กรรมเก่า คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ.เป็นเจ้าบทบาทเดิม จากนั้น การศึกษาอาศัยปรโตโฆสะ ซึ่งมีคติว่า "คนเป็นไปตามสภาพแวดล้อมที่ปรุงปั้น" และโยนิโสมนสิการ ซึ่งมีคติย้อนกลับว่า "ถ้าเป็นคนรู้จักคิด แม้แต่ฟังคนบ้าคนเมาพูด ก็อาจสำเร็จเป็นพระอรหันต์"
บุญ
ข้อธัมม์ที่ถาม-เถียงกันบ่อย
หลักปฏิบัติ
สภาวธรรม
ปฏิบัติธรรมให้ถูกทาง
ผู้พิพากษาตั้งตุลา ใ ห้ สั ง ค ม ส ม ดุ ล
คติธรรมสั้นๆ
ภาษาธรรมวันละคำ
รู้เขา รู้เรา
พุทธโอวาทก่อนปรินิพพาน,
ความเป็นมาของการบวช
การทำวัตรสวดมนต์
ทำยังไงจึงจะมีอายุยืนและมีความสุข
พลังดันคน
ที่ทำงานของจิต
บรรลุธรรมอะไร?
พุทธปรัชญาในสุตตันตปิฎก
ธัมมาธิบาย
สวดมนต์
ความจน เ ป็ น ทุ ก ข์ ใ น โ ล ก
เรียนบาลีเพื่อรักษาพุทธพจน์
ศีลธรรมไม่กลับมาโลกาจะพินาศ
หลักธรรมสำหรับผู้ยังไม่นับถือศาสนาใดๆ
ก่อนศึกษาพุทธธรรม
ภาค ๑. มัชเฌนธรรมเทศนา
ภาค ๒. มัชฌิมาปฏิปทา
ภาค ๓. อารยธรรมวิถี
วัฒนธรรมประเพณี
จารึกธรรม
สมาธิ,ฌาน
เขาว่า ถ้าพุทธมีหลักธรรมดีจริง คงไม่ 0 สิ้นจากถิ่นเกิด
ศีลกับเจตนารมณ์ทางสังคม
คุณค่าทางจริยธรรมของไตรลักษณ์
จงกรม
กรรมฐาน
สติปัฏฐาน
ศีลสำหรับประชาชน
วิธีการแห่งศรัทธา (ปรโตโฆสะที่ดี)
วิธีการแห่งปัญญา (โยนิโสมนสิการ)
ทางดำเนินชีวิตสายกลาง
คุณสมบัติบุคคลโสดาบัน
กาม
ความสุข
อริยสัจ ๔
ธรรมฉันทะ - ตัณหาฉันทะ
กรรม
ฅนไทย ใช่กบเฒ่า ?
พระไทย ใช่เขาใช่เรา?
สมถะ,วิปัสสนา,เจโตวิมุตติ,ปัญญาวิมุตติ
อนัตตา
สมมุติบัญญัติ
ศีล-สีลัพพตปรามาส
นรก สวรรค์ ในพระไตรปิฎก
วันสำคัญของชาวพุทธไทย
วิธีฝึกหูทิพย์ ตาทิพย์
ลำดับญาณ,ทวนญาณ
ความสำคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะ ศ.ประจำชาติ
ภาวะแห่งนิพพาน
ระดับของผู้บรรลุนิพพาน
ภาวะของผู้บรรลุนิพพาน
อิทธิบาท ๔
รู้ทุกอย่างแต่ปล่อยวางไม่ได้
<<
ธันวาคม 2564
>>
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
22 ธันวาคม 2564
หลักทำ สมถะ,วิปัสสนา,สมถะวิปัสสนาเคียงคู่กัน
สมถะ กับ วิปัสสนา
ผลวิจัยวิจัยพบ การนั่งสมาธิ
มิจฉาทิฏฐิ มิจฉาปฏิปทา
อะกาลิโก เป็นสิ่งที่ปฏิบัติได้และให้ผลได้ไม่จำกัดกาล
จิตแพทย์
การนั่งสมาธิไม่มีในพระพุทธศาสนาเลย
วิธีปฏิบัติ ๔ อย่าง
พุทธในอิตาลี
ผมบรรลุธรรมแล้วครับ ๒
ผมบรรลุธรรมแล้วครับ
ความง่วงเป็นอุปสรรคในการปฏิบัติธรรม เราผ่านไปไม่ได้
ปฏิเวธของพระพุทธเจ้ามาเป็นปริยัติของเรา
อานาปานสติตรงมติอรรถกถา
ฝึกอานาปานสติแต่คิดฟุ้งซ่าน บังคับให้หยุดคิดไม่ได้
ความสุขจากสมาธิ เป็นอย่างไรคะ
ศัพท์ทางธรรมที่อ้างอิงบ่อย
ถามการภาวนาค่ะ
การทำดีที่แสนยาก
ไม่จมแช่ กำหนดรู้แล้วปล่อยๆ
วิธีเจริญสมถะ หรือเจริญสมาธิล้วนๆ
สมถะ วิปัสสนา อีกที
สมถะ กับ สติปัฏฐาน แยกกันตรงไหน ร่วมกันตรงไหน
ประเมินตัวเองอย่างไรคะว่าทําถูก
ทำสมาธิที่บ้านหลายวันแล้ว ยังไม่เห็นการเปลี่ยนแปลงอะไร
การสอนธรรมแบบปุจฉา-วิสัชชนา ที่เลือนหายไปจากศาสนาพุทธในปัจจุบัน
พุทธพจน์แสดงวิธีปฏิบัติ
การทำสมาธิแบบ พอง-ยุบ ทำยังไง
เขาถาม - ตอบ ผัสสะอายตนะกัน
ผลเกิดจากเหตุ
อยากฝึกเจริญเมตตา ที่ช่วยให้จิตมีพลัง
จิตฟุ้งซ่าน VS จิตสงบ
อยากเริ่มสวดมนต์,นั่งสมาธิ
กำลังเดินทาง แต่ยังไม่สุดทาง
ขออย่างเดียวให้จิตสงบ
ภาวนาแบบปาราสิริยพราหมณ์
ตามหาปัญญาอยู่ที่ใด
พึงรู้ตามที่มันเป็น
ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา
คนพุทธเคยตั้งคำถามมั้ย
อยากทำแล้วอิ่มใจไม่ได้อยากแบบโอยทรมานเหลือเกิน
เจริญสมาธิเพ่งหน้าผาก
มีวิธีแก้วิปัสสนูปกิเลส 10 มั้ย
งง ศัพท์ทางธรรม
สมาธิ Head space
ไม่อยากเกิดอีกแล้วต้องทำยังไงคะ ?
นั่งสมาธิควรจดจ่อตรงไหน
เรื่องภาวนา มือใหม่หัดภาวนา
ปัญหาการนั่งสมาธิ
หมดไฟในการปฏิบัติธรรมมากๆ ทำยังไงให้มีไฟกลับมาปฏิบัติอีกครั้งดีคะ
ถามเรื่องเจริญวิปัสสนากรรมฐาน
นั่งสมาธิจิตไปพรหมโลก
อยากนั่งสมาธิมากๆ แต่นั่งไม่ได้สักทีทำยังไงดี
อยากรู้แนวทางปฏิบัติธรรมสำหรับผู้เริ่มต้น
ความหมาย ปฏิบัติธรรม
ถามเพื่อนๆหน่อยคับ แต่ละวัดเก่งเรื่องฝึกจิตด้านอะไรบ้าง
ความหมาย ปฏิปทา
พูด VS ทำ
จิตต้องฝึกมัน
การรักษาจิตนั้นเป็นอย่างไร
บอกวิธีนั่งสมาธิที่ถูกต้อง
ปฏิบัติธรรม เ จ้ า สำ นั ก จำ ต้ อ ง แก้อารมณ์เป็น
ความชำนาญ ๕ อย่าง
ถามการเจริญสติ
ปัจจุบันขณะ ภาคปฏิบัติทางจิต
การนั่งสมาธิเช้ากับเย็นได้ผลแตกต่างกันยังไง
ไม่เข้าใจสมาธิก็ไม่เข้าใจไตรสิกขา
นั่งสมาธิแล้วรู้สึกหงุดหงิด อึดอัด รำคาญ อยู่ข้างใน
นั่งสมาธิมีอาการตึงที่จมูก, หน้าเอียง
อิริยาบถนั่ง
หาสถานที่ปฏิบัติธรรม
รบกับความคิดตัวเองคือการปฏิบัติธรรม
ถีนมิทธะแทรกระหว่างภาวนา
หลักทำ สมถะ,วิปัสสนา,สมถะวิปัสสนาเคียงคู่กัน
สมถะ กับ วิปัสสนา
กาย + จิต สัมพันธ์กัน
รู้ปริยัติ กับ รู้ปฏิบัติ
ตกหลุมความคิด
อารมณ์ที่ดีงามที่ควรระลึกถึงเนื่องๆ
สอบถามเรื่องการเจริญวิปัสสนากรรมฐาน
จิตที่ฝึกดีแล้วนำสุขมาให้
ห ลั ก ปฏิบัติ - ผ ล ข อ ง การปฏิบัติ
โลกุตรสัมมาทิฐิ
ไม่ต้องเถียงกัน มันชื่อ ค้างคาว
ธรรมะจัดสรรค์
แก่นภาคปฏิบัติ
นั่งสมาธิยังไง ให้มีสมาธิ
ทำให้ถูกดี ทำให้พอดี ทำให้ถึงดี
อยากจริงจังกับภาวนา ทำยังไงบ้างคะ
อานิสงส์จงกรม+จงกรม ๖ ระยะ
ลักษณะของจิตที่เป็นสมาธิ
ดูตรงไหนว่าจิตมีสมาธิแล้ว
คำว่า ปัจจุบันอารมณ์, ปัจจุบันธรรม,ปัจจุบันขณะ แค่ไหน
ดูกลุ่มนี้แล้ว ดูกลุ่มสภาวธรรมด้วย
ดูความหมาย กรรมฐาน ให้ชัด
การรู้ ๓ ระดับ
หลักทำ สมถะ,วิปัสสนา,สมถะวิปัสสนาเคียงคู่กัน
เสริมหัวข้อข้างล่าง
สติ
ทำกิจสำคัญทั้งใน
สมถะ
และใน
วิปัสสนา
หากพูดเปรียบเทียบ ระหว่างบทบาทของสติในสมถะ กับ ในวิปัสสนา
ใน
สมถะ
สติกุมจิตไว้กับอารมณ์ หรือดึงอารมณ์ไว้กับจิต เพียงเพื่อให้จิตเพ่งแน่วแน่หรือจับแนบสนิทอยู่กับอารมณ์นั้น นิ่งสงบไม่ส่าย ไม่ซ่านไปที่อื่น
เมื่อจิตแน่วแน่แนบสนิทอยู่กับอารมณ์นั้น เป็นหนึ่งเดียวต่อเนื่องไปสม่ำเสมอ
ก็เรียกว่า
เป็น
สมาธิ
และเพียงเท่านั้น
สมถะ
ก็สำเร็จ
ส่วน
ในวิปัสสนา
สติกำหนดอารมณ์ให้แก่จิต หรือดึงจิตไว้กับอารมณ์เหมือนกัน แต่มุ่งใช้จิตเป็นที่วางอารมณ์ เพื่อเสนออารมณ์นั้นให้ปัญญาตรวจสอบพิจารณา คือจับอารมณ์ไว้ให้ปัญญาตรวจดู และวิเคราะห์วิจัยโดย
ใช้จิตที่ตั้งมั่น เป็นที่ทำงาน
(สติ ใช้กำหนด ปัญญาใช้ตรวจตรอง วิเคราะห์ วินิจฉัย.
วิสุทฺธิ.ฎีกา 1/301)
หากให้
อุปมา
ในกรณีของสมถะ เหมือนเอาเชือกผูกลูกวัวพยศไว้กับหลัก ลูกวัวจะออกไปไหนๆ ก็ไปไม่ได้ คงวนเวียนอยู่กับหลัก ในที่สุด เมื่อหายพยศ ก็หมอบนิ่งอยู่กับหลักนั้นเอง จิตเปรียบเหมือนลูกวัวพยศ อารมณ์เหมือนหลัก สติเหมือนเชือก
ส่วนใน
กรณีของวิปัสสนา
เปรียบเหมือนเอาเชือกหรือเครื่องมือ ผูกตรึงคน สัตว์ หรือวัตถุบางอย่าง ไว้กับแท่นหรือเตียง แล้วตรวจดู หรือทำกิจอื่น เช่น ผ่าตัด เป็นต้น ได้ถนัดชัดเจน เชือกหรือเครื่องยึด คือ สติ คนสัตว์หรือวัตถุที่เกี่ยวข้อง คือ อารมณ์ แท่นหรือ
เตียง
คือ
จิตที่เป็นสมาธิ
การตรวจหรือผ่าตัดเป็นต้นคือ
ปัญญา
ที่กล่าวมานั้น เป็นการพูดถึงหลักทั่วไป
ยังมีข้อสังเกตปลีกย่อยที่ควรกล่าวถึงอีกบ้าง อีกอย่างหนึ่ง คือ ใน
สมถะ
ความมุ่งหมายอยู่ที่ทำจิตให้สงบ ดังนั้น เมื่อให้สติกำหนดอารมณ์ใดแล้ว สติก็ยึดตรึงดึงจิตกุมไว้กับอารมณ์นั้น ที่ส่วนนั้นอย่างเดียว ให้จิตจดจ่อแน่วแน่แนบสนิทอยู่กับอารมณ์นั้นเท่านั้น ไม่ให้คลาดไปเลย จนในที่สุด จิตน้อมดิ่งแน่วแน่อยู่กับนิมิต หรือมโนภาพของสิ่งที่กำหนด ซึ่งเป็นเพียงสัญญาที่อยู่ในใจของผู้กำหนดเอง
ส่วน
ใน
วิปัสสนา
ความมุ่งหมายอยู่ที่
ความรู้ความเข้าใจสภาวธรรม
ดังนั้น สติจึงตามกำหนดตามจับตามถึงอารมณ์เฉพาะตัวจริงของมันตามสภาวะเท่านั้น และเพื่อให้ปัญญารู้เท่าทันครบถ้วนชัดเจนเกี่ยวกับสภาวะของมัน สติจึงตามกำหนดกำกับจับอารมณ์นั้นๆ ให้ทันความเป็นไปของมัน เพื่อปัญญาจะได้รู้อารมณ์นั้นโดยตลอด เช่น ดูมันตั้งแต่มันเกิดขึ้น คลี่คลายตัว จนกระทั่งดับสลายไป
นอกจากนั้น จะต้องให้
ปัญญาดูรู้อารมณ์ทุกอย่างที่เข้ามา
หรือเข้าไปเกี่ยวข้อง ซึ่งปัญญาจะต้องรู้เข้าใจ
เพื่อให้เกิดความรู้เท่าทันตามความเป็นจริง
สติจึงเปลี่ยนอารมณ์ที่กำหนด หรือที่จับให้ดูไปได้เรื่อยๆ
อีกทั้งเพื่อให้
ปัญญาดูรู้เท่าทันตรงตามที่สิ่งนั้นเป็นอยู่เป็นไปแท้ๆ
สติจึงต้อง
ตามจับให้ทันความเป็นไปในแต่ละขณะนั้นๆ ทุกขณะ
ไม่หยุดติดค้างอยู่กับอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่ง หรือส่วนใดส่วนหนึ่งของอารมณ์ใดๆ
ข้อสังเกตปลีกย่อยอื่นๆ ยังมีอีกเช่น ใน
สมถะ
สติกำหนด
อารมณ์ที่นิ่งอยู่กับที่
หรือเคลื่อนไหวเป็นรูปแบบเฉพาะซ้ำไปซ้ำมาภายในขอบเขตจำกัด
ส่วนใน
วิปัสสนา
สติกำหนดอารมณ์ที่กำลังเคลื่อนไหว หรือเป็นไปในสภาพใดๆก็ได้ ไม่จำกัดขอบเขต
ใน
สมถะ
นิยมให้เลือกกำหนดอารมณ์บางอย่าง ในบรรดาอารมณ์ที่สรรแล้ว ซึ่งจะเป็นอุบายช่วยให้จิตใจสงบแน่วแน่ได้ง่าย
ส่วนใน
วิปัสสนา
ใช้อารมณ์ได้ทุกอย่างไม่จำกัด
สุดแต่อะไรปรากฏขึ้นให้พิจารณา
และอะไรก็ตามที่จะให้เห็นความจริง (สรุปลงได้ทั้งหมดใน ร่างกาย เวทนา จิต ธรรม หรือในนามและรูป)
ดูเข้าใจแล้วโยงถึงวิธีกำหนดรู้ (ปริญญากิจ) สภาวธรรมที่ปรากฎแต่ละขณะๆด้วย รู้สึกยังไง เป็นยังไง กำหนด (ว่าในใจ) ยังงั้น เช่น สุข ทุกข์ ฟุ้งซ่าน เป็นต้น ก็กำหนดไปตามที่มันเป็น นี่
วิปัสสนา
แต่ถ้าสภาวะใดเกิดรู้สึกก็ว่า ช่างมันไม่ต้องไปสนใจ
ลมเข้า
พุท
ลมออก
โธ พุทโธๆๆๆๆๆ อย่างเดียว นี่
สมถะ
สมาธิล้วนๆเพียวๆ
Create Date : 22 ธันวาคม 2564
Last Update : 15 มีนาคม 2568 12:07:03 น.
0 comments
Counter : 541 Pageviews.
Share
Tweet
ชื่อ :
* blog นี้ comment ได้เฉพาะสมาชิก
Comment :
*ส่วน comment ไม่สามารถใช้ javascript และ style sheet
สมาชิกหมายเลข 6393385
Location :
[ดู Profile ทั้งหมด]
ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
ผู้ติดตามบล็อก : 9 คน [
?
]
Webmaster - BlogGang
[Add สมาชิกหมายเลข 6393385's blog to your web]
Bloggang.com