Group Blog
OWL2's blog
<<
พฤษภาคม 2563
>>
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
2 พฤษภาคม 2563
Konnichiwa Nihon no densha (18)
All Blogs
น่าน น้าน นาน (ตอนจบ)
น่าน น้าน นาน (4)
น่าน น้าน นาน (3)
น่าน น้าน นาน (2)
น่าน น้าน นาน (1)
Konnichiwa Nihon no densha (14)
Konnichiwa Nihon no densha (ตอนจบ)
Konnichiwa Nihon no densha (24)
Konnichiwa Nihon no densha (23)
Konnichiwa Nihon no densha (22)
Konnichiwa Nihon no densha (21)
Konnichiwa Nihon no densha (20)
Konnichiwa Nihon no densha (19)
Konnichiwa Nihon no densha (18)
Konnichiwa Nihon no densha (17)
Konnichiwa Nihon no densha (16)
Konnichiwa Nihon no densha (15)
Konnichiwa Nihon no densha (13)
Konnichiwa Nihon no densha (12)
Konnichiwa Nihon no densha (11)
Konnichiwa Nihon no densha (10)
Konnichiwa Nihon no densha (9)
Konnichiwa Nihon no densha (8)
Konnichiwa Nihon no densha (7)
Konnichiwa Nihon no densha (6)
Konnichiwa Nihon no densha (5)
Konnichiwa Nihon no densha (4)
Konnichiwa Nihon no densha (3)
Konnichiwa Nihon no densha (2)
Konnichiwa Nihon no densha (1)
มิงกาลาบาห์ เมียนมาร์ ( ตอนจบ )
มิงกาลาบาห์ เมียนมาร์ ( 12 )
มิงกาลาบาห์ เมียนมาร์ ( 11 )
มิงกาลาบาห์ เมียนมาร์ ( 10 )
มิงกาลาบาห์ เมียนมาร์ ( 9 )
มิงกาลาบาห์ เมียนมาร์ ( 8 )
มิงกาลาบาห์ เมียนมาร์ ( 7 )
มิงกาลาบาห์ เมียนมาร์ ( 6 )
มิงกาลาบาห์ เมียนมาร์ ( 5 )
มิงกาลาบาห์ เมียนมาร์ ( 4 )
มิงกาลาบาห์ เมียนมาร์ ( 3 )
มิงกาลาบาห์ เมียนมาร์ ( 2 )
มิงกาลาบาห์ เมียนมาร์ ( 1 )
พินิจงานรถไฟสายอีสานด้วยค่าโดยสารเพียง 50 บาท (ตอนจบ)
พินิจงานรถไฟสายอีสานด้วยค่าโดยสารเพียง 50 บาท (5)
พินิจงานรถไฟสายอีสานด้วยค่าโดยสารเพียง 50 บาท (4)
พินิจงานรถไฟสายอีสานด้วยค่าโดยสารเพียง 50 บาท (3)
พินิจงานรถไฟสายอีสานด้วยค่าโดยสารเพียง 50 บาท (2)
พินิจงานรถไฟสายอีสานด้วยค่าโดยสารเพียง 50 บาท (1)
ล่องใค้ ไปอีสาน (ตอนสุดท้าย)
ล่องใต้ ไปอีสาน ( ๑๒ )
ล่องใต้ ไปอีสาน ( ๑๑ )
ล่องใต้ ไปอีสาน ( ๑๐ )
ล่องใต้ ไปอีสาน ( ๙ )
ล่องใต้ ไปอีสาน ( ๘ )
ล่องใต้ ไปอีสาน ( ๗ )
ล่องใต้ ไปอีสาน ( ๖ )
ล่องใต้ ไปอีสาน ( ๕ )
ล่องใต้ ไปอีสาน ( ๔ )
ล่องใต้ ไปอีสาน ( ๓ )
ล่องใต้ ไปอีสาน ( ๒ )
ล่องใต้ ไปอีสาน ( ๑ )
ทานตะวัน Express (2)
ทานตะวัน Express (1)
xinchao Vietnam (ตอนจบ)
Xinchao Vietnam ( 13 )
Xinchao Vietnam ( 12 )
Xinchao Vietnam ( 11 )
Xinchao Vietnam ( 10 )
Xinchao Vietnam ( 9 )
Xinchao Vietnam ( 8 )
Xinchao Vietnam ( 7 )
Xinchao Vietnam ( 6 )
Xinchao Vietnam ( 5 )
Xinchao Vietnam ( 4 )
Xinchao Vietnam ( 3 )
Xinchao Vietnam ( 2 )
Xinchao Vietnam ( 1 )
Meeting สุดชายแดนบูรพา (ตอนสุดท้าย)
Meeting สุดชายแดนบูรพา (4)
Meeting สุดชายแดนบูรพา (3)
Meeting สุดชายแดนบูรพา (2)
Meeting สุดชายแดนบูรพา (1)
สะบายดี...จำปาสัก (ตอนสุดท้าย)
สะบายดี...จำปาสัก (ตอนที่ 5)
สะบายดี...จำปาสัก (ตอนที่ 4)
สะบายดี...จำปาสัก (ตอนที่ 3)
สะบายดี...จำปาสัก (ตอนที่ 2)
สะบายดี...จำปาสัก (ตอนที่ 1)
กุลวาขาว แมคคิลวารี
เที่ยวไปกับทัวร์ Circular Train (ตอนสุดท้าย)
เที่ยวไปกับทัวร์ Circular Train (ตอนที่ 6)
เที่ยวไปกับทัวร์ Circular Train (ตอนที่ 5)
เที่ยวไปกับทัวร์ Circular Train (ตอนที่ 4)
เที่ยวไปกับทัวร์ Circular Train (ตอนที่ 3)
เที่ยวไปกับทัวร์ Circular Train (ตอนที่ 2)
เที่ยวไปกับทัวร์ Circular Train (ตอนที่ 1)
เที่ยวสุพรรณ....กับด่วนขุนแผน ตอนที่ 3 (ส่งท้าย)
เที่ยวสุพรรณ....กับด่วนขุนแผน ตอนที่ 2
เที่ยวสุพรรณ....กับด่วนขุนแผน ตอนที่ 1
เที่ยวฉ่ำฝน (ที่ไม่ใช่ธรรมดา) ตอนที่ 6 (สุดท้าย)
เที่ยวฉ่ำฝน (ที่ไม่ใช่ธรรมดา) ตอนที่ 5
เที่ยวฉ่ำฝน (ที่ไม่ใช่ธรรมดา) ตอนที่ 4
เที่ยวฉ่ำฝน (ที่ไม่ใช่ธรรมดา) ตอนที่ 3
เที่ยวฉ่ำฝน (ที่ไม่ใช่ธรรมดา) ตอนที่ 2
เที่ยวฉ่ำฝน (ที่ไม่ใช่ธรรมดา) ตอนที่ 1
ก่อนที่จะมาเป็นถนนวิภาวดีรังสิต
เรื่องราวในอดีตของถนนมิตรภาพ : กรุงเทพฯ - หนองคาย ใน 8 ชั่วโมง
สารคดีสั้น...จาก "คนเมือง" (12)
สารคดีสั้น...จาก "คนเมือง" (11)
สารคดีสั้น...จาก "คนเมือง" (10)
สารคดีสั้น...จาก "คนเมือง" (9)
สารคดีสั้น...จาก "คนเมือง" (8)
สารคดีสั้น...จาก "คนเมือง" (7)
สารคดีสั้น...จาก "คนเมือง" (6)
สารคดีสั้น...จาก "คนเมือง" (5)
สารคดีสั้น...จาก "คนเมือง" (4)
สารคดีสั้น...จาก "คนเมือง" (3)
สารคดีสั้น...จาก "คนเมือง" (2)
สารคดีสั้น...จาก "คนเมือง" (1)
Konnichiwa Nihon no densha (18)
ตอนนี้จะเป็นเรื่องราวของประวัติกิจการรถไฟของญี่ปุ่นจนมาถึงรถไฟความเร็วสูงชิน กังเซ็น และระบบ MAGLEV ที่ยังอยู่ระหว่างทดลองอันยาวนานจนถึงบัดนี้
บนชั้นลอย มีบอร์ดเล่าถึงประวัติกิจการรถไฟของญี่ปุ่น ต้องใช้วุ้นแปลภาษากันยกใหญ่ ถึงพอรู้ความบ้าง
เขาเล่าว่า ตั้งแต่สมัยโบราณ การเดินทางทางบกบนเส้นทางสายโทไคโดอันเก่าแก่นั้น ผู้คนมักใช้ม้าหรือเดินเท้าจากเมืองมิยะกับเอโดะ ซึ่งใช้เวลาถึง 8 ถึง 9 วัน หรือระหว่างเมืองเกียวโตกับโอซาก้า ใช้เวลา 5 ถึง 6 วัน
เมื่อทางรถไฟสายโทไคโดเริ่มเปิดเดิน ได้ลดเวลาเหลือเพียง 12.30 ชั่วโมง จากเมืองนาโกยาไปโตเกียว และประมาณ 7.30 ชั่วโมงจากนาโกยาไปโอซากา ในยุครถจักรไอน้ำ ทำให้ได้รับความนิยมของผู้เดินทางเป็นอย่างมาก
การเปิดเดินรถไฟครั้งแรกของญี่ปุ่นระหว่างเมืองโตเกียว (สถานีชิมบาสิ) กับเมืองท่าโยโกฮามา
ผู้โดยสารรถไฟฟ้าในสมัยเริ่มแรก
เทคโนโลยีการรถไฟสายแรกในญี่ปุ่น สร้างขึ้นภายใต้การแนะนำของอังกฤษ ถูกแทนที่ด้วยภาษาญี่ปุ่น เมื่อปี พ.ศ.1933 (ค.ศ.1390) และยานพาหนะทางอากาศทุกลำที่สร้างด้วยโลหะได้รับความคุ้มครองระดับชาติ
ในที่สุด ญี่ปุ่นได้รับความเป็นอิสระด้านเทคโนโลยีด้านวิศวกรรมรถไฟ เมื่อคำพิพากษาภาษาอังกฤษของญี่ปุ่นได้รับการรับรองจากรัฐบาลอังกฤษ เมื่อปี พ.ศ.2423 (ค.ศ.1880) ญี่ปุ่นได้ฝึกอบรมด้านเทคโนโลยีแก่บุคลากรภายใต้คำแนะนำของชาวต่างประเทศ
และในราวปี พ.ศ.2433 (ค.ศ.1990) ญี่ปุ่นสามารถสร้างรถจักรไอน้ำและล้อเลื่อนขึ้นใช้งานเองในประเทศ
ญี่ปุ่นได้นำเข้ารถจักรไฟฟ้ารุ่น ED 11 แต่ประสิทธิภาพและการบำรุงรักษายังแตกต่างกันของบริษัทผู้ผลิตแต่ละบริษัท จนถึงปี พ.ศ.2469 (ค.ศ.1926) ผู้ผลิตในประเทศได้ออกแบบร่วมกันและนำมอเตอร์ไฟฟ้าและชิ้นส่วนขนาดใหญ่มาประกอบรวมด้วยกันได้สำเร็จ
ปี พ.ศ.2469 (ค.ศ.1926) รถจักรไฟฟ้า moha รุ่น30 และรุ่น 40 ไรับการแนะนำในพื้นที่คันไซ โดยมีการปรับปรุงมอเตอร์ไฟฟ้าจาก 100 Kw เป็น 128 Kw
ในปี พ.ศ.2480 (ค.ศ.1937) กิจการรถไฟช่วง เกียวโต - โกเบ ได้เปิดเสรี แต่บริษัทรถไฟของเอกขนนั้น มีการแข่งขันทั้งอุปกรณ์และสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ ทำให้มีการแนะนำรถจักรไฟฟ้ารุ่น 52 ที่ปรับปรุงใหม่
ขอพ่วงอัตโนมัติและระบบเบรกลม ได้รับการยอมรับมาใช้ในกิจการรถไฟของญี่ปุ่นเมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ.2468 (ค.ศ.1925)
ขอพ่วงอัตโนมัติแบบอเมริกัน
แล้วรถไฟญี่ปุ่น กลายเป็นพาหนะหลักขนส่งทหารเข้าสู่สนามรบกับจีน และสงครามโลกครั้งที่ 2 ในช่วงปี พ.ศ.2444 - 2448
ตลอดช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 กิจการรถไฟญี่ปุ่นทั้งด้านรถไฟทหารและพลเรือน ได้รับผลกระทบมาก เพราะกลายเป็นเส้นทางหลักแทนการขนส่งทางเรือ ตลอดจนถูกฝูงบินทิ้งระเบิดของสหรัฐฯ ทำลาย แต่การดำเนินงานยังไม่หยุดยั้ง แม้กระทั่งขนส่งกำลังทหารและสัมภาระในสงครามเกาหลีที่เกิดขึ้นในเวลาต่อมา
รถไฟสาย โทไคโด ยังทำขบวนรถสินค้าด่วน Tibio ขนส่งปลาดิบแข่งกับรถบรรทุก ตั้งแต่สิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 1 จนถึงระบบขนส่งใส่ตู้คอนเนเนอร์ในปัจจุบัน
ปี พ.ศ.2493 (ค.ศ.1950) รถไฟฟ้ารุ่น 80 ซึ่งมีมอเตอร์ขับเคลื่อนทุกตู้ ได้รับการปรับปรุงให้สามารถลดเวลาเดินทางลงได้ 1 ชั่วโมง บนเส้นทางระหว่างโตเกียว - โอซากา จากเดิมใช้เวลาเดินทางถึง 6 ชั่วโมง 50 นาที ทำให้ผู้โดยสารสามารถเดินทางแบบไปเช้า - เย็นกลับได้
ขบวนรถด่วน Limited Express Koda Nesma สามารถใช้ความเร็วได้ถึง 120 กม./ชม.
และแล้ว ญี่ปุ่นได้สร้างความตื่นเต้นไปทั่วโลก เมื่อเปิดตัวขบวนรถด่วนความเร็วสูงชิน กังเซ็น เมื่อเดือนตุลาคม ปี พ.ศ.2513 (ค.ศ.1970) ระหว่างโตเกียว - โอซากา ต้อนรับงาน EXPO ที่โอซากา และการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกที่โตเกียวในปีต่อมา ด้วยความเร็วถึง 250 กม./ชม.
รถด่วนชิน กังเซ็นรุ่น 0 ที่เปิดเดินเป็นปฐมฤกษ์ในขณะนั้น
บรรยากาศการเดินทางด้วยชิน กังเซ็นในสมัยนั้นครับ
มีเอกสารมากมายที่แนะนำการเดินทางด้วยรถด่วนชิน กังเซ็น
รวมทั้งความภาคภูมิในในเทคโนโลยีรถไฟความเร็วสูงจากชาวญี่ปุ่นเองด้วย
หลังจากนั้น ชิน กังเซ็นรุ่น 100 ก็ติดตามมา มีการปรับปรุงหลายอย่าง รวมทั้งรูปทรงที่เพรียวลม ทำให้เพิ่มความเร็วได้สูงกว่าเดิม
โมเดลแสดงภาพภายในห้องโดยสารของรุ่น 100 ครับ
รวมถึงบรรยากาศในการเดินทางด้วย
และมีการพัฒนาอีกหลายรุ่นตามมา ล้วนแต่ปรับปรุงรูปทรงให้ต้านอากาศน้อยที่สุด และเพิ่มกำลังมอเตอร์ขับเคลื่อนให้สูงกว่าเดิม
ของที่ระลึกซึ่งจำหน่ายเนื่องในโอกาสพิเศษต่างๆ ของการเปิดเดินรถด่วนชิน กังเซ็นรุ่นล่าสุด
โมเดลแสดงถึงภายในห้องโดยสารของชิน กังเซ็นรุ่น N 700 ซึ่งเป็นรุ่นล่าสุด และกำหนดให้เป็นขบวนรถที่ปลอดบุหรี่ทั้งขบวน แต่ยังใจดีที่มีห้องสูบบุหรี่ไว้ให้เป็นสัดส่วนนอกห้องโดยสารต่างหากด้วย
ของที่ระลึกสำหรับการเปิดเดินขบวรถด่วนชิน กังเซ็นรุ่น N 700 ครับ
หนังสือแนะนำรถด่วนชิน กังเซ็นรุ่นต่างๆ ที่ใช้งานบนเส้นทางสายนิว โทไคโด
โมเดลของรถด่วนชิน กังเซ็น รุ่น 0
และรุ่น 100 ตามลำดับ
โมเดลตู้โดยสารแบบต่างๆ ที่มีจัดแสดง
มีหลายแบบ ซึ่งแสดงโครงสร้างภายในตัวรถด้วย
ตู้โดยสารสองชั้นก็มีครับ
ชั้นล่างทำเป็นรถเสบียงอีกด้วย
และโมเดลของรถ Dr.Yellow ส่งท้ายสำหรับเรื่องราวของรถด่วนชิน กังเซ็น
มาถึงเรื่องไฮไลท์ของอุทยานแห่งนี้บ้าง เป็นเรื่องของรถไฟพลังแม่เหล็กไฟฟ้า MAGLEV ที่อยู่ระหว่างการวิจัยและพัฒนาอยู่จนทุกวันนี้ ถึงแม้ประเทศจีนจะนำเอาเทคโนโลยีของเยอรมันไปใช้ในเชิงพาณิชย์ระหว่างสนามบินผู่ตงกับเมืองเซี่ยงไฮ้แล้วก็ตาม
เป็นที่รู้กันดีว่าญี่ปุ่นจะไม่นำออกใช้งานหากไม่แน่ใจว่ามีความปลอดภัยพอทุกด้าน แต่เรื่องราวของการทดสอบนั้น ได้เล่ามาตั้งแต่ไปเยือนพิพิธภัณฑ์รถไฟโทมิยะ จึงไม่ขอเล่าซ้ำอีกนะครับ
ในภาพ เป็นโมเดลรถไฟ MAGLEV รุ่นต้นแบบ ML 100 ใช้ในการทดสอบเมื่อปี พ.ศ.2515
จากนั้น ได้พัฒนาเป็นรุ่น ML 500 ซึ่งมีหลายที่นั่ง ใช้ในการทดสอบในปี พ.ศ.2520
รุ่น ML 500 ที่ติดตามมา เมื่อปี พ.ศ.2522
และขยายความยาวออกไปอีก ดังรุ่น MLU 001 ปี พ.ศ.2523
พัฒนาต่อไปเป็นรุ่น MLU 002 ในปี พ.ศ.2530
และรุ่น MLU 02 N ในปี พ.ศ.2536
ได้มีการปรับรูปทรงให้เข้ากับหลักอากาศพลศาสตร์ ดังรุ่น MLX 01 - 1 เมื่อปี พ.ศ.2540
สังเกตได้ว่า ด้านหน้าจะลาดต่ำลงกว่ารุ่นที่แล้วๆ มา ดังรุ่น MLX 001 - 2 ในปี พ.ศ.2540
คิดว่า ทางสถาบันวิจัยคงได้ข้อมูลที่น่าสนใจด้านหลักอากาศพลศาสตร์นี้ จึงพัฒนาให้ด้านหน้าลู่ลมต่ำสุด จนกลายเป็นรุ่น MLX 01 - 901 ในปี พ.ศ.2545
สุดท้าย ได้ข้อสรุปว่า ควรมีลักษณะคล้ายปากนกกระเรียน ที่สอดคล้องกับหลักอากาศพลศาสตร์มากที่สุด ดังรุ่น L 0 ที่ทดสอบอยู่ในปัจจุบัน และเป็นข้อมูลสำคัญทำให้บรรดารถไฟชิน กังเซ็น มีรูปแบบหน้าตาคล้ายกันหมดในทุกวันนี้
เส้นทางทดสอบรถไฟ SCMAGLEV ที่เมืองมิยาซากิ ญี่ปุ่น และรถไฟทดสอบสามารถทำความเร็วสูงสุดได้ถึง 581 กม./ชม.
แว่บมาดูเลย์เอาท์เอาใจแฟนๆ ที่ชอบโมเดลรถไฟญี่ปุ่นกันดีกว่าครับ
ที่นี่ ทุ่มทุนสร้างขนาดใหญ่โตสะใจผู้มาเยือน แถมมีขบวนรถวิ่งกันขวักไขว่ทั้งกลางวันกลางคืนด้วยสิ
ดูภาพไปเรื่อยๆ กันนะครับ
คืนนี้คงสะใจแฟนเพลงแน่ๆ ด้วยมีการแสดงร็อกคอนเสิร์ต ผู้ชมหนาแน่น ไฟแฟลชวูบวาบละลานตา
สะใจแฟนานุแฟนจริงๆ
มีทางด่วนข้ามทางรถไฟสายใหญ่ด้วย
บริเวณท่าเรือก็มี ผมคิดว่าคงเป็นท่าเรือเมืองนาโกยา
สถานีใหญ่ก็มีครับ
สถานีรถไฟขนาดเล็ก ก็ไม่พ้นสายตาเจ้าหน้าที่จำลองแบบมาทำ
ตลอดบ่ายนี้ ชาวคณะต่างอิ่มอกอิ่มใจในการเข้าชมอุทยาน SCMAGLEV เมืองนาโกยากันทั่วหน้า
กลับเข้าย่านสถานีนาโกยา
คราวนี้ได้ชมบรรยากาศสถานีนาโกยาที่อยู่ใต้ชานชาลากันบ้างล่ะ แถมเป็นช่วงเย็นอีกด้วย สังเกตว่า คุณนพถอดเสื้อกันหนาวออกแล้ว ฮ่า....
แวะเก็บภาพดอกไม้ประดับสวยๆ ริมทางก่อนกลับเข้าที่พัก
วันรุ่งขึ้น ชาวคณะจะเดินทางไปยังเมืองฮากาตะ โดยแวะพิพิธภัณฑ์รถไฟเมืองเกียวโต ซึ่งอยู่ระหว่างทางด้วยครับ
Create Date : 02 พฤษภาคม 2563
Last Update : 9 มิถุนายน 2563 19:50:53 น.
0 comments
Counter : 771 Pageviews.
Share
Tweet
ชื่อ :
* blog นี้ comment ได้เฉพาะสมาชิก
Comment :
*ส่วน comment ไม่สามารถใช้ javascript และ style sheet
owl2
Location :
กรุงเทพฯ Thailand
[ดู Profile ทั้งหมด]
ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
Smember
ผู้ติดตามบล็อก : 3 คน [
?
]
Friends' blogs
Webmaster - BlogGang
[Add owl2's blog to your web]
Links
Bloggang.com
Pantip.com
|
PantipMarket.com
|
Pantown.com
| © 2004
BlogGang.com
allrights reserved.