กรรมเก่า คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ.เป็นเจ้าบทบาทเดิม จากนั้น การศึกษาอาศัยปรโตโฆสะ ซึ่งมีคติว่า "คนเป็นไปตามสภาพแวดล้อมที่ปรุงปั้น" และโยนิโสมนสิการ ซึ่งมีคติย้อนกลับว่า "ถ้าเป็นคนรู้จักคิด แม้แต่ฟังคนบ้าคนเมาพูด ก็อาจสำเร็จเป็นพระอรหันต์"
บุญ
ข้อธัมม์ที่ถาม-เถียงกันบ่อย
หลักปฏิบัติ
สภาวธรรม
ปฏิบัติธรรมให้ถูกทาง
ผู้พิพากษาตั้งตุลา ใ ห้ สั ง ค ม ส ม ดุ ล
คติธรรมสั้นๆ
ภาษาธรรมวันละคำ
รู้เขา รู้เรา
พุทธโอวาทก่อนปรินิพพาน,
ความเป็นมาของการบวช
การทำวัตรสวดมนต์
ทำยังไงจึงจะมีอายุยืนและมีความสุข
พลังดันคน
ที่ทำงานของจิต
บรรลุธรรมอะไร?
พุทธปรัชญาในสุตตันตปิฎก
ธัมมาธิบาย
สวดมนต์
ความจน เ ป็ น ทุ ก ข์ ใ น โ ล ก
เรียนบาลีเพื่อรักษาพุทธพจน์
ศีลธรรมไม่กลับมาโลกาจะพินาศ
หลักธรรมสำหรับผู้ยังไม่นับถือศาสนาใดๆ
ก่อนศึกษาพุทธธรรม
ภาค ๑. มัชเฌนธรรมเทศนา
ภาค ๒. มัชฌิมาปฏิปทา
ภาค ๓. อารยธรรมวิถี
วัฒนธรรมประเพณี
จารึกธรรม
สมาธิ,ฌาน
เขาว่า ถ้าพุทธมีหลักธรรมดีจริง คงไม่ 0 สิ้นจากถิ่นเกิด
ศีลกับเจตนารมณ์ทางสังคม
คุณค่าทางจริยธรรมของไตรลักษณ์
จงกรม
กรรมฐาน
สติปัฏฐาน
ศีลสำหรับประชาชน
วิธีการแห่งศรัทธา (ปรโตโฆสะที่ดี)
วิธีการแห่งปัญญา (โยนิโสมนสิการ)
ทางดำเนินชีวิตสายกลาง
คุณสมบัติบุคคลโสดาบัน
กาม
ความสุข
อริยสัจ ๔
ธรรมฉันทะ - ตัณหาฉันทะ
กรรม
ฅนไทย ใช่กบเฒ่า ?
พระไทย ใช่เขาใช่เรา?
สมถะ,วิปัสสนา,เจโตวิมุตติ,ปัญญาวิมุตติ
อนัตตา
สมมุติบัญญัติ
ศีล-สีลัพพตปรามาส
นรก สวรรค์ ในพระไตรปิฎก
วันสำคัญของชาวพุทธไทย
วิธีฝึกหูทิพย์ ตาทิพย์
ลำดับญาณ,ทวนญาณ
ความสำคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะ ศ.ประจำชาติ
ภาวะแห่งนิพพาน
ระดับของผู้บรรลุนิพพาน
ภาวะของผู้บรรลุนิพพาน
อิทธิบาท ๔
รู้ทุกอย่างแต่ปล่อยวางไม่ได้
<<
กันยายน 2564
>>
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
2 กันยายน 2564
ตกหลุมความคิด
ผลวิจัยวิจัยพบ การนั่งสมาธิ
มิจฉาทิฏฐิ มิจฉาปฏิปทา
อะกาลิโก เป็นสิ่งที่ปฏิบัติได้และให้ผลได้ไม่จำกัดกาล
จิตแพทย์
การนั่งสมาธิไม่มีในพระพุทธศาสนาเลย
วิธีปฏิบัติ ๔ อย่าง
พุทธในอิตาลี
ผมบรรลุธรรมแล้วครับ ๒
ผมบรรลุธรรมแล้วครับ
ความง่วงเป็นอุปสรรคในการปฏิบัติธรรม เราผ่านไปไม่ได้
ปฏิเวธของพระพุทธเจ้ามาเป็นปริยัติของเรา
อานาปานสติตรงมติอรรถกถา
ฝึกอานาปานสติแต่คิดฟุ้งซ่าน บังคับให้หยุดคิดไม่ได้
ความสุขจากสมาธิ เป็นอย่างไรคะ
ศัพท์ทางธรรมที่อ้างอิงบ่อย
ถามการภาวนาค่ะ
การทำดีที่แสนยาก
ไม่จมแช่ กำหนดรู้แล้วปล่อยๆ
วิธีเจริญสมถะ หรือเจริญสมาธิล้วนๆ
สมถะ วิปัสสนา อีกที
สมถะ กับ สติปัฏฐาน แยกกันตรงไหน ร่วมกันตรงไหน
ประเมินตัวเองอย่างไรคะว่าทําถูก
ทำสมาธิที่บ้านหลายวันแล้ว ยังไม่เห็นการเปลี่ยนแปลงอะไร
การสอนธรรมแบบปุจฉา-วิสัชชนา ที่เลือนหายไปจากศาสนาพุทธในปัจจุบัน
พุทธพจน์แสดงวิธีปฏิบัติ
การทำสมาธิแบบ พอง-ยุบ ทำยังไง
เขาถาม - ตอบ ผัสสะอายตนะกัน
ผลเกิดจากเหตุ
อยากฝึกเจริญเมตตา ที่ช่วยให้จิตมีพลัง
จิตฟุ้งซ่าน VS จิตสงบ
อยากเริ่มสวดมนต์,นั่งสมาธิ
กำลังเดินทาง แต่ยังไม่สุดทาง
ขออย่างเดียวให้จิตสงบ
ภาวนาแบบปาราสิริยพราหมณ์
ตามหาปัญญาอยู่ที่ใด
พึงรู้ตามที่มันเป็น
ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา
คนพุทธเคยตั้งคำถามมั้ย
อยากทำแล้วอิ่มใจไม่ได้อยากแบบโอยทรมานเหลือเกิน
เจริญสมาธิเพ่งหน้าผาก
มีวิธีแก้วิปัสสนูปกิเลส 10 มั้ย
งง ศัพท์ทางธรรม
สมาธิ Head space
ไม่อยากเกิดอีกแล้วต้องทำยังไงคะ ?
นั่งสมาธิควรจดจ่อตรงไหน
เรื่องภาวนา มือใหม่หัดภาวนา
ปัญหาการนั่งสมาธิ
หมดไฟในการปฏิบัติธรรมมากๆ ทำยังไงให้มีไฟกลับมาปฏิบัติอีกครั้งดีคะ
ถามเรื่องเจริญวิปัสสนากรรมฐาน
นั่งสมาธิจิตไปพรหมโลก
อยากนั่งสมาธิมากๆ แต่นั่งไม่ได้สักทีทำยังไงดี
อยากรู้แนวทางปฏิบัติธรรมสำหรับผู้เริ่มต้น
ความหมาย ปฏิบัติธรรม
ถามเพื่อนๆหน่อยคับ แต่ละวัดเก่งเรื่องฝึกจิตด้านอะไรบ้าง
ความหมาย ปฏิปทา
พูด VS ทำ
จิตต้องฝึกมัน
การรักษาจิตนั้นเป็นอย่างไร
บอกวิธีนั่งสมาธิที่ถูกต้อง
ปฏิบัติธรรม เ จ้ า สำ นั ก จำ ต้ อ ง แก้อารมณ์เป็น
ความชำนาญ ๕ อย่าง
ถามการเจริญสติ
ปัจจุบันขณะ ภาคปฏิบัติทางจิต
การนั่งสมาธิเช้ากับเย็นได้ผลแตกต่างกันยังไง
ไม่เข้าใจสมาธิก็ไม่เข้าใจไตรสิกขา
นั่งสมาธิแล้วรู้สึกหงุดหงิด อึดอัด รำคาญ อยู่ข้างใน
นั่งสมาธิมีอาการตึงที่จมูก, หน้าเอียง
อิริยาบถนั่ง
หาสถานที่ปฏิบัติธรรม
รบกับความคิดตัวเองคือการปฏิบัติธรรม
ถีนมิทธะแทรกระหว่างภาวนา
หลักทำ สมถะ,วิปัสสนา,สมถะวิปัสสนาเคียงคู่กัน
สมถะ กับ วิปัสสนา
กาย + จิต สัมพันธ์กัน
รู้ปริยัติ กับ รู้ปฏิบัติ
ตกหลุมความคิด
อารมณ์ที่ดีงามที่ควรระลึกถึงเนื่องๆ
สอบถามเรื่องการเจริญวิปัสสนากรรมฐาน
จิตที่ฝึกดีแล้วนำสุขมาให้
ห ลั ก ปฏิบัติ - ผ ล ข อ ง การปฏิบัติ
โลกุตรสัมมาทิฐิ
ไม่ต้องเถียงกัน มันชื่อ ค้างคาว
ธรรมะจัดสรรค์
แก่นภาคปฏิบัติ
นั่งสมาธิยังไง ให้มีสมาธิ
ทำให้ถูกดี ทำให้พอดี ทำให้ถึงดี
อยากจริงจังกับภาวนา ทำยังไงบ้างคะ
อานิสงส์จงกรม+จงกรม ๖ ระยะ
ลักษณะของจิตที่เป็นสมาธิ
ดูตรงไหนว่าจิตมีสมาธิแล้ว
คำว่า ปัจจุบันอารมณ์, ปัจจุบันธรรม,ปัจจุบันขณะ แค่ไหน
ดูกลุ่มนี้แล้ว ดูกลุ่มสภาวธรรมด้วย
ดูความหมาย กรรมฐาน ให้ชัด
การรู้ ๓ ระดับ
ตกหลุมความคิด
คนดีก็ทุกข์แบบคนดี คนชั่วคนไม่ดีก็ทุกข์แบบคนชั่วคนไม่ดี สรุปมนุษย์มีทุกข์นอนเนื่องอยู่เป็นพื้นใจ
>
หมดไฟในการปฏิบัติธรรมมากๆ ทำยังไงให้มีไฟกลับมาปฏิบัติอีกครั้งดีคะ
เคยปรึกษากับรุ่นพี่คนนึงซึ่ง จขกท. สนิทมาก
พี่เขาก็บอกนะคะว่า
ใจล้วนๆ
เราฟังเราก็รู้ความหมายมันนะ แต่พอเอาเข้าจริงๆจะกลับมาปฏิบัติมันยากมากเลยอ่ะค่ะ พอพูดถึงสวดมนต์ใจอยากไป แต่ตัวไม่เอาซะงั้น ขก. บ้าง อะไรบ้าง รู้สึกว่าแบบ
เราทำไปทำไม
? แต่ใจเราอ่ะมันรู้นะว่า ลึกๆแล้วเรา
ขาดธรรมะไม่ได้ เหมือนเป็นส่วนนึงในชีวิตไปแล้ว
หมดไฟในการปฏิบัติธรรมมากๆ ทำยังไงให้มีไฟกลับมาปฏิบัติอีกครั้งดีคะ - Pantip
อ่านหลักนี่ก่อน
- มรรค
ในฐานะอุปกรณ์สำหรับใช้ มิใช่สำหรับยึดถือ หรือ แบกโก้ไว้
"ภิกษุทั้งหลาย เปรียบเหมือนบุรุษผู้เดินทางไกล พบห้วงน้ำใหญ่ ฝั่งข้างนี้ น่าหวาดระแวง น่ากลัวภัย แต่ฝั่งข้างโน้น ปลอดโปร่ง ไม่มีภัย ก็แล เรือ หรือสะพาน สำหรับข้ามไปฝั่งโน้น ก็ไม่มี บุรุษนั้นพึงดำริว่า ห้วงน้ำนี้ใหญ่ ฝั่งข้างนี้ น่าหวาดระแวง ...ถ้ากระไร เราพึงเก็บรวมเอาหญ้า ท่อนไม้ กิ่งไม้ และใบไม้ มาผูกเป็นแพ แล้วอาศัยแพนั้น พยายามเอาด้วยมือและเท้า พึงข้ามถึงฝั่งโน้นได้โดยสวัสดี"
"คราวนั้น เขาจึง ... ผูกแพ ... ข้ามถึงฝั่งโน้นโดยสวัสดี ครั้นเขาได้ข้ามไป ขึ้นฝั่งข้างโน้นแล้ว ก็มีความ
ดำริ
ว่า แพนี้ มีอุปการะแก่เรามากแท้ เราอาศัยแพนี้ ... ถ้ากระไร เรา
พึงยกแพนี้ขึ้นเทินบนหัว
หรือแบกขึ้นบ่าไว้ ไปตามความปรารถนา"
"ภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายจะเห็นเป็นเช่นไร ? บุรุษนั้น ผู้กระทำอย่างนี้ จะชื่อว่า เป็นผู้กระทำถูกหน้าที่ต่อแพนั้น หรือไม่?"
ภิกษุทั้งหลาย ทูลตอบว่า ไม่ถูก
จึงตรัสต่อไปว่า
"บุรุษนั้นทำอย่างไร จึงจะชื่อว่าทำถูกหน้าที่ต่อแพนั้น ? ในเรื่องนี้ บุรุษนั้น เมื่อได้ข้ามไปถึงฝั่งโน้นแล้ว มีความดำริว่า แพนี้ มีอุปการะแก่เรามากแท้ ... ถ้ากระไร เราพึงยกแพนี้ขึ้นไว้บนบก หรือผูกให้ลอยอยู่ในน้ำ แล้วจึงไปตามปรารถนา บุรุษนั้นกระทำอย่างนี้ จึงจะชื่อว่า เป็นผู้กระทำถูกหน้าที่ต่อแพนั้น นี้ฉันใด"
"
ธรรม
ก็มี
อุปมาเหมือนแพ
เราแสดงไว้ เพื่อมุ่งหมายให้ใช้ข้ามไป มิใช่เพื่อให้ยึดถือไว้ ฉันนั้น เมื่อเธอทั้งหลาย รู้ทั่วถึงธรรม อันมีอุปมาเหมือนแพที่เราแสดงแล้ว พึงละเสียแม้ซึ่ง
ธรรม
ทั้งหลาย จะป่วยกล่าวไปใยถึง
อธรรม
เล่า"
(ม.มู.12/280/270)
"ภิกษุทั้งหลาย
ทิฏฐิ
(หลักการ ความเข้าใจธรรม)
ที่บริสุทธิ์ถึงอย่างนี้ ผุดผ่องถึงอย่างนี้ ถ้าเธอทั้งหลาย ยังยึดติดอยู่ เริงใจกระหยิ่มอยู่ เฝ้าถนอมอยู่ ยึดถือว่าเป็นของเราอยู่ เธอทั้งหลาย จะพึงรู้ทั่วถึงธรรม ที่เราแสดงแล้ว เพื่อมุ่งหมายให้ใช้ข้ามไป มิใช่เพื่อให้ยึดถือเอาไว้ ได้ละหรือ"
(ม.มู.12/445/479)
พุทธพจน์ทั้งสองแห่งนี้
นอกจากเป็นเครื่องเตือนไม่ให้ยึดมั่นในธรรมทั้งหลาย
(แม้ที่เป็นความจริง ความถูกต้อง)
โดยมิได้ถือเอาประโยชน์จากธรรมเหล่านั้นตามความหมาย คุณค่า และประโยชน์ตามความเป็นจริงของมัน
แล้ว
ข้อที่สำคัญยิ่งก็คือ เป็นการย้ำให้มองเห็นธรรมทั้งหลาย ในฐานะเป็นอุปกรณ์
หรือวิธีการที่จะนำไปสู่จุดหมาย มิใช่สิ่งลอยๆ หรือจบในตัว
ด้วยเหตุนี้ เมื่อปฏิบัติธรรมข้อใดข้อหนึ่ง จะต้องรู้ตระหนักชัดเจนถึงวัตถุประสงค์ของธรรมนั้น พร้อมทั้งความสัมพันธ์ของมันกับธรมอย่างอื่นๆ ในการดำเนินไปสู่วัตถุประสงค์นั้น
วัตถุประสงค์ในที่นี้ มิได้หมายเพียงวัตถุประสงค์ทั่วไปในขั้นสุดท้ายเท่านั้น แต่หมายถึงวัตถุประสงค์เฉพาะตัวของธรรมข้อนั้นๆ เป็นสำคัญว่าธรรมข้อนั้นปฏิบัติ เพื่อช่วยสนับสนุนหรือให้เกิดธรรมข้อใด จะไปสิ้นสุดลงที่ใด มีธรรมใดรับช่วงต่อไป ดังนี้ เป็นต้น
เหมือนการเดินทางไกลที่ต่อยานพาหนะหลายทอด
และอาจใช้ยานพาหนะต่างกัน ทั้งทางบก ทางน้ำ ทางอากาศ จะรู้คลุมๆ เพียงว่าจะไปสู่จุดหมายปลายทางที่นั่นๆ เท่านั้นไม่ได้ จะต้องรู้ด้วยว่า ยานแต่ละทอดแต่ละอย่างนั้น ตนกำลังอาศัยเพื่อไปถึงที่ใด ถึงที่นั้นแล้ว จะอาศัยยานใดต่อไป ดังนี้ เป็นต้น
*
การปฏิบัติธรรมที่ขาดความตระหนักในวัตถุประสงค์ ความเป็นอุปกรณ์
และ
ความสัมพันธ์กับธรรมอื่นๆ
ย่อมกลายเป็นการปฏิบัติที่เลื่อนลอย คับแคบ ตัน และที่ร้ายยิ่งคือ ทำให้เขวออกนอกทาง ไม่ตรงจุดหมาย และกลายเป็นธรรมที่เฉื่อยชา เป็นหมัน ไม่แล่นทำการ ไม่ออกผลที่หมาย
เพราะการปฏิบัติอย่างไร้จุดหมายเช่นนี้ ความไขว้เขว และผลเสียหายต่างๆ จึงเกิดขึ้นแก่หลักธรรมสำคัญๆ เช่น สันโดษ อุเบกขา เป็นต้น
*
พระสูตรที่ช่วยเน้นข้อความที่กล่าวมานี้ ได้แก่
รถวินีตสูตร
ม.มู.12/292-300/287-297
ซึ่งแสดงให้เห็นวัตถุประสงค์ทั่วไป และวัตถุประสงค์เฉพาะของธรรมแต่ละอย่าง ตามลำดับ
วิสุทธิ ๗
พุทธพจน์ข้างบน เป็นจุดหมายขั้นสูงสุดแล้ว ไม่มียิ่งไปกว่านั้นแล้ว แต่ก็อย่างว่า เราๆท่านๆ อยู่ในขั้นในระดับที่กำลังเดินทาง ติดบ้าง ท้อบ้าง สู้บ้าง
สำหรับ จขกท. ยังอยู่ในวัยรุ่นวัยเรียน ก็ให้เรียนไปด้วย เรียนก็คือการปฏิบัติธรรม ทำงานอื่นๆไปด้วย (ตามอาชีพที่บ้าน ทำงานก็เรียกว่าการปฏิบัติธรรม) เพื่อไม่ให้จิตใจติดหล่มตกหลุมความคิดนี่นั่นข้างเดียว พึงมองธรรมะให้รอบด้าน มองความหมายธรรมะให้กว้างสุด
คนรักธรรมต้องคู่กับรู้จักธรรม
https://www.bloggang.com/mainblog.php?id=samathijit&month=21-05-2021&group=6&gblog=25
รักอย่างเดียวไม่พอ รักข้างเดียวก็หลงได้ เพราะเหตุนั้นต้องรู้จักรู้ใจเขาด้วย
“จงเขียนสิ่งที่นักเรียนอยากเป็นเมื่อโตขึ้น”... - I’m from Andromeda | Facebook
Create Date : 02 กันยายน 2564
Last Update : 14 มีนาคม 2568 19:46:07 น.
0 comments
Counter : 927 Pageviews.
Share
Tweet
ผู้โหวตบล็อกนี้...
คุณhaiku
ชื่อ :
* blog นี้ comment ได้เฉพาะสมาชิก
Comment :
*ส่วน comment ไม่สามารถใช้ javascript และ style sheet
สมาชิกหมายเลข 6393385
Location :
[ดู Profile ทั้งหมด]
ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
ผู้ติดตามบล็อก : 9 คน [
?
]
Webmaster - BlogGang
[Add สมาชิกหมายเลข 6393385's blog to your web]
Bloggang.com