กรรมเก่า คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ.เป็นเจ้าบทบาทเดิม จากนั้น การศึกษาอาศัยปรโตโฆสะ ซึ่งมีคติว่า "คนเป็นไปตามสภาพแวดล้อมที่ปรุงปั้น" และโยนิโสมนสิการ ซึ่งมีคติย้อนกลับว่า "ถ้าเป็นคนรู้จักคิด แม้แต่ฟังคนบ้าคนเมาพูด ก็อาจสำเร็จเป็นพระอรหันต์"
บุญ
ข้อธัมม์ที่ถาม-เถียงกันบ่อย
หลักปฏิบัติ
สภาวธรรม
ปฏิบัติธรรมให้ถูกทาง
ผู้พิพากษาตั้งตุลา ใ ห้ สั ง ค ม ส ม ดุ ล
คติธรรมสั้นๆ
ภาษาธรรมวันละคำ
รู้เขา รู้เรา
พุทธโอวาทก่อนปรินิพพาน,
ความเป็นมาของการบวช
การทำวัตรสวดมนต์
ทำยังไงจึงจะมีอายุยืนและมีความสุข
พลังดันคน
ที่ทำงานของจิต
บรรลุธรรมอะไร?
พุทธปรัชญาในสุตตันตปิฎก
ธัมมาธิบาย
สวดมนต์
ความจน เ ป็ น ทุ ก ข์ ใ น โ ล ก
เรียนบาลีเพื่อรักษาพุทธพจน์
ศีลธรรมไม่กลับมาโลกาจะพินาศ
หลักธรรมสำหรับผู้ยังไม่นับถือศาสนาใดๆ
ก่อนศึกษาพุทธธรรม
ภาค ๑. มัชเฌนธรรมเทศนา
ภาค ๒. มัชฌิมาปฏิปทา
ภาค ๓. อารยธรรมวิถี
วัฒนธรรมประเพณี
จารึกธรรม
สมาธิ,ฌาน
เขาว่า ถ้าพุทธมีหลักธรรมดีจริง คงไม่ 0 สิ้นจากถิ่นเกิด
ศีลกับเจตนารมณ์ทางสังคม
คุณค่าทางจริยธรรมของไตรลักษณ์
จงกรม
กรรมฐาน
สติปัฏฐาน
ศีลสำหรับประชาชน
วิธีการแห่งศรัทธา (ปรโตโฆสะที่ดี)
วิธีการแห่งปัญญา (โยนิโสมนสิการ)
ทางดำเนินชีวิตสายกลาง
คุณสมบัติบุคคลโสดาบัน
กาม
ความสุข
อริยสัจ ๔
ธรรมฉันทะ - ตัณหาฉันทะ
กรรม
เถรวาท VS ลัทธิอาจารย์
นิพพาน-อนัตตา ฉบับเพียงเพื่อไม่ประมาท
สมถะ,วิปัสสนา,เจโตวิมุตติ,ปัญญาวิมุตติ
อนัตตา
สมมุติบัญญัติ
ศีล-สีลัพพตปรามาส
นรก สวรรค์ ในพระไตรปิฎก
วันสำคัญของชาวพุทธไทย
วิธีฝึกหูทิพย์ ตาทิพย์
ลำดับญาณ,ทวนญาณ
ความสำคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะ ศ.ประจำชาติ
ภาวะแห่งนิพพาน
ระดับของผู้บรรลุนิพพาน
ภาวะของผู้บรรลุนิพพาน
อิทธิบาท ๔
รู้ทุกอย่างแต่ปล่อยวางไม่ได้
<<
มกราคม 2568
>>
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
13 มกราคม 2568
การนั่งสมาธิไม่มีในพระพุทธศาสนาเลย
ผลวิจัยวิจัยพบ การนั่งสมาธิ
มิจฉาทิฏฐิ มิจฉาปฏิปทา
อะกาลิโก เป็นสิ่งที่ปฏิบัติได้และให้ผลได้ไม่จำกัดกาล
จิตแพทย์
การนั่งสมาธิไม่มีในพระพุทธศาสนาเลย
วิธีปฏิบัติ ๔ อย่าง
พุทธในอิตาลี
ผมบรรลุธรรมแล้วครับ ๒
ผมบรรลุธรรมแล้วครับ
ความง่วงเป็นอุปสรรคในการปฏิบัติธรรม เราผ่านไปไม่ได้
ปฏิเวธของพระพุทธเจ้ามาเป็นปริยัติของเรา
อานาปานสติตรงมติอรรถกถา
ฝึกอานาปานสติแต่คิดฟุ้งซ่าน บังคับให้หยุดคิดไม่ได้
ความสุขจากสมาธิ เป็นอย่างไรคะ
ศัพท์ทางธรรมที่อ้างอิงบ่อย
ถามการภาวนาค่ะ
การทำดีที่แสนยาก
ไม่จมแช่ กำหนดรู้แล้วปล่อยๆ
วิธีเจริญสมถะ หรือเจริญสมาธิล้วนๆ
สมถะ วิปัสสนา อีกที
สมถะ กับ สติปัฏฐาน แยกกันตรงไหน ร่วมกันตรงไหน
ประเมินตัวเองอย่างไรคะว่าทําถูก
ทำสมาธิที่บ้านหลายวันแล้ว ยังไม่เห็นการเปลี่ยนแปลงอะไร
การสอนธรรมแบบปุจฉา-วิสัชชนา ที่เลือนหายไปจากศาสนาพุทธในปัจจุบัน
พุทธพจน์แสดงวิธีปฏิบัติ
การทำสมาธิแบบ พอง-ยุบ ทำยังไง
เขาถาม - ตอบ ผัสสะอายตนะกัน
ผลเกิดจากเหตุ
อยากฝึกเจริญเมตตา ที่ช่วยให้จิตมีพลัง
จิตฟุ้งซ่าน VS จิตสงบ
อยากเริ่มสวดมนต์,นั่งสมาธิ
กำลังเดินทาง แต่ยังไม่สุดทาง
ขออย่างเดียวให้จิตสงบ
ภาวนาแบบปาราสิริยพราหมณ์
ตามหาปัญญาอยู่ที่ใด
พึงรู้ตามที่มันเป็น
ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา
คนพุทธเคยตั้งคำถามมั้ย
อยากทำแล้วอิ่มใจไม่ได้อยากแบบโอยทรมานเหลือเกิน
เจริญสมาธิเพ่งหน้าผาก
มีวิธีแก้วิปัสสนูปกิเลส 10 มั้ย
งง ศัพท์ทางธรรม
สมาธิ Head space
ไม่อยากเกิดอีกแล้วต้องทำยังไงคะ ?
นั่งสมาธิควรจดจ่อตรงไหน
เรื่องภาวนา มือใหม่หัดภาวนา
ปัญหาการนั่งสมาธิ
หมดไฟในการปฏิบัติธรรมมากๆ ทำยังไงให้มีไฟกลับมาปฏิบัติอีกครั้งดีคะ
ถามเรื่องเจริญวิปัสสนากรรมฐาน
นั่งสมาธิจิตไปพรหมโลก
อยากนั่งสมาธิมากๆ แต่นั่งไม่ได้สักทีทำยังไงดี
อยากรู้แนวทางปฏิบัติธรรมสำหรับผู้เริ่มต้น
ความหมาย ปฏิบัติธรรม
ถามเพื่อนๆหน่อยคับ แต่ละวัดเก่งเรื่องฝึกจิตด้านอะไรบ้าง
ความหมาย ปฏิปทา
พูด VS ทำ
จิตต้องฝึกมัน
การรักษาจิตนั้นเป็นอย่างไร
บอกวิธีนั่งสมาธิที่ถูกต้อง
ปฏิบัติธรรม เ จ้ า สำ นั ก จำ ต้ อ ง แก้อารมณ์เป็น
ความชำนาญ ๕ อย่าง
ถามการเจริญสติ
ปัจจุบันขณะ ภาคปฏิบัติทางจิต
การนั่งสมาธิเช้ากับเย็นได้ผลแตกต่างกันยังไง
ไม่เข้าใจสมาธิก็ไม่เข้าใจไตรสิกขา
นั่งสมาธิแล้วรู้สึกหงุดหงิด อึดอัด รำคาญ อยู่ข้างใน
นั่งสมาธิมีอาการตึงที่จมูก, หน้าเอียง
อิริยาบถนั่ง
หาสถานที่ปฏิบัติธรรม
รบกับความคิดตัวเองคือการปฏิบัติธรรม
ถีนมิทธะแทรกระหว่างภาวนา
หลักทำ สมถะ,วิปัสสนา,สมถะวิปัสสนาเคียงคู่กัน
สมถะ กับ วิปัสสนา
กาย + จิต สัมพันธ์กัน
รู้ปริยัติ กับ รู้ปฏิบัติ
ตกหลุมความคิด
อารมณ์ที่ดีงามที่ควรระลึกถึงเนื่องๆ
สอบถามเรื่องการเจริญวิปัสสนากรรมฐาน
จิตที่ฝึกดีแล้วนำสุขมาให้
ห ลั ก ปฏิบัติ - ผ ล ข อ ง การปฏิบัติ
โลกุตรสัมมาทิฐิ
ไม่ต้องเถียงกัน มันชื่อ ค้างคาว
ธรรมะจัดสรรค์
แก่นภาคปฏิบัติ
นั่งสมาธิยังไง ให้มีสมาธิ
ทำให้ถูกดี ทำให้พอดี ทำให้ถึงดี
อยากจริงจังกับภาวนา ทำยังไงบ้างคะ
อานิสงส์จงกรม+จงกรม ๖ ระยะ
ลักษณะของจิตที่เป็นสมาธิ
ดูตรงไหนว่าจิตมีสมาธิแล้ว
คำว่า ปัจจุบันอารมณ์, ปัจจุบันธรรม,ปัจจุบันขณะ แค่ไหน
ดูกลุ่มนี้แล้ว ดูกลุ่มสภาวธรรมด้วย
ดูความหมาย กรรมฐาน ให้ชัด
การรู้ ๓ ระดับ
การนั่งสมาธิไม่มีในพระพุทธศาสนาเลย
เขาว่าว่า
"การ
นั่งสมาธิ
ไม่มีในพระพุทธศาสนาเลย" ปฏิเสธเด็ดขาดให้มันรู้กันไปเลยว่าใครเป็นใคร
การนั่งสมาธิไม่มีในพุทธศาสนาจริงหรือ?? - YouTube
- พุทธพจน์แสดงวิธีปฏิบัติ
เบื้องแรก พึงทราบวิธีปฏิบัติตามแนวพุทธพจน์ ดังนี้
"ภิกษุทั้งหลาย
อานาปานสติ
เจริญอย่างไร ทำให้มากอย่างไร จึงจะมีผลมาก มีอานิสงส์มาก ?
ภิกษุในธรรมวินัยนี้
ก. ไปสู่ป่า ก็ดี ไปสู่โคนไม้ ก็ดี ไปสู่เรือนว่าง ก็ดี
ข.
นั่งคู้บัลลังก์
ตั้งกายตรง
ดำรง
สติเฉพาะหน้า
(= เอาสติมุ่งต่อกรรมฐาน คือ ลมหายใจที่กำหนด)
ค. เธอมีสติหายใจเข้า มีสติหายใจออก
ฯลฯ
https://www.bloggang.com/mainblog.php?id=samathijit&month=31-10-2023&group=82&gblog=104
เขา
พูดถึงปฏิจจสมุปบาทกับอริยสัจด้วย เพราะฉะนั้น พิจารณาการเนื่องกันระหว่างปฏิจจสมุปบาทกับอริยสัจด้วย
- อริยสัจ กับ ปฏิจจสมุปบาท
เมื่อมีผู้ถามว่า "พระพุทธเจ้าตรัสรู้อะไร ?" อาจตอบว่า ตรัสรู้อริยสัจ ๔ หรืออาจตอบว่า ตรัสรู้ปฏิจจสมุปบาท ก็ได้ คำตอบทั้งสองนั้น ต่างก็มีพุทธพจน์เป็นที่อ้างยืนยันได้
ข้อควรทราบก็คือ คำตอบทั้งสองอย่างนั้น ตามที่จริงแล้ว ก็ถูกต้องด้วยกัน และมีความหมายลงกันได้ เป็นอันหนึ่งอันเดียว กล่าวคือ
ปฏิจจสมุปบาท
ก็เป็นเนื้อหาสำคัญของ
อริยสัจ
และ
อริยสัจ
ก็มีความหมายครอบคลุม
ปฏิจจสมุปบาท
เรื่องนี้ เป็นอย่างไร พึงพิจารณาเริ่มตั้งแต่หลักฐานที่มาในคัมภีร์
คัมภีร์วินัยปิฎก
เล่าเหตุการณ์เกี่ยวกับการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า เริ่มต้นเมื่อตรัสรู้ใหม่ๆ กำลังทรงเสวยวิมุตติสุข และพิจารณา
ทบทวน
ปฏิจจสมุปบาท ทั้งโดย
อนุโลม
(กระบวนการ
เกิดทุกข์
) และโดย
ปฏิโลม
(กระบวนการ
ดับทุกข์
) ตลอดเวลา ๑ สัปดาห์ ครั้นสิ้นระยะเสวยวิมุตติสุข ๗ สัปดาห์แล้ว เมื่อปรารภการที่จะทรงประกาศธรรมแก่ผู้อื่นต่อไป ทรงพระ
ดำริว่า
“ธรรมที่เราได้บรรลุแล้วนี้ เป็นของลึกซึ้ง เห็นได้ยาก รู้ตามได้ยาก ฯลฯ สำหรับหมู่ประชา ผู้เริงรมย์ รื่นระเริงอยู่ในอาลัย ฐานะอันนี้ ย่อมเป็นสิ่งที่เห็นได้ยาก กล่าวคือ หลัก
อิทัปปัจจยตา ปฏิจจสมุปบาท
แม้ฐานะนี้ ก็เห็นได้ยาก กล่าวคือ ...
นิพพาน
”
ส่วนใน
พระสูตร
เมื่อปรากฏข้อความเกี่ยวกับพุทธประวัติตอนนี้ ก็จะเล่าความแนวเดียวกัน เริ่มแต่พุทธดำริที่เป็นเหตุให้เสด็จออกผนวช การเสด็จออกผนวช การศึกษาในสำนักอาฬารดาบส และอุทกดาบส การบำเพ็ญและการละเลิกทุกรกิริยา การทรงกลับเสวยพระกระยาหาร แล้วบรรลุฌาน และตรัสรู้วิชชา ๓
ฯลฯ
https://www.bloggang.com/mainblog.php?id=samathijit&month=17-11-2023&group=82&gblog=119
บัลลังก์
ในคำว่า “นั่งขัดบัลลังก์” หรือ “นั่งคู้บัลลังก์” คือ นั่งขัดสมาธิ
ค้นคำว่า บัลลังก์ ในพจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์
เสริมเรื่องกรรมให้มองให้กว้างขึ้นอีกว่า
กรรม ปฏิจจสมุปบาท อริยสัจ
เนื่องกันยังไง
-
กรรม
ในฐานะหลักธรรมที่
เนื่อง
อยู่ใน
ปฏิจจสมุปบาท
หลักธรรมต่างๆ ไม่ว่าจะมีชื่อใดๆ ล้วนสัมพันธ์เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันทั้งสิ้น เพราะแสดงถึงหรือสืบเนื่องมาจากสัจธรรมเดียวกัน และเป็นไปเพื่อจุดหมายเดียวกัน
แต่นำมาแสดงในชื่อต่างๆ กัน โดยชี้ความจริงเพียงส่วนใดส่วนหนึ่งคนละส่วนละตอนกัน บ้าง เป็นความจริงอันเดียวกัน แต่แสดงคนละรูปละแนว เพื่อวัตถุประสงค์คนละอย่าง บ้าง ด้วยเหตุนี้
หลักธรรมบางข้อจึงเป็นเพียงส่วนย่อยของหลักใหญ่
บางข้อเป็นหลักใหญ่ด้วยกัน ครอบคลุมความหมายของกันและกัน แต่มีแนวหรือรูปแบบการแสดง และความมุ่งหมายจำเพาะในการแสดงต่างกัน
ปฏิจจสมุปบาท
เป็นหลักธรรมใหญ่ที่แสดงความเป็นไปของชีวิตไว้ทั้งหมด มีขอบเขตกว้างขวางครอบคลุมหลักธรรมปลีกย่อยในระดับต่างๆ อย่างทั่วถึง เรียกได้ว่าเป็นกระบวนการแห่ง
ชีวิต
หรือกระบวนธรรมเบ็ดเสร็จ
ถ้าเข้าใจปฏิจจสมุปบาทแล้ว ก็ชื่อว่าเข้าใจชีวิต
หรือ
เข้าใจพระพุทธศาสนาทั้งหมด
ดังพุทธพจน์ที่ว่า “
ผู้ใดเห็นปฏิจจสมุปบาท ผู้นั้นเห็นธรรม
”
หลักธรรมส่วนย่อยของ
ปฏิจจสมุปบาท
ที่นิยมอธิบายกันมากที่สุด คงได้แก่
หลักกรรม
การนำหลักกรรมมาอธิบาย อาจมองได้ทั้งในแง่ที่ ว่า กรรมเป็นเรื่องน่าสนใจในตัวของมันเอง และในแง่ที่ว่า ความเข้าใจเกี่ยวกับกรรมนั้น เป็นบันไดสำคัญที่จะก้าวสู่ความความเข้าใจหลัก
ปฏิจจสมุปบาท
ว่าที่จริง
การอธิบายหลักกรรม
ตามเนื้อหาอย่างตลอดสาย ก็คือ วิธีการที่ง่ายขึ้นอย่างหนึ่ง ในการอธิบายหลัก
ปฏิจจสมุปบาท
นั่นเอง
กรรม
เป็นเพียงส่วนหนึ่งในกระบวนการแห่ง
ปฏิจจสมุปบาท
ซึ่งเห็นได้ชัด เมื่อแยกส่วนในกระบวนการนั้นออกเป็น
๓ วัฏฏะ
(วน,วังวน) คือ
กิเลส
กรรม และ
วิบาก
หลัก
ปฏิจจสมุปบาท
แสดงถึงกระบวนการทำ
กรรม
และการให้
ผลของกรรม
ทั้งหมด ตั้งต้นแต่
กิเลส
ที่เป็นเหตุให้ทำกรรม จนถึง
วิบาก
อันเป็นผลที่จะได้รับ เมื่อเข้าใจ
ปฏิจจสมุปบาท
ดีแล้ว ก็เป็นอันเข้าใจหลัก
กรรม
ชัดเจนไปด้วย
ฯลฯ
https://www.bloggang.com/mainblog.php?id=samathijit&month=08-11-2023&group=88&gblog=82
อีกคลิปหนึ่งคนๆเดียวกัน
ที่ ๔๐ "การนั่งสมาธิ " ไม่ใช่ "อานาปนสติ " และ"อานาปนสติ "ก็ไม่ใช่ "การนั่งสมาธิ"เลย (แก่ชื่นขวัญ) - YouTube
ทำความรู้จักเข้าใจคำว่า "
อานาปานสติ"
ที่
https://www.bloggang.com/mainblog.php?id=samathijit&month=07-04-2022&group=5&gblog=35
แน่ะ ขยันทำคลิปด้วย
ที่ ๔๒ "การนั่งสมาธิ " เป็นกาม ,เป็นนิวรณฺ ๕ ของผู้นั่งสมาธิ ทุกคน (แก่ชื่นขวัญ) - YouTube
Create Date : 13 มกราคม 2568
Last Update : 15 มกราคม 2568 19:47:55 น.
0 comments
Counter : 258 Pageviews.
(โหวต blog นี้)
Share
Tweet
ผู้โหวตบล็อกนี้...
คุณnewyorknurse
ชื่อ :
* blog นี้ comment ได้เฉพาะสมาชิก
Comment :
*ส่วน comment ไม่สามารถใช้ javascript และ style sheet
สมาชิกหมายเลข 6393385
Location :
[ดู Profile ทั้งหมด]
ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
ผู้ติดตามบล็อก : 9 คน [
?
]
Webmaster - BlogGang
[Add สมาชิกหมายเลข 6393385's blog to your web]
Bloggang.com