Group Blog
OWL2's blog
<<
พฤษภาคม 2563
>>
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
21 พฤษภาคม 2563
Konnichiwa Nihon no densha (20)
All Blogs
น่าน น้าน นาน (ตอนจบ)
น่าน น้าน นาน (4)
น่าน น้าน นาน (3)
น่าน น้าน นาน (2)
น่าน น้าน นาน (1)
Konnichiwa Nihon no densha (14)
Konnichiwa Nihon no densha (ตอนจบ)
Konnichiwa Nihon no densha (24)
Konnichiwa Nihon no densha (23)
Konnichiwa Nihon no densha (22)
Konnichiwa Nihon no densha (21)
Konnichiwa Nihon no densha (20)
Konnichiwa Nihon no densha (19)
Konnichiwa Nihon no densha (18)
Konnichiwa Nihon no densha (17)
Konnichiwa Nihon no densha (16)
Konnichiwa Nihon no densha (15)
Konnichiwa Nihon no densha (13)
Konnichiwa Nihon no densha (12)
Konnichiwa Nihon no densha (11)
Konnichiwa Nihon no densha (10)
Konnichiwa Nihon no densha (9)
Konnichiwa Nihon no densha (8)
Konnichiwa Nihon no densha (7)
Konnichiwa Nihon no densha (6)
Konnichiwa Nihon no densha (5)
Konnichiwa Nihon no densha (4)
Konnichiwa Nihon no densha (3)
Konnichiwa Nihon no densha (2)
Konnichiwa Nihon no densha (1)
มิงกาลาบาห์ เมียนมาร์ ( ตอนจบ )
มิงกาลาบาห์ เมียนมาร์ ( 12 )
มิงกาลาบาห์ เมียนมาร์ ( 11 )
มิงกาลาบาห์ เมียนมาร์ ( 10 )
มิงกาลาบาห์ เมียนมาร์ ( 9 )
มิงกาลาบาห์ เมียนมาร์ ( 8 )
มิงกาลาบาห์ เมียนมาร์ ( 7 )
มิงกาลาบาห์ เมียนมาร์ ( 6 )
มิงกาลาบาห์ เมียนมาร์ ( 5 )
มิงกาลาบาห์ เมียนมาร์ ( 4 )
มิงกาลาบาห์ เมียนมาร์ ( 3 )
มิงกาลาบาห์ เมียนมาร์ ( 2 )
มิงกาลาบาห์ เมียนมาร์ ( 1 )
พินิจงานรถไฟสายอีสานด้วยค่าโดยสารเพียง 50 บาท (ตอนจบ)
พินิจงานรถไฟสายอีสานด้วยค่าโดยสารเพียง 50 บาท (5)
พินิจงานรถไฟสายอีสานด้วยค่าโดยสารเพียง 50 บาท (4)
พินิจงานรถไฟสายอีสานด้วยค่าโดยสารเพียง 50 บาท (3)
พินิจงานรถไฟสายอีสานด้วยค่าโดยสารเพียง 50 บาท (2)
พินิจงานรถไฟสายอีสานด้วยค่าโดยสารเพียง 50 บาท (1)
ล่องใค้ ไปอีสาน (ตอนสุดท้าย)
ล่องใต้ ไปอีสาน ( ๑๒ )
ล่องใต้ ไปอีสาน ( ๑๑ )
ล่องใต้ ไปอีสาน ( ๑๐ )
ล่องใต้ ไปอีสาน ( ๙ )
ล่องใต้ ไปอีสาน ( ๘ )
ล่องใต้ ไปอีสาน ( ๗ )
ล่องใต้ ไปอีสาน ( ๖ )
ล่องใต้ ไปอีสาน ( ๕ )
ล่องใต้ ไปอีสาน ( ๔ )
ล่องใต้ ไปอีสาน ( ๓ )
ล่องใต้ ไปอีสาน ( ๒ )
ล่องใต้ ไปอีสาน ( ๑ )
ทานตะวัน Express (2)
ทานตะวัน Express (1)
xinchao Vietnam (ตอนจบ)
Xinchao Vietnam ( 13 )
Xinchao Vietnam ( 12 )
Xinchao Vietnam ( 11 )
Xinchao Vietnam ( 10 )
Xinchao Vietnam ( 9 )
Xinchao Vietnam ( 8 )
Xinchao Vietnam ( 7 )
Xinchao Vietnam ( 6 )
Xinchao Vietnam ( 5 )
Xinchao Vietnam ( 4 )
Xinchao Vietnam ( 3 )
Xinchao Vietnam ( 2 )
Xinchao Vietnam ( 1 )
Meeting สุดชายแดนบูรพา (ตอนสุดท้าย)
Meeting สุดชายแดนบูรพา (4)
Meeting สุดชายแดนบูรพา (3)
Meeting สุดชายแดนบูรพา (2)
Meeting สุดชายแดนบูรพา (1)
สะบายดี...จำปาสัก (ตอนสุดท้าย)
สะบายดี...จำปาสัก (ตอนที่ 5)
สะบายดี...จำปาสัก (ตอนที่ 4)
สะบายดี...จำปาสัก (ตอนที่ 3)
สะบายดี...จำปาสัก (ตอนที่ 2)
สะบายดี...จำปาสัก (ตอนที่ 1)
กุลวาขาว แมคคิลวารี
เที่ยวไปกับทัวร์ Circular Train (ตอนสุดท้าย)
เที่ยวไปกับทัวร์ Circular Train (ตอนที่ 6)
เที่ยวไปกับทัวร์ Circular Train (ตอนที่ 5)
เที่ยวไปกับทัวร์ Circular Train (ตอนที่ 4)
เที่ยวไปกับทัวร์ Circular Train (ตอนที่ 3)
เที่ยวไปกับทัวร์ Circular Train (ตอนที่ 2)
เที่ยวไปกับทัวร์ Circular Train (ตอนที่ 1)
เที่ยวสุพรรณ....กับด่วนขุนแผน ตอนที่ 3 (ส่งท้าย)
เที่ยวสุพรรณ....กับด่วนขุนแผน ตอนที่ 2
เที่ยวสุพรรณ....กับด่วนขุนแผน ตอนที่ 1
เที่ยวฉ่ำฝน (ที่ไม่ใช่ธรรมดา) ตอนที่ 6 (สุดท้าย)
เที่ยวฉ่ำฝน (ที่ไม่ใช่ธรรมดา) ตอนที่ 5
เที่ยวฉ่ำฝน (ที่ไม่ใช่ธรรมดา) ตอนที่ 4
เที่ยวฉ่ำฝน (ที่ไม่ใช่ธรรมดา) ตอนที่ 3
เที่ยวฉ่ำฝน (ที่ไม่ใช่ธรรมดา) ตอนที่ 2
เที่ยวฉ่ำฝน (ที่ไม่ใช่ธรรมดา) ตอนที่ 1
ก่อนที่จะมาเป็นถนนวิภาวดีรังสิต
เรื่องราวในอดีตของถนนมิตรภาพ : กรุงเทพฯ - หนองคาย ใน 8 ชั่วโมง
สารคดีสั้น...จาก "คนเมือง" (12)
สารคดีสั้น...จาก "คนเมือง" (11)
สารคดีสั้น...จาก "คนเมือง" (10)
สารคดีสั้น...จาก "คนเมือง" (9)
สารคดีสั้น...จาก "คนเมือง" (8)
สารคดีสั้น...จาก "คนเมือง" (7)
สารคดีสั้น...จาก "คนเมือง" (6)
สารคดีสั้น...จาก "คนเมือง" (5)
สารคดีสั้น...จาก "คนเมือง" (4)
สารคดีสั้น...จาก "คนเมือง" (3)
สารคดีสั้น...จาก "คนเมือง" (2)
สารคดีสั้น...จาก "คนเมือง" (1)
Konnichiwa Nihon no densha (20)
พิพิธภัณฑ์รถไฟมืองเกียวโตแ
ห่งนี้ มีเรื่องราวที่เสนอคล้ายๆ กับพิพิธภัณฑ์แห่งอื่น แต่จะเน้นเรื่องไฮไลท์อื่นท
ี่แตกต่างออกไปบ้าง ส่วนใหญ่จะเสนอในรูปโมเดล เนื่องจากมีสถานที่ค่อนข้าง
จำกัด จึงขอนำเสนอผ่านไปก่อน
นอกจากเรื่องอื่นที่แตกต่าง
ออกไป ค่อยนำมาพูดกันในรายละเอียด
อีกทีหนึ่งครับ
ด้วยมีรถจักรเก่านำมาแสดงอย
ู่หลายคัน ทางพิพิธภัณฑ์จึงสร้างอาคาร
เพิ่มเติมนอกเหนือจากอาคารเ
ดิมซึ่งเคยเป็นโรงเก็บรถจัก
รของ JNR
สะดุดตากับรถจักรดีเซลรุ่น DD 54 เลยหยุดเก็บภาพกันก่อน
ขอเก็บภาพคุณอรรณพไว้เป็นที่ระลึกคู
่กับรถจักรดีเซลรุ่น DD 54
รวมทั้งตัวผมเองด้วยสิ ฮ่า...
ขอวิสาสะใกล้ชิดกับรถด่วนชิ
น กังเซ็นรุ่น 0 อีกหนเถอะน่า เคยเห็นแต่ในหนังมานานแล้ว
รถจักรไอน้ำรุ่นแรกที่ญี่ปุ
่นสร้างเอง ถึงแม้จะใช้ชิ้นส่วนหลายอย่
างจากอังกฤษก็ตาม
แผ่น nameplate บริษัทผู้สร้างรถจักร
แผ่นป้ายบอกชื่อขบวนรถไฟไปย
ังเมืองต่างๆ
พอเข้าไปในอาคาร เจอรถไฟรุ่นต่างๆ จอดอยู่เต็มลานโล่งล่ะ
ทั้งเก่าและใหม่ แต่บ้านเขาปลดประจำการ เพราะครบอายุใช้งานแล้ว
น่าอิจฉาเด็กบ้านเขา ที่มีโอกาสได้เห็น ได้เรียนรู้จากของจริง โดยพ่อแม่พามาตั้งแต่เล็ก
มีการบอกเล่าถึงต้นกำเนิดเค
รื่องจักรไอน้ำ ซึ่งใช้ในงานเหมืองถ่านหินข
องอังกฤษ
และนำมาใช้ในการขนส่งถ่านหิ
นแทนม้าที่นิยมกันแพร่หลายใ
นขณะนั้น
จนกระทั่งนำไปใช้ในการขนส่ง
ผู้โดยสารในเวลาต่อมา
นอกจากนั้น ยังนำเครื่องจักรไอน้ำมาติด
ตั้งบนเรือ เพื่อช่วยในการเดินทางนอกเห
นือจากการใช้ใบ จนทดแทนโดยสิ้นเชิง
ขบวนรถไฟสายแรกของญี่ปุ่น จากเทคโนโลยีของอังกฤษ เปิดเดินระหว่างเมืองโตเกีย
ว กับเมืองท่าโยโกฮามา
ที่นี่ ผมหมดข้อสงสัยแล้วว่าเป็นเค
รื่องแบบของพนักงานรถไฟหรือ
รถราง ? คำตอบคือพนักงานรถไฟครับ
สถานีรถไฟเกียวโต เมื่อเริ่มแรกที่รถไฟมาถึง
เส้นทางรถไฟของญี่ปุ่น ได้ขยายตัวอออกไปเรื่อยๆ ตามกาลเวลาที่ผ่านไป
รถจักรและล้อเลื่อนจากสหรัฐ
ฯ ใช้งานเส้นทางบนเกาะฮอกไกโด
ชุดประดับเครื่องแบบของผู้บ
ัญชาการรถไฟญี่ปุ่นในสมัยก่
อน
เข็มขัดของพนักงานรถไฟญี่ปุ
่นในอดีต
รถจักรไอน้ำรุ่นแรกที่ผลิตโ
ดยใช้เทคโนโลยีของญี่ปุ่นเอ
ง
ยุคทองของกิจการรถไฟญี่ปุ่น
หลังจากได้ควบรวมรถไฟของเอก
ชนหลายแห่งมารวมกันในอาณัติ
รถจักรไฟฟ้าถูกนำเข้ามาใช้ง
านในญี่ปุ่น
รถไฟฟ้าระหว่างเมือง ในยุคเริ่มแรก
รถไฟโดยสารระหว่างเมืองในอด
ีต
กิจการรถไฟญี่ปุ่นหลังสิ้นส
ุดสงครามโลกครั้งที่ 2 มีทั้งขบวนรถโดยสารทั่วไป และขบวนรถจัดเฉพาะสำหรับกอง
ทหารสหรัฐฯ ที่เข้ามายึดครองในขณะนั้น
สถานีรถไฟเกียวโตในยุคต่อมา
เครื่องแบบพนักงาน
กิจการรถไฟญี่ปุ่น ก่อนเข้าสู่ยุครถไฟความเร็ว
สูง
รถจักรไอน้ำจากอังกฤษ ที่ใช้งานระหว่างโตเกียว - โยโกฮามา
แผ่น nameplate แสดงยี่ห้อรถจักร
รถไฟฟ้าระหว่างเมือง ซึ่งได้รับความนิยมมากขึ้นท
ุกขณะ
รถสามล้อเครื่องบรรทุกสัมภา
ระภายในสถานี หน้าตาคิดว่าคุ้นๆ สำหรับเรานะ
รถไฟด่วน Limited Express Kuroshio ซึ่งทำความเร็วได้สูงถึง 120 กม./ชม.
เป็นไฮไลท์เลย์เอ้าท์ของพิพ
ิธภัณฑ์นี้ที่แตกต่างจากที่อื่น คือท่าเรือสำหรับนำขบวนรถไฟ
ลงเรือข้ามฟากระหว่างเกาะ ดูแล้วเข้าใจในบรรยากาศ โดยไม่่ต้องถาม
แถมให้อีกรูปนะครับ
เรือข้ามฟากที่ช่องแคบซึการ
ุระหว่างเมืองฮาโกะดาเตะ เกาะฮอกไกโด กับเมืองอาโอะโมริ เกาะฮอนชู
นอกจากเรือ ทาง JNR ยังมีรถโดยสารให้บริการรับส
่งอีกด้วย
โมเดลรถด่วน Limited Express ที่ปรับปรุงเรื่อยๆ ตามยุคสมัย
และเข้ายุคล่าสุดในปัจจุบัน
โมเดลขบวนรถไฟต่างๆ ของกลุ่มบริษัท JR ทุกวันนี้
ขอโฉบมาที่ส่วนของรถสินค้าก
ันสักนิดนะครับ เป็นเนินสับเปลี่ยนที่การรถ
ไฟฯ เคยมีที่ย่านพหลโยธิน แต่ได้ยกเลิกไปเพราะในปัจจุ
บัน จะเป็นสินค้าประเภทเหมาขบวน
จากต้นทางถึงปลายทางมากกว่า
เช่น น้ำมันดิบ น้ำมันสำเร็จรูป และปูนซิเมนต์ เป็นต้น
ห้ามล้อแบบหนีบที่ติดกับตัว
ราง ทำหน้าที่หนีบบังใบล้อโดยอั
ตโนมัติ ก่อนปล่อยให้ไหลเข้าสู่ขบวน
รถที่จอดอยู่ในย่าน
ยังมีตู้ ต.ญ.ให้เห็นอยู่แฮะ
รถ พห.ของ JNR แต่ในบ้านเราเลิกใช้งานแล้ว
เพราะมีน้ำหนักเบา อาจสะบัดตกรางได้เมื่อขบวนร
ถใช้ความเร็วสูง
ที่พิธภัณฑ์ทุกแห่งมีเหมือน
กันหมด จะเป็นเครื่องกั้นทางอัตโนม
ัติ แถมใช้งานได้จริงด้วยสิ อาจเป็นจุดประสงค์ให้ผู้เข้
าชมและเด็กๆ ได้รู้จักระบบการทำงาน และปฏิบัติตัวเมื่อเจอสัญญา
ณห้าม
ยกเอาประตูอัตโนมัติมาให้ชม
ด้วย
เจอรถจักรดีเซลรุ่น DD 51 ที่เริ่มจะเป็นที่คุ้นตาชาว
เราในโครงการก่อสร้างเส้นทา
งรถไฟทางคู่สายใต้
มีโชว์เครื่องยนต์ให้ดูด้วย
รวมทั้งเกียร์และเพลากำลังค
รับ
เขายกรถจักรไฟฟ้ารุ่น EF 66 ไว้บนหิ้งให้ผู้เข้ามได้เข้
าไปดูช่วงล่างกันอย่างใกล้ช
ิดเลยล่ะ
ยังไม่พอ ตัดเอาแค่ส่วนหัวมาให้ชมแผง
ควบคุมรถจักรมาให้สัมผัสภาย
ใต้การแนะนำของเจ้าหน้าที่อ
ย่างใกล้ชิด
แม้แต่รถไฟฟ้าก็ไม่เว้นครับ
นำสาลี่รับไฟฟ้าสายจ่ายไฟเห
นือหัวมายังรถจักรให้ชมอย่า
งใกล้ชิด
ยกแคร่พร้อมมอเตอร์ขับไว้เห
นือหัวให้ชมออีกด้วย
ไปจนถึงรางขนาดต่างๆ ที่เคยใช้งานมา แสดงให้เห็นหมด
มุมมองจากด้านบนครับ
ส่งท้ายด้วยรถด่วน Limited Express ก่อนไปยังห้องอื่นๆ ที่อยู่ชั้นบนต่อไป
Create Date : 21 พฤษภาคม 2563
Last Update : 21 พฤษภาคม 2563 22:31:29 น.
0 comments
Counter : 963 Pageviews.
Share
Tweet
ชื่อ :
* blog นี้ comment ได้เฉพาะสมาชิก
Comment :
*ส่วน comment ไม่สามารถใช้ javascript และ style sheet
owl2
Location :
กรุงเทพฯ Thailand
[ดู Profile ทั้งหมด]
ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
Smember
ผู้ติดตามบล็อก : 3 คน [
?
]
Friends' blogs
Webmaster - BlogGang
[Add owl2's blog to your web]
Links
Bloggang.com
Pantip.com
|
PantipMarket.com
|
Pantown.com
| © 2004
BlogGang.com
allrights reserved.