟสายอีสานด้วยค่าโดยสารเพียง 50 บาท (3)
พินิจงานรถไฟสายอีสานด้วยค่าโดยสารเพียง 50 บาท (2)
พินิจงานรถไฟสายอีสานด้วยค่าโดยสารเพียง 50 บาท (1)
ล่องใค้ ไปอีสาน (ตอนสุดท้าย)
ล่องใต้ ไปอีสาน ( ๑๒ )
ล่องใต้ ไปอีสาน ( ๑๑ )
ล่องใต้ ไปอีสาน ( ๑๐ )
ล่องใต้ ไปอีสาน ( ๙ )
ล่องใต้ ไปอีสาน ( ๘ )
ล่องใต้ ไปอีสาน ( ๗ )
ล่องใต้ ไปอีสาน ( ๖ )
ล่องใต้ ไปอีสาน ( ๕ )
ล่องใต้ ไปอีสาน ( ๔ )
ล่องใต้ ไปอีสาน ( ๓ )
ล่องใต้ ไปอีสาน ( ๒ )
ล่องใต้ ไปอีสาน ( ๑ )
ทานตะวัน Express (2)
ทานตะวัน Express (1)
xinchao Vietnam (ตอนจบ)
Xinchao Vietnam ( 13 )
Xinchao Vietnam ( 12 )
Xinchao Vietnam ( 11 )
Xinchao Vietnam ( 10 )
Xinchao Vietnam ( 9 )
Xinchao Vietnam ( 8 )
Xinchao Vietnam ( 7 )
Xinchao Vietnam ( 6 )
Xinchao Vietnam ( 5 )
Xinchao Vietnam ( 4 )
Xinchao Vietnam ( 3 )
Xinchao Vietnam ( 2 )
Xinchao Vietnam ( 1 )
Meeting สุดชายแดนบูรพา (ตอนสุดท้าย)
Meeting สุดชายแดนบูรพา (4)
Meeting สุดชายแดนบูรพา (3)
Meeting สุดชายแดนบูรพา (2)
Meeting สุดชายแดนบูรพา (1)
สะบายดี...จำปาสัก (ตอนสุดท้าย)
สะบายดี...จำปาสัก (ตอนที่ 5)
สะบายดี...จำปาสัก (ตอนที่ 4)
สะบายดี...จำปาสัก (ตอนที่ 3)
สะบายดี...จำปาสัก (ตอนที่ 2)
สะบายดี...จำปาสัก (ตอนที่ 1)
กุลวาขาว แมคคิลวารี
เที่ยวไปกับทัวร์ Circular Train (ตอนสุดท้าย)
เที่ยวไปกับทัวร์ Circular Train (ตอนที่ 6)
เที่ยวไปกับทัวร์ Circular Train (ตอนที่ 5)
เที่ยวไปกับทัวร์ Circular Train (ตอนที่ 4)
เที่ยวไปกับทัวร์ Circular Train (ตอนที่ 3)
เที่ยวไปกับทัวร์ Circular Train (ตอนที่ 2)
เที่ยวไปกับทัวร์ Circular Train (ตอนที่ 1)
เที่ยวสุพรรณ....กับด่วนขุนแผน ตอนที่ 3 (ส่งท้าย)
เที่ยวสุพรรณ....กับด่วนขุนแผน ตอนที่ 2
เที่ยวสุพรรณ....กับด่วนขุนแผน ตอนที่ 1
เที่ยวฉ่ำฝน (ที่ไม่ใช่ธรรมดา) ตอนที่ 6 (สุดท้าย)
เที่ยวฉ่ำฝน (ที่ไม่ใช่ธรรมดา) ตอนที่ 5
เที่ยวฉ่ำฝน (ที่ไม่ใช่ธรรมดา) ตอนที่ 4
เที่ยวฉ่ำฝน (ที่ไม่ใช่ธรรมดา) ตอนที่ 3
เที่ยวฉ่ำฝน (ที่ไม่ใช่ธรรมดา) ตอนที่ 2
เที่ยวฉ่ำฝน (ที่ไม่ใช่ธรรมดา) ตอนที่ 1
ก่อนที่จะมาเป็นถนนวิภาวดีรังสิต
เรื่องราวในอดีตของถนนมิตรภาพ : กรุงเทพฯ - หนองคาย ใน 8 ชั่วโมง
สารคดีสั้น...จาก "คนเมือง" (12)
สารคดีสั้น...จาก "คนเมือง" (11)
สารคดีสั้น...จาก "คนเมือง" (10)
สารคดีสั้น...จาก "คนเมือง" (9)
สารคดีสั้น...จาก "คนเมือง" (8)
สารคดีสั้น...จาก "คนเมือง" (7)
สารคดีสั้น...จาก "คนเมือง" (6)
สารคดีสั้น...จาก "คนเมือง" (5)
สารคดีสั้น...จาก "คนเมือง" (4)
สารคดีสั้น...จาก "คนเมือง" (3)
สารคดีสั้น...จาก "คนเมือง" (2)
สารคดีสั้น...จาก "คนเมือง" (1)
Konnichiwa Nihon no densha (22)
ถึงเวลาล่องใต้ประเทศญี่ปุ่
นต่อไปครับ
จากสถานีเกียวโต ชาวคณะได้ขึ้นรถด่วนชิน กังเซ็น ฮิคาริ ตามเส้นทางสายนิว โทไคโด โดยตามแผนตอนแรก จะไปต่อชิน กังเซ็น ซากุระ ที่สถานีนิว โกเบ
บรรยากาศขณะรอรถด่วนชิน กังเซ็น ฮิคาริ ที่สถานีเกียวโต
ผู้โดยสารในสายวันนั้น
ไปล่ะหนอ เมืองเกียวโต วันนี้ขอแค่ผ่าน
ออกนอกเมืองอีกครั้งหนึ่ง แต่ระยะทางระหว่างเกียวโตกั
บโอซาก้านั้นไม่ไกลนัก
บริษัทระหว่างทาง
เข้าเขตเมืองโอซาก้า
สถานีชิน โอซาก้า เราจะลงที่นี่แหละ ซึ่ง อ.วิรัตน์ ได้ปรับแผนลงก่อนหน้าที่สถา
นีชิน โอซาก้า อันเป็นต้นทางของรถด่วนชิน
กังเซ็น ซากุระ เพราะไม่ต้องเสียเวลาลากกระ
เป๋าวิ่งไปขึ้นที่สถานีชิน โกเบ โดยยอมนั่งตู้โดยสารที่ไม่ส
ำรองที่แทน แต่ยังมีที่ว่างให้นั่งได้เ
หลือเฟือ เพราะเป็นต้นทางนั่นแหละ
ขบวนรถด่วนชิน กังเซ็น ซากุระ นี้ จะไปตามเส้นทางสายนิว ซันโย มีปลายทางที่สถานีฮากาต
ะ แต่ชาวคณะจะลงที่สถานีชิน ยามากูจิ เพื่อลองบรรยากาศนั่งขบวนรถไอน้ำประวัติศาสตร์ซึ่งทำขบวนโดยรถจักรไอน้ำรุ่น D 51 ญาติใกล้เคียงกับรถจักรไอน้ำรุ่น "มิกาโด" ในบ้านเรา
ภายในตู้โดยสารขบวนรถด่วนชิ
น กังเซ็น ซากุระ
ย่านสถานีชิน โอซาก้า
ใหญ่โตจนไม่กล้าเดาครับ
โรงงานซ่อมบำรุงในย่านสถานี
ข้ามแม่น้ำกันซากิ
ข้ามทางด่วนหมายเลข E 1
ข้ามแม่น้ำมูโกะ ก่อนจะมุ่งตรงไปยังโกเบ
ข้ามแม่น้ำยากูเก็น เมืองโอคายามา
ข้ามทางด่วนหมายเลข E 2
ย่านสถานีฮิโรชิมา ได้แค่ผ่านเท่านั้นครับ
ทำได้เพียงชื่นชมผ่านหน้าต่
างรถ ด้วยเวลามีจำกัด
แถมรถจักรให้อีก 5 คันครับ
สถานีชิน ยามากูจิ ยามบ่าย ชาวคณะจะแวะลงที่นี่ก่อน
อ.วิรัตน์ ขอตรวจเวลาเดินรถไปยังสถานี
ยามากูจิกันหน่อย
ย่านสถานีชิน ยามากูจิ เห็นรถงานจอดอยู่หลายขบวนเล
ย
เห็นคันสีเหลืองนี่ ใจนึกก่อนว่าจะเป็นรถตรวจสภ
าพทางทุกทีครับ มาเห็นกระทู้ตอนหลังว่า เป็นขบวนรถ Local Train ของบริษัท JR West
แต่ Local train ที่จะไปสถานียามากูจินั้น จอดอยู่ที่นี่
มีผู้โดยสารค่อนข้างหนาตาที
เดียว เพราะเป็นทางสายแยกไปเมืองใ
หญ่ข้างในด้วยสิ
มีป้ายโฆษณาชมพิพิธภัณฑ์เรื
อยามาโตะ เรือรบลำใหญ่ที่สุดในโลกของ
ญี่ปุ่น สมัยสงครามโลกครั้งที่ 2
จากภาพนี้ ทำให้ผมนึกถึงชานอำนวยความส
ะดวกของผู้ใช้รถเข็น ระหว่างตัวรถกับชานชาลาสถาน
ีขึ้นมาทันที
อีกไม่นาน รถไฟบ้านเราต้องมีไว้ประจำแ
น่ๆ ต่อให้เป็นชานชาลาสูงก็เถอะ รวมทั้งความพร้อมของพนักงาน
ประจำขบวนรถและทางสถานี
อ.วิรัตน์ พาชาวคณะไปอยู่ทางด้านหน้าข
บวนรถ เพื่อความสะดวกในการถ่ายภาพ
หากต้องการ
แค่ 5 สถานี ชาวคณะได้มาถึงสถานียามากูจ
ิ เพื่อรอโดยสารขบวนรถไอน้ำปร
ะวัติศาสตร์กลับไปยังสถานีช
ิน ยามากูจิ
ดูบรรยากาศค่อนข้างเงียบเหง
านะครับ กับสถานีบนทางแยกแบบนี้
ระหว่างที่รอขบวนรถเข้า ก็เดินสำรวจฆ่าเวลาไปพลางๆ
และนั่งพักตรงชานชาลาสถานีน
ั่นแหละ
มาแล้วไง ขบวนรถไอน้ำประวัติศาสตร์ ทำขบวนโดยรถจักร D 51 ด้วยสิ ซึ่งเป็นญาติกับรถจักรไอน้ำ
รุ่น "มิกาโด" ของบ้านเรา คราวนี้ขอเป็นผู้โดยสารบ้าง
ภายในตู้โดยสารถึงแม้จะเก่า
แต่ได้รับการบำรุงไว้เป็นอย
่างดี และมีเครื่องฮีตเตอร์ให้ด้ว
ยสิ ด้วยเหตุผลดังกล่าว บานหน้าต่างกระจกจึงถูกปิดไ
ว้ตลอดเวลาทำขบวน
แถมด้วยปลั๊กเสียบที่ชาร์จอ
ุปกรณ์ต่างๆ ให้อีกด้วย ซึ่งสมัยก่อนคงไม่มีแน่ๆ
ถ้าเป็นบ้านเราล่ะก็ คงมีรถมอเตอร์ไซต์จอดเกะกะ น้ำเฉอะแฉะ แถมขยะอีกกองใหญ่ ฮ่า...
เริ่มมีผู้โดยสารลงจากขบวนร
ถกันล่ะ
ผู้คนริมทางมักจะโบกมือให้ค
รับ น่าจะเป็นธรรมเนียมของชาวญี
่ปุ่นไปแล้ว
แปลงดอกไม้ริมทาง
จวนถึงสถานีชิน ยามากูจิแล้วล่ะ
ขบวนรถ Local Train ที่ย่านสถานี
อีกขบวนหนึ่งครับ
บรรดาแฟนคลับ ต่างรุมเก็บภาพหลังจากขบวนร
ถมาถึงสถานี
แม้แต่แฟนคลับตัวน้อยคนนี้ด
้วย
ก่อนที่พนักงานตัดพ่วง นำหัวรถจักรไปเก็บ
ส่งท้ายกับภาพขบวนรถ Local Train ก่อนขึ้นไปที่ชานชาลาชั้นบน
ก่อนที่จะต่อรถด่วนชิน กังเซ็น โคดามะ เดินทางไปยังสถานีฮากาตะ บนเกาะกิวชู ต่อ
ไป
ขนาดเป็นชานชาลารถด่วน ชิน กังเซ็น ยังมีพนักงานถือธงเขียว ธงแดง อยู่นะ
อย่าคิดว่าไม่มีเชียว
ขบวนรถด่วน ชิง กังเซ็น โคดามะ ไปสถานีฮากาตะ กำลังเข้าเทียบชานชาลา
ทางฝั่งโน้น ก็มีเทียบเข้าชานชาลาเหมือน
กัน
คราวนี้ระยะทางค่อนข้างไกลล่ะครับ ข้ามไปยังเกาะกิวชูทีเดียว
สภาพภายในขบวนรถยามบ่ายวันน
ั้น ที่มืดเพราะอยู่ในอุโมงค์ลอ
ดเทือกเขาอันยาวเหยียด เพื่อหลีกชุมชนเมืองต่างๆ ข้างนอกด้วย
ผ่านเมืองชิโมโนเซกิ ใต้สุดของเกาะฮอนชูแล้วครับ เป็นเมืองท่าสำคัญของญี่ปุ่
นเชื่อมระหว่างเมืองปูซาน ประเทศเกาหลีใต้ เห็นโรงงานของบริษัท นิปปอนสตีล ตั้งอยู่ข้างทางด้วย
ขบวนรถขึ้นสะพานข้ามช่องแคบ
คัมมง ระหว่างเกาะฮอนชูกับเกาะกิว
ชู ส่วนขบวนรถ JR ทั่วไป จะลอดอุโมงค์คัมมง
สถานีโคกุระ เราเข้ามาที่เกาะกิวชูแล้ว
ข้ามแม่น้ำทาตาระ เขตเมืองฟูกุโอกะ
ถึงสถานีฮากาตะ
ขอหยุดเก็บภาพสวยๆ ไว้สักนิด
ก่อนที่จะพากันเข้าสู่โซนร้
านอาหารก่อนอื่น เพราะได้เวลากินแล้ว
บรรยากาศสวยงาม เหมือนเดินตามห้างทีเดียว
หลังจากอิ่มท้องแล้ว เดินผ่านภายในอาคารสถานีล่ะ
ครับ
มีแผนที่แนะนำบริเวณใกล้เคี
ยงสถานีให้ผู้เดินทางได้ทรา
บหลายแห่ง
ขอเถลไถลผ่านบริเวณร้านจำหน
่ายของที่ระลึก เพือหมายตาซื้อหากลับบ้าน
ก่อนที่จะเข้าสู่ที่พักในค่ำวันนี้
Create Date : 04 มิถุนายน 2563
Last Update : 4 มิถุนายน 2563 22:47:55 น.
0 comments
Counter : 914 Pageviews.
Share
Tweet
ชื่อ :
* blog นี้ comment ได้เฉพาะสมาชิก
Comment :
*ส่วน comment ไม่สามารถใช้ javascript และ style sheet
owl2
Location :
กรุงเทพฯ Thailand
[ดู Profile ทั้งหมด]
ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
Smember
ผู้ติดตามบล็อก : 3 คน [
?
]
Friends' blogs
Webmaster - BlogGang
[Add owl2's blog to your web]
Links
Bloggang.com
Pantip.com
|
PantipMarket.com
|
Pantown.com
| © 2004
BlogGang.com
allrights reserved.