Group Blog
OWL2's blog
<<
พฤษภาคม 2563
>>
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
28 พฤษภาคม 2563
Konnichiwa Nihon no densha (21)
All Blogs
น่าน น้าน นาน (ตอนจบ)
น่าน น้าน นาน (4)
น่าน น้าน นาน (3)
น่าน น้าน นาน (2)
น่าน น้าน นาน (1)
Konnichiwa Nihon no densha (14)
Konnichiwa Nihon no densha (ตอนจบ)
Konnichiwa Nihon no densha (24)
Konnichiwa Nihon no densha (23)
Konnichiwa Nihon no densha (22)
Konnichiwa Nihon no densha (21)
Konnichiwa Nihon no densha (20)
Konnichiwa Nihon no densha (19)
Konnichiwa Nihon no densha (18)
Konnichiwa Nihon no densha (17)
Konnichiwa Nihon no densha (16)
Konnichiwa Nihon no densha (15)
Konnichiwa Nihon no densha (13)
Konnichiwa Nihon no densha (12)
Konnichiwa Nihon no densha (11)
Konnichiwa Nihon no densha (10)
Konnichiwa Nihon no densha (9)
Konnichiwa Nihon no densha (8)
Konnichiwa Nihon no densha (7)
Konnichiwa Nihon no densha (6)
Konnichiwa Nihon no densha (5)
Konnichiwa Nihon no densha (4)
Konnichiwa Nihon no densha (3)
Konnichiwa Nihon no densha (2)
Konnichiwa Nihon no densha (1)
มิงกาลาบาห์ เมียนมาร์ ( ตอนจบ )
มิงกาลาบาห์ เมียนมาร์ ( 12 )
มิงกาลาบาห์ เมียนมาร์ ( 11 )
มิงกาลาบาห์ เมียนมาร์ ( 10 )
มิงกาลาบาห์ เมียนมาร์ ( 9 )
มิงกาลาบาห์ เมียนมาร์ ( 8 )
มิงกาลาบาห์ เมียนมาร์ ( 7 )
มิงกาลาบาห์ เมียนมาร์ ( 6 )
มิงกาลาบาห์ เมียนมาร์ ( 5 )
มิงกาลาบาห์ เมียนมาร์ ( 4 )
มิงกาลาบาห์ เมียนมาร์ ( 3 )
มิงกาลาบาห์ เมียนมาร์ ( 2 )
มิงกาลาบาห์ เมียนมาร์ ( 1 )
พินิจงานรถไฟสายอีสานด้วยค่าโดยสารเพียง 50 บาท (ตอนจบ)
พินิจงานรถไฟสายอีสานด้วยค่าโดยสารเพียง 50 บาท (5)
พินิจงานรถไฟสายอีสานด้วยค่าโดยสารเพียง 50 บาท (4)
พินิจงานรถไฟสายอีสานด้วยค่าโดยสารเพียง 50 บาท (3)
พินิจงานรถไฟสายอีสานด้วยค่าโดยสารเพียง 50 บาท (2)
พินิจงานรถไฟสายอีสานด้วยค่าโดยสารเพียง 50 บาท (1)
ล่องใค้ ไปอีสาน (ตอนสุดท้าย)
ล่องใต้ ไปอีสาน ( ๑๒ )
ล่องใต้ ไปอีสาน ( ๑๑ )
ล่องใต้ ไปอีสาน ( ๑๐ )
ล่องใต้ ไปอีสาน ( ๙ )
ล่องใต้ ไปอีสาน ( ๘ )
ล่องใต้ ไปอีสาน ( ๗ )
ล่องใต้ ไปอีสาน ( ๖ )
ล่องใต้ ไปอีสาน ( ๕ )
ล่องใต้ ไปอีสาน ( ๔ )
ล่องใต้ ไปอีสาน ( ๓ )
ล่องใต้ ไปอีสาน ( ๒ )
ล่องใต้ ไปอีสาน ( ๑ )
ทานตะวัน Express (2)
ทานตะวัน Express (1)
xinchao Vietnam (ตอนจบ)
Xinchao Vietnam ( 13 )
Xinchao Vietnam ( 12 )
Xinchao Vietnam ( 11 )
Xinchao Vietnam ( 10 )
Xinchao Vietnam ( 9 )
Xinchao Vietnam ( 8 )
Xinchao Vietnam ( 7 )
Xinchao Vietnam ( 6 )
Xinchao Vietnam ( 5 )
Xinchao Vietnam ( 4 )
Xinchao Vietnam ( 3 )
Xinchao Vietnam ( 2 )
Xinchao Vietnam ( 1 )
Meeting สุดชายแดนบูรพา (ตอนสุดท้าย)
Meeting สุดชายแดนบูรพา (4)
Meeting สุดชายแดนบูรพา (3)
Meeting สุดชายแดนบูรพา (2)
Meeting สุดชายแดนบูรพา (1)
สะบายดี...จำปาสัก (ตอนสุดท้าย)
สะบายดี...จำปาสัก (ตอนที่ 5)
สะบายดี...จำปาสัก (ตอนที่ 4)
สะบายดี...จำปาสัก (ตอนที่ 3)
สะบายดี...จำปาสัก (ตอนที่ 2)
สะบายดี...จำปาสัก (ตอนที่ 1)
กุลวาขาว แมคคิลวารี
เที่ยวไปกับทัวร์ Circular Train (ตอนสุดท้าย)
เที่ยวไปกับทัวร์ Circular Train (ตอนที่ 6)
เที่ยวไปกับทัวร์ Circular Train (ตอนที่ 5)
เที่ยวไปกับทัวร์ Circular Train (ตอนที่ 4)
เที่ยวไปกับทัวร์ Circular Train (ตอนที่ 3)
เที่ยวไปกับทัวร์ Circular Train (ตอนที่ 2)
เที่ยวไปกับทัวร์ Circular Train (ตอนที่ 1)
เที่ยวสุพรรณ....กับด่วนขุนแผน ตอนที่ 3 (ส่งท้าย)
เที่ยวสุพรรณ....กับด่วนขุนแผน ตอนที่ 2
เที่ยวสุพรรณ....กับด่วนขุนแผน ตอนที่ 1
เที่ยวฉ่ำฝน (ที่ไม่ใช่ธรรมดา) ตอนที่ 6 (สุดท้าย)
เที่ยวฉ่ำฝน (ที่ไม่ใช่ธรรมดา) ตอนที่ 5
เที่ยวฉ่ำฝน (ที่ไม่ใช่ธรรมดา) ตอนที่ 4
เที่ยวฉ่ำฝน (ที่ไม่ใช่ธรรมดา) ตอนที่ 3
เที่ยวฉ่ำฝน (ที่ไม่ใช่ธรรมดา) ตอนที่ 2
เที่ยวฉ่ำฝน (ที่ไม่ใช่ธรรมดา) ตอนที่ 1
ก่อนที่จะมาเป็นถนนวิภาวดีรังสิต
เรื่องราวในอดีตของถนนมิตรภาพ : กรุงเทพฯ - หนองคาย ใน 8 ชั่วโมง
สารคดีสั้น...จาก "คนเมือง" (12)
สารคดีสั้น...จาก "คนเมือง" (11)
สารคดีสั้น...จาก "คนเมือง" (10)
สารคดีสั้น...จาก "คนเมือง" (9)
สารคดีสั้น...จาก "คนเมือง" (8)
สารคดีสั้น...จาก "คนเมือง" (7)
สารคดีสั้น...จาก "คนเมือง" (6)
สารคดีสั้น...จาก "คนเมือง" (5)
สารคดีสั้น...จาก "คนเมือง" (4)
สารคดีสั้น...จาก "คนเมือง" (3)
สารคดีสั้น...จาก "คนเมือง" (2)
สารคดีสั้น...จาก "คนเมือง" (1)
Konnichiwa Nihon no densha (21)
ยังอยู่ในพิพิธภัณฑ์รถไฟเมื
องเกียวโตครับ แต่เดินวนเวียนที่ชั้นบน แล้วลงมาต่อที่โรงเก็บรถจัก
รไอน้ำขนาดใหญ่ ซึ่งมีรถจักรจอดให้เก็บภาพไ
ว้เป็นที่ระลึกอยู่หลายคัน
ก่อนที่จะมาจบลงกับภาพรถจัก
รไอน้ำประวัติศาสตร์ รุ่น C 56 ทำขบวนนำผู้มาเยือนได้สัมผั
สบรรยากาศสมัยก่อน บริเวณย่านโรงรถจักร
จากนั้น ชาวคณะออกเดินทางจากเกียวโต ต่อไปยังสถ
านีชิน ยามากูชิ เพื่อไปนั่งขบวนรถจักรไอน้ำ
รุ่น D 51 สัมผัสบรรยากาศให้ตัวเองบ้า
ง หลังจากที่ไปดู และไปส่งชาวบ้านเขาไปนั่งรถ
มาหลายครั้งแล้ว
ประทับใจกับบริเวณผนังริมบั
นไดขึ้นชั้นบน ประดับด้วยแผ่น nameplate หมายเลขรถจักรรุ่นต่างๆ ต่างกับที่โอมิยะ จะทำเป็นสติ๊กเกอร์ติดที่พื
้น ซึ่งผู้ชมได้ดูไปด้วย และเหยียบไปด้วยถ้าไม่ทันสังเกต
พอเดินไปบริเวณชั้นบน ก็เจอโมเดลรถจักรรุ่นต่างๆ ตั้งแสดงอยู่หลากรุ่น เลยเอาใจแฟนๆ ที่ชอบโมเดลกันหน่อย เป็นรถจักรไอน้ำที่ผ่าแสดงใ
ห้เห็นกลไกข้างใน
รถจักรใช้งานเมื่อปี พ.ศ.2478 (ค.ศ.1935)
รถด่วน Limited Express .เครื่องยนต์ดีเซล
รถด่วน Limited Express ระหว่างเมือง
รถจักรไฟฟ้ารุ่น ED ครับ
รถจักรไฟฟ้ารุ่น EF 81
รถจักรไฟฟ้ารุ่น EF 66
รถจักรดีเซลรุ่น DD 51 ผ่าให้เห็นเครื่องข้างในด้ว
ย
รถไฟฟ้า Local Train
ตู้โดยสารและโครงสร้าง
รถด่วนชิน กังเซ็น Rail Star
รถด่วนชิน กังเซ็น E 7
ยังมีแนะนำรถไฟของบริษัทเอก
ชนที่วิ่งบริการถึงเมืองเกี
ยวโตอีกด้วย
รถไฟฟ้าของบริษัท Hankyu
รถไฟฟ้าของบริษัท Keihan
อีกบริษัทจำชื่อไม่ได้ ต้องขออภัยมา ณ ที่นี้
อยู่ไกลไปหน่อย จำชื่อไม่ได้เหมือนกันครับ
รถไฟฟ้าของบริษัท Nankai
รายสุดท้ายนี้ คิดว่าเป็นของบริษัท JR เองครับ
บอร์ดอธิบายประเภท รุ่น และหมายเลขรถจักร
คิดว่าผู้ที่สนใจงานด้านโยธ
าคงทราบความหมายที่แสดงบนหล
ักนี้ดี ความเห็นส่วนตัว ผมไม่อยากเอารูปแบบของกรมทา
งหลวงมาใช้กับทางรถไฟเลยครั
บ เสียเอกลักษณ์ของเราเปล่าๆ
เลยข้ามมาถึงเรื่องงานด้านซ
่อมบำรุงทาง เป็นรถจักรติดอุปกรณ์กวาดหิ
มะที่ตกลงมาทับถมทางให้สามา
รถเดินรถได้ตามปกติ
เครื่องกวาดหิมะนี้ เป็นแบบโรตารี่ก็มี เหมาะสำหรับพื้นที่มีหิมะตก
มากๆ
รถงานซ่อมบำรุงสายจ่ายไฟฟ้า
เหนือศรีษะ
อุปกรณ์ปรับสายไฟให้ตึงพร้อ
มต่อการใช้งาน
รถปั้นจั่นที่มักพ่วงกับขบว
นรถ บชร.
รถล้างหิน ซ่อมบำรุงทาง
รถล้างหินสไตล์บ้านเขา
รถตรวจสภาพทางครับ
ภายในรถตรวจสภาพทาง
รถวัดระยะห่างของโครงสร้างบ
นเส้นทางรถไฟ
อุปกรณ์ด้านการเดินรถและแผ่
นตราทางสะดวก ซึ่งจะเห็นเฉพาะเส้นทางสายย
่อยเท่านั้น
โทรศัพท์สื่อสารในย่านสถานี
สมัยก่อน
นายสถานีรถไฟและเจ้าหน้าที่
ยังมีธงเขียวแดงอยู่นะครับ ส่วนเสาอาณัติสัญญาณหางปลาเ
ลิกใข้งานแล้ว
มีแต่อาณัติสัญญาณไฟสีแบบนี้
้แทน
อ้าว... เดินหลุดมาภายนอกอาคารได้อย
่างไรไม่รู้ ? เห็นรถจักรไฟฟ้ารุ่น EF ต้อนรับแต่ไกลเลย
แถมด้วยรถโดยสาร blue train จอดโชว์อยู่ด้วย 1 คัน
เลยถือวิสาสะถ่ายรูปผ่านกระ
จกเข้าไปในตัวรถ ม้านั่งไม้ที่เห็น เป็นเงาสะท้อนจากข้างนอกครั
บ
เวลาปรับเป็นที่นอน จะมีหน้าตาแบบนี้ แต่ผมไม่เคยนั่งรถโดยสาร blue train แม้แต่ครั้งเดียว
ส่งท้ายด้วยรถจักรไฟฟ้า EF 81 ก่อนที่จะไปยังโรงเก็บรถจัก
รด้านนอกต่อไป
ประแจสับราง มีตั้งแต่ขนาดเล็กไปหาใหญ่ค
รับ
ก่อนที่จะออกไปยังโรงเก็บรถ
จักร ขอแวะชมโมเดลรถจักรไอน้ำของ
ญี่ปุ่น และของชาติต่างๆ กันก่อน เป็นรถจักรไอน้ำ 150 ผลิตโดยบริษัท Balkan ของอังกฤษ เมื่อปี พ.ศ.2384 (ค.ศ.1871) (ศักราชเมจิที่ 4)
รถจักรไอน้ำรุ่น 2010 ผลิตจากโรงงานบริษัท Dab's ประเทศอังกฤษ ใช้งานเป็นรุ่นแรกของกิจการ
รถไฟญี่ปุ่น (ศักราชฮิจิริที่ 31)
รถจักรไอน้ำ Kinki รุ่น 6200 ผลิตเมื่อปี พ.ศ.2434 (ค.ศ.1897)
รถจักรไอน้ำรุ่น C 51 ซึ่งถูกกล่าวขานว่าเป็นรถจั
กรต้นแบบของการผลิตในปีแรกข
องรัชสมัยไทโช ใช้ทำขบวนรถด่วนบนเส้นทางสา
ยโทไคโด และสายซันโย
รถจักรไอน้ำรุ่น 9600 ผลิตใช้งานเมื่อปี พ.ศ.2456 (ค.ศ.1913) (ศักราชไทโชที่ 2) ใช้งานบริเวณภูเขาของญี่ปุ่
น
รถจักรไอน้ำรุ่น 8620 (ศักราชไทโชที่ 3) เป็นรถจักรรุ่นแรกที่ผลิตขึ
้้นเป็นจำนวนมากในญี่ปุ่น และใช้งานนานกว่า 60 ปี ก่อนที่จะปลดประจำการรถจักร
ไอน้ำทั้งหมด
รถจักรไอน้ำขนาดใหญ่ ผลิตโดยบริษัท Maru เมื่อปี พ.ศ.2466 (ค.ศ.1923) (ศักราชไทโชที่ 12) มีประสิทธิภาพเทียบเท่ารถจั
กรรุ่น C 51 ใช้งานอยู่ทั่วประเทศ ยกเว้นที่เกาะชิโกกุ
รถจักรไอน้ำชนิดมีถังบรรจุน
้ำในตัวรุ่น C 11 .ใช้งานครั้งแรกในภาคตะวันต
กของญี่ปุ่น (ศักราชโชวาที่ 7) แล้วแพร่หลายไปทั่วประเทศใน
เวลาต่อมา
รถจักรไอน้ำขนาดเล็กแบบมีถั
งบรรจุน้ำในตัว รุ่น C 12 .(ศักราชโชวาที่ 7) นิยมใช้งานบนเส้นทางสายย่อย
รถจักรไอน้ำรุ่น C 56 เป็นรถจักรขนาดเล็กใช้งานบน
เส้นทางสายท้องถิ่น สร้างเมื่อปี พ.ศ.2478 (ค.ศ.1935) (ศักราชโชวาที่ 10) ซึ่งเราต่างรู้จักกันดีอยู่
แล้ว
รถจักรไอน้ำรุ่น C 58 ผลิตขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2481 (ค.ศ.1938) (ศักราชโชวาที่ 13) ใช้งานอย่างกว้างขวางในกิจก
ารรถไฟญี่ปุ่น
รถจักรไอน้ำขนาดใหญ่ รุ่น C 59 ผลิตเมื่อปี พ.ศ.2484 (ค.ศ.1941) ใช้งานบนเส้นทางสายโทไคโด และสายซันโย
โมเดลรถจักรและโรงรถจักร
รถจักรไอน้ำรุ่น C 52 สร้างเมื่อปี พ.ศ.2491 (ค.ศ.1948) (ศักราชโชวาที่ 23) เป็นรถจักรที่ใหญ่ที่สุดของ
ญี่ปุ่นขณะนั้น
ทางพิพิธภัณฑ์ยังได้จัดแสดง
โมเดลชองรถจักรไอน้ำที่มีชื
่อเสียงของต่างประเทศด้วย
เป็นหัวรถจักรของบริษัทเซาท
์เทอร์น แปซิฟิก ของสหรัฐฯ มีชื่อเรียกเฉพาะว่า cab forward เนื่องจากเส้นทางต้องผ่านเท
ือกเขาเซียร์รา เนวาดาซึ่งมีอุโมงค์หลายแห่
ง ทำให้ควันลอยเข้ามารบกวนพนั
กงาน จึงออกแบบห้องขับอยู่ข้างหน
้า เพื่อลดการรบกวนดังกล่าว
รถจักรรุ่น 141 TC ของบริษัทนอร์ด (เหนือ) ในประเทศฝรั่งเศส ใช้งานทำขบวนรถชานเมืองที่ห
ยุดและวิ่งบ่อยครั้งตามสถาน
ี ที่หยุดรถต่างๆ ในเวลาอันจำกัด และต้องทำขบวนกลับโดยไม่ต้อ
งเสียเวลากลับรถจักร
รถจักรไอน้ำรุ่น A 3 - 5 ของบริษัทรถไฟแห่งชาติสวิส ผลิตเมื่อปี พ.ศ.2445 (ค.ศ.1902) เพื่อทำขบวนรถด่วน เนื่องจากระบบไฟฟ้าสำหรับจ่
ายไฟให้รถจักรยังมีไม่ทั่วถ
ึงในขณะนั้น
ผมคิดว่าหน้าตาละม้ายกับรถจ
ักรรุ่น "คอนโซลิเดชั่น" ในบ้านเรา
รถจักรไอน้ำรุ่น 63 a ของรถไฟประเทศนอร์เวย์
รถจักรไอน้ำรุ่น GS 4 "Daylight" ของบริษัท เซาท์เทอร์น แปซิฟิก แห่งสหรัฐฯ อันมีสีสันสวยงามสะดุดตา
รถจักรไอน้ำรุ่น 179 ของบริษัท MZA Railway แห่งประเทศสเปน สร้างเมื่อปี พ.ศ.2420 (ค.ศ.1877) วิ่งบริการระหว่างเมืองมาดร
ิด ซาราโกซา และอลิคานเต้
รถจักรไอน้ำรุ่น Gr 625 ของการรถไฟแห่งชาติอิตาลี ผลิตเมื่อปี พ.ศ.2466 (ค.ศ.1923) จำนวน 188 คัน
รถจักรไอน้ำรุ่น 52 ของการรถไฟแห่งชาติออสเตรีย
ได้ถูกพัฒนาและสร้างเพื่อใช
้งานในช่วงสงครามโลกครั้งที
่ 2 ถึง 6,000 คัน สามารถทำความเร็วมัธยัสถ์ได
้ถึง 80 กม../ชม.
รถจักร "Royal Hudson" ของบริษัทรถไฟ คานาเดียน แปซิฟิก ได้ชื่อนี้เพราะเคยถูกตกแต่
งทำขบวนรถไฟพระที่นั่งต้อนร
ับพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่ห
ัวและสมเด็จพระราชินีของอัง
กฤษ คราวเสด็จเยือนแคนาดา เมื่อปี พ.ศ.2482 (ค.ศ.1939)
รถจักรไอน้ำรุ่น A 4 ของบริษัท King Lndon Northeast Railroad มีชื่อเรียกว่า Mallard ในปี 1938 ได้วิ่งทดสอบและทำความเร็วไ
ด้ถึง 202.7 กม./
ชม.โดยได้รับการบันทึกว่าเป็
นรถจักรไอน้ำทำสถิติความเร็
วสูงที่สุดในโลก
รถจักรไอน้ำรุ่น S 2 /
6 ของบริษัทรถไฟ ไบเอิร์นแห่งเยอรมนี เป็นรถจักรที่ทำสถิติความเร็ว
ได้สูงถึง 154.4 กม./
ชม. ขณะวิ่งตัวเปล่า โดยด้านหน้าของรถจักรนั้นเป็นทรง
กรวย เพื่อลู่ลมและล้อที่มีขนาดใ
หญ่ถึง 2.100 เมตร
รถจักรไอน้ำ Azia Pasina ของบริษัทรถไฟแมนจูเรีย สร้างเมื่อปี พ.ศ.2477 (ค.ศ.1934) ถึง ปี พ.ศ.2486 (ค.ศ.1943) (ศักราชโชวาที่18) จำนวน 11 คัน เป็นรถจักรความเร็วสูงในขณะ
นั้น
ตอนนี้ชาวคณะออกมายังโรงเก็
บรถจักรจริงๆ แล้ว สูดบรรยากาศกลางแจ้งกันบ้าง
ที่สนามหญ้า มีล้อขับรถจักรไอน้ำขนาดใหญ
่ของญี่ปุ่นตั้งโชว์อยู่ ใหญ่โตน่าเกรงขามทีเดียว
พอโผล่มาเห็นของจริงเข้า มีรถจักรไอน้ำประวัติศาสตร์
จอดอยู่เกือบเต็มทุกช่องเลย
รวมทั้งคันที่นำมาจอดโชว์ใน
วงเวียนกลับรถจักรด้วย
แอบเก็บภาพคุณอรรณพไว้ก่อนก็แล
้วกัน
แล้วค่อยตามดูทีละคัน แต่หลายคันผมไม่ได้เก็บภาพห
รอกครับ
ตามใจนายแบบเขาหน่อย ฮ่า...
ถึงจะเห็นแค่ท้ายรถจักร ก็เก็บภาพมาด้วย
ในบ้านเราน่าจะมีพิพิธภัณฑ์
อย่างนี้บ้างน้อ ?
คุณอรรณพบอกว่า เป็นนักท่องเที่ยวชาวจีน กำลังให้ความสนใจรถจักรที่เ
คยทำขบวนรถไฟพระที่นั่งสมเด
็จพระมหาจักรพรรดิ (รัชสมัยโชวา)
รถจักรแบบสหรัฐฯ เคยทำขบวนรถอยู่ที่เกาะฮอกไ
กโด
ขบวนรถไฟสำหรับพานักท่องเที
่ยวนั่งเล่นบริเวณพิพิธภัณฑ์
รับบรรยากาศยุคไอน้ำกันดีกว
่า
มีสิ่งแปลกปลอมเพียงหนึ่งเด
ียวที่พิพิธภัณฑ์แห่งนี้ เป็นรถจักรดีเซล DD 51 เอาไว้สับเปลี่ยนรถจักรไอน้
ำประวัติศาสตร์ภายในย่าน
ขบวนรถจักรไอน้ำประวัติศาสต
ร์กลับเข้ามาแล้วครับ ได้ยินคุณอรรณพ บ่นงึมงำว่ามีเด็กยืนบังกล้
องพอดี คลิปเลยไม่สวยสมใจ
ผลัดกันเก็บภาพระหว่างขบวนร
ถจักรไอน้ำประวัติศาสตร์กลั
บเข้ามาอีกครั้งหนึ่ง
สลับกันกับ อ.วิรัตน์ครับ
ครั้นสมใจอยากแล้ว ชาวคณะเดินทางกลับสถานีเกีย
วโต
โดยอาศัยรถไฟสาย JR Sagano line จากสถานีที่ตั้งอยู่ใกล้พิพ
ิธภัณฑ์ฯ นั่นแหละ แค่สถานีเดียวก็ถึงแล้ว ระยะทาง 1.7 กม. เท่านั้นเอง
Create Date : 28 พฤษภาคม 2563
Last Update : 29 พฤษภาคม 2563 23:22:39 น.
0 comments
Counter : 1290 Pageviews.
Share
Tweet
ชื่อ :
* blog นี้ comment ได้เฉพาะสมาชิก
Comment :
*ส่วน comment ไม่สามารถใช้ javascript และ style sheet
owl2
Location :
กรุงเทพฯ Thailand
[ดู Profile ทั้งหมด]
ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
Smember
ผู้ติดตามบล็อก : 3 คน [
?
]
Friends' blogs
Webmaster - BlogGang
[Add owl2's blog to your web]
Links
Bloggang.com
Pantip.com
|
PantipMarket.com
|
Pantown.com
| © 2004
BlogGang.com
allrights reserved.