กรรมเก่า คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ.เป็นเจ้าบทบาทเดิม จากนั้น การศึกษาอาศัยปรโตโฆสะ ซึ่งมีคติว่า "คนเป็นไปตามสภาพแวดล้อมที่ปรุงปั้น" และโยนิโสมนสิการ ซึ่งมีคติย้อนกลับว่า "ถ้าเป็นคนรู้จักคิด แม้แต่ฟังคนบ้าคนเมาพูด ก็อาจสำเร็จเป็นพระอรหันต์"
บุญ
ข้อธัมม์ที่ถาม-เถียงกันบ่อย
หลักปฏิบัติ
สภาวธรรม
ปฏิบัติธรรมให้ถูกทาง
ผู้พิพากษาตั้งตุลา ใ ห้ สั ง ค ม ส ม ดุ ล
คติธรรมสั้นๆ
ภาษาธรรมวันละคำ
รู้เขา รู้เรา
พุทธโอวาทก่อนปรินิพพาน,
ความเป็นมาของการบวช
การทำวัตรสวดมนต์
ทำยังไงจึงจะมีอายุยืนและมีความสุข
พลังดันคน
ที่ทำงานของจิต
บรรลุธรรมอะไร?
พุทธปรัชญาในสุตตันตปิฎก
ธัมมาธิบาย
สวดมนต์
ความจน เ ป็ น ทุ ก ข์ ใ น โ ล ก
เรียนบาลีเพื่อรักษาพุทธพจน์
ศีลธรรมไม่กลับมาโลกาจะพินาศ
หลักธรรมสำหรับผู้ยังไม่นับถือศาสนาใดๆ
ก่อนศึกษาพุทธธรรม
ภาค ๑. มัชเฌนธรรมเทศนา
ภาค ๒. มัชฌิมาปฏิปทา
ภาค ๓. อารยธรรมวิถี
วัฒนธรรมประเพณี
จารึกธรรม
สมาธิ,ฌาน
เขาว่า ถ้าพุทธมีหลักธรรมดีจริง คงไม่ 0 สิ้นจากถิ่นเกิด
ศีลกับเจตนารมณ์ทางสังคม
คุณค่าทางจริยธรรมของไตรลักษณ์
จงกรม
กรรมฐาน
สติปัฏฐาน
ศีลสำหรับประชาชน
วิธีการแห่งศรัทธา (ปรโตโฆสะที่ดี)
วิธีการแห่งปัญญา (โยนิโสมนสิการ)
ทางดำเนินชีวิตสายกลาง
คุณสมบัติบุคคลโสดาบัน
กาม
ความสุข
อริยสัจ ๔
ธรรมฉันทะ - ตัณหาฉันทะ
กรรม
ฅนไทย ใช่กบเฒ่า ?
พระไทย ใช่เขาใช่เรา?
สมถะ,วิปัสสนา,เจโตวิมุตติ,ปัญญาวิมุตติ
อนัตตา
สมมุติบัญญัติ
ศีล-สีลัพพตปรามาส
นรก สวรรค์ ในพระไตรปิฎก
วันสำคัญของชาวพุทธไทย
วิธีฝึกหูทิพย์ ตาทิพย์
ลำดับญาณ,ทวนญาณ
ความสำคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะ ศ.ประจำชาติ
ภาวะแห่งนิพพาน
ระดับของผู้บรรลุนิพพาน
ภาวะของผู้บรรลุนิพพาน
อิทธิบาท ๔
รู้ทุกอย่างแต่ปล่อยวางไม่ได้
<<
ตุลาคม 2567
>>
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
22 ตุลาคม 2567
ความง่วงเป็นอุปสรรคในการปฏิบัติธรรม เราผ่านไปไม่ได้
ผลวิจัยวิจัยพบ การนั่งสมาธิ
มิจฉาทิฏฐิ มิจฉาปฏิปทา
อะกาลิโก เป็นสิ่งที่ปฏิบัติได้และให้ผลได้ไม่จำกัดกาล
จิตแพทย์
การนั่งสมาธิไม่มีในพระพุทธศาสนาเลย
วิธีปฏิบัติ ๔ อย่าง
พุทธในอิตาลี
ผมบรรลุธรรมแล้วครับ ๒
ผมบรรลุธรรมแล้วครับ
ความง่วงเป็นอุปสรรคในการปฏิบัติธรรม เราผ่านไปไม่ได้
ปฏิเวธของพระพุทธเจ้ามาเป็นปริยัติของเรา
อานาปานสติตรงมติอรรถกถา
ฝึกอานาปานสติแต่คิดฟุ้งซ่าน บังคับให้หยุดคิดไม่ได้
ความสุขจากสมาธิ เป็นอย่างไรคะ
ศัพท์ทางธรรมที่อ้างอิงบ่อย
ถามการภาวนาค่ะ
การทำดีที่แสนยาก
ไม่จมแช่ กำหนดรู้แล้วปล่อยๆ
วิธีเจริญสมถะ หรือเจริญสมาธิล้วนๆ
สมถะ วิปัสสนา อีกที
สมถะ กับ สติปัฏฐาน แยกกันตรงไหน ร่วมกันตรงไหน
ประเมินตัวเองอย่างไรคะว่าทําถูก
ทำสมาธิที่บ้านหลายวันแล้ว ยังไม่เห็นการเปลี่ยนแปลงอะไร
การสอนธรรมแบบปุจฉา-วิสัชชนา ที่เลือนหายไปจากศาสนาพุทธในปัจจุบัน
พุทธพจน์แสดงวิธีปฏิบัติ
การทำสมาธิแบบ พอง-ยุบ ทำยังไง
เขาถาม - ตอบ ผัสสะอายตนะกัน
ผลเกิดจากเหตุ
อยากฝึกเจริญเมตตา ที่ช่วยให้จิตมีพลัง
จิตฟุ้งซ่าน VS จิตสงบ
อยากเริ่มสวดมนต์,นั่งสมาธิ
กำลังเดินทาง แต่ยังไม่สุดทาง
ขออย่างเดียวให้จิตสงบ
ภาวนาแบบปาราสิริยพราหมณ์
ตามหาปัญญาอยู่ที่ใด
พึงรู้ตามที่มันเป็น
ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา
คนพุทธเคยตั้งคำถามมั้ย
อยากทำแล้วอิ่มใจไม่ได้อยากแบบโอยทรมานเหลือเกิน
เจริญสมาธิเพ่งหน้าผาก
มีวิธีแก้วิปัสสนูปกิเลส 10 มั้ย
งง ศัพท์ทางธรรม
สมาธิ Head space
ไม่อยากเกิดอีกแล้วต้องทำยังไงคะ ?
นั่งสมาธิควรจดจ่อตรงไหน
เรื่องภาวนา มือใหม่หัดภาวนา
ปัญหาการนั่งสมาธิ
หมดไฟในการปฏิบัติธรรมมากๆ ทำยังไงให้มีไฟกลับมาปฏิบัติอีกครั้งดีคะ
ถามเรื่องเจริญวิปัสสนากรรมฐาน
นั่งสมาธิจิตไปพรหมโลก
อยากนั่งสมาธิมากๆ แต่นั่งไม่ได้สักทีทำยังไงดี
อยากรู้แนวทางปฏิบัติธรรมสำหรับผู้เริ่มต้น
ความหมาย ปฏิบัติธรรม
ถามเพื่อนๆหน่อยคับ แต่ละวัดเก่งเรื่องฝึกจิตด้านอะไรบ้าง
ความหมาย ปฏิปทา
พูด VS ทำ
จิตต้องฝึกมัน
การรักษาจิตนั้นเป็นอย่างไร
บอกวิธีนั่งสมาธิที่ถูกต้อง
ปฏิบัติธรรม เ จ้ า สำ นั ก จำ ต้ อ ง แก้อารมณ์เป็น
ความชำนาญ ๕ อย่าง
ถามการเจริญสติ
ปัจจุบันขณะ ภาคปฏิบัติทางจิต
การนั่งสมาธิเช้ากับเย็นได้ผลแตกต่างกันยังไง
ไม่เข้าใจสมาธิก็ไม่เข้าใจไตรสิกขา
นั่งสมาธิแล้วรู้สึกหงุดหงิด อึดอัด รำคาญ อยู่ข้างใน
นั่งสมาธิมีอาการตึงที่จมูก, หน้าเอียง
อิริยาบถนั่ง
หาสถานที่ปฏิบัติธรรม
รบกับความคิดตัวเองคือการปฏิบัติธรรม
ถีนมิทธะแทรกระหว่างภาวนา
หลักทำ สมถะ,วิปัสสนา,สมถะวิปัสสนาเคียงคู่กัน
สมถะ กับ วิปัสสนา
กาย + จิต สัมพันธ์กัน
รู้ปริยัติ กับ รู้ปฏิบัติ
ตกหลุมความคิด
อารมณ์ที่ดีงามที่ควรระลึกถึงเนื่องๆ
สอบถามเรื่องการเจริญวิปัสสนากรรมฐาน
จิตที่ฝึกดีแล้วนำสุขมาให้
ห ลั ก ปฏิบัติ - ผ ล ข อ ง การปฏิบัติ
โลกุตรสัมมาทิฐิ
ไม่ต้องเถียงกัน มันชื่อ ค้างคาว
ธรรมะจัดสรรค์
แก่นภาคปฏิบัติ
นั่งสมาธิยังไง ให้มีสมาธิ
ทำให้ถูกดี ทำให้พอดี ทำให้ถึงดี
อยากจริงจังกับภาวนา ทำยังไงบ้างคะ
อานิสงส์จงกรม+จงกรม ๖ ระยะ
ลักษณะของจิตที่เป็นสมาธิ
ดูตรงไหนว่าจิตมีสมาธิแล้ว
คำว่า ปัจจุบันอารมณ์, ปัจจุบันธรรม,ปัจจุบันขณะ แค่ไหน
ดูกลุ่มนี้แล้ว ดูกลุ่มสภาวธรรมด้วย
ดูความหมาย กรรมฐาน ให้ชัด
การรู้ ๓ ระดับ
ความง่วงเป็นอุปสรรคในการปฏิบัติธรรม เราผ่านไปไม่ได้
ดูๆก็น่าเห็นใจ
>เราเหนื่อย และท้อกับอุปสรรคต่างๆ ที่เกิดขึ้นตอน
สวดมนต์
และ
นั่งกรรมฐาน
มาก
เมื่อก่อนตอนไม่ปฏิบัติธรรม ชีวิตสบายกว่านี้มาก นอนขี้เกียจกี่ชั่วโมงก็ได้ มีเวลาว่างเยอะ อยากไปไหนก็ได้ไป ไม่ค่อยเจ็บป่วย
พอมาปฏิบัติธรรม มันทุกข์สารพัด ถ้าจะบอกว่ามันคือบททดสอบ เราก็ทนและผ่านมาได้หลายอย่างแล้ว ไม่ว่าจะป่วยโรคอะไร กี่โรคต่อกี่โรค หายจากโรคนึงก็ป่วยอีกโรค เดี๋ยวนี้เราไม่ดีใจเลยที่หายป่วย เพราะรู้ว่าหายจากโรคนี้เดี๋ยวก็เป็นโรคอื่น
เราก็ว่าเราอดทน อึดและถึกแล้วนะ แต่อย่างเดียวที่เราแพ้คือความง่วง ง่วงขึ้นมาแต่ละทีทรมานมาก นอนกี่ชั่วโมงก็ง่วง ดื่มกาแฟ ดื่มเครื่องดื่มชูกำลัง ก็ยังง่วง สวดมนต์หรือนั่งกรรมฐานต่อไปไม่ได้ ต้องเลิกไปอย่างน่าเสียดาย
หาวิธีแก้ง่วง แก้ถีนมิทธะ จาก internet ก็ไม่มีวิธีไหนได้ผล
เราควรทำยังไงดี ท้อเหลือเกิน จนไม่อยากปฏิบัติต่อไปแล้ว ใครเจออุปสรรคทุกข์ทนอย่างเราบ้าง ถึงไม่มีคำแนะนำแต่อย่างน้อยมาเล่าประสบการณ์ก็ยังดี
ความง่วงเป็นอุปสรรคอย่างมากในการปฏิบัติธรรม เราผ่านไปไม่ได้ - Pantip
พูดให้เห็นภาพ คือ การต่อสู้กับกิเลสเบื้องต้นก็นิวรณ์เนี่ย กล่าวคือ ความง่วงเหงาหาวนอน ไม่ใช่เรื่องง่ายๆ หินเอาการอยู่ แต่ก็ไม่ยากถ้ารู้เท่าทันมัน การรู้เท่าทันก็ต้องฝึกกำหนดรู้ให้ทันมัน ถ้ากำหนดความง่วงไม่ทันมันก็ครอบงำจิตเรียบร้อย
หัวทิ่ม มันยากตรงนี้ ยากตรงฝึกหัดพัฒนากุศลจิตให้มีกำลังรู้เท่าทันมันนี่
- จิตใจคนเรานั่น มีทั้งกุศล อกุศล แล้วทั้งกุศลอกุศลนี่แหละมันเหมือนแย่งชิงพื้นที่กัน ฝ่ายไหนมีกำลังมากกว่าก็ครอบงำฝ่ายมีกำลังน้อยกว่า ปกติฝ่ายอกุศลจะมีกำลังมากกว่ากุศล เพราะอะไร ? เพราะคนเรารับอารมณ์
ทางตา ทางหู
เป็นต้น มักปรุงแต่งจิตแต่เรื่องที่เป็นฝ่ายลบ นานๆๆจะบวกสักที การที่คนเราสั่งสมอกุศล (แง่ลบ) บ่อยๆก็กลายเป็นอนุสัยนอนเป็นพื้นจิตอยู่ เปรียบก็เหมือนพื้นห้องที่เราทิ้งไว้ไม่ได้ทำความสะอาดหลายๆปี ฝุ่นก็คลัก ฉันใดก็ฉันนั้น เพราะฉะนั้นการปฏิบัติกวาดล้างกิเลสมันจึงยากส์ ไหนยังต้องอาศัยการปฏิบัติถูกวิธีอีก ไม่จำต้องกล่าวถึงการปฏิบัติผิดวิธี
- ความหมายนิวรณ์
นิวรณ์
แปลว่า เครื่องกีดกั้น เครื่องขัดขวาง แปลเอาความตามหลักวิชาว่า สิ่งที่กีดกั้นการทำงานของจิตไม่ให้ก้าวหน้าในกุศลธรรม ธรรมฝ่ายชั่วที่กั้นจิตไม่ให้บรรลุคุณความดี หรืออกุศลธรรมที่ทำจิตให้เศร้าหมองและทำปัญญาให้อ่อนกำลัง
https://www.bloggang.com/mainblog.php?id=samathijit&month=30-10-2023&group=82&gblog=92
-
ความคิดเห็นที่ 24
ชวนคุยแก้ง่วงหน่อย
จขกท. ปฏิบัติยังไงแบบไหนครับผม
-
ความคิดเห็นที่ 24-1
เราสวดมนต์เป็นหลักค่ะ (เราท่องจนจำบทสวดได้ ปิดหนังสือ หลับตาสวดจะถนัดกว่า) รอบละประมาณ 2 ชั่วโมง 40 นาที แล้วนั่งสมาธิรอบละประมาณ 20 นาที รวมกันเป็น 3 ชั่วโมงพอดี ทำอย่างนี้ประมาณ 2 - 3 รอบต่อวัน (ยกเว้นวันที่
ท้อ
หรือเหนื่อยมาก ๆ ก็จะได้แค่รอบเดียว)
เราเคยปฏิบัติ
อานาปานสติ
อย่างเดียว แต่ฟุ้งซ่านมาก เลยทำตามคนแนะนำว่าให้
ปฏิบัติแนวสติปัฏฐาน 4
เราลองศึกษาแล้วทำตาม ช่วง
ภาวนาปกติก็
ดูลมหายใจพร้อมคำบริกรรม
พอมี
ความ
คิดฟุ้งซ่านก็กำหนดรู้
รู้ว่าจิตไม่เป็นสมาธิ
จิตมีนิวรณ์
แล้วก็กลับมาที่ลมหายใจใหม่ แต่เราเพิ่งเริ่มปฏิบัติอย่างนี้ไม่นาน ยัง
ฟุ้งเยอะ
และ
นาน
อยู่
กว่าจะรู้ตัว
แล้วกำหนดรู้ก็
ผ่านไปหลายนาที
ยังรู้สึกอยากสงบ รู้สึกว่ายังทำได้ไม่ดีค่ะ
ความคิดเห็นที่ 24-2
"ภาวนาปกติก็ดูลมหายใจพร้อมคำบริกรรม"
บริกรรมพุท-โธ ลมหายใจเข้าว่า พุท ลมหายใจออก ว่า โธ ใช่ไหมครับ
ความคิดเห็นที่ 24-4
"บริกรรมพุท-โธ ลมหายใจเข้าว่า พุท ลมหายใจออก ว่า โธ ใช่ไหมครับ"
ใช่ค่ะ
กรณีนี้ ผู้ใช้คำบริกรรมพุท-โธ ควบพร้อมๆกับลมเข้า-ออก ต้องปรับวิธีปฏิบัติ จึงจะเข้าเรื่องกัน ลมหายใจเข้าว่า พุท ลมออกว่า โธ พอได้ แต่จิตคิดฟุ้งซ่าน (
คิดฟุ้งซ่านก็กำหนดรู้
รู้ว่าจิตไม่เป็นสมาธิ
จิตมีนิวรณ์
) <
ตรงนี้ต้องปรับ กำหนดตรงๆกับสภาวะที่เรารู้สึกเลย เช่น
ฟุ้งซ่าน
กำหนดคือว่าในใจ
ฟุ้งซ่าน
(หนอ) ๆๆๆ สัก ๓-๔ ครั้ง ปล่อย ไปกำหนดลมหายใจเข้า-ออกไปใหม่, รู้สึก
ง่วง
ปุ๊บ กำหนดทันทีปั้ป
ง่วง
(หนอ) ๆๆๆ ๓-๔ ครั้ง ปล่อย ไปกำหนดลมเข้า-ออกไปใหม่ รู้สึกง่วงอีก กำหนดอีก
ง่วง
หนอๆๆๆ ปล่อย ไปกำหนดอารมณ์หลักไปใหม่ รู้สึกฟุ้งซ่านอีก กำหนดอีก
ฟุ้งซ่าน
หนอๆๆๆ ปล่อย ไปกำหนดกรรมฐานเดิมว่าไปใหม่
- สรุปวิธีปฏิบัติก็คือ รู้สึกยังไง เป็นยังไง กำหนดยังงั้น ตามที่มันเป็น จนกว่าจะหมดเวลา สมมติ ๒๐ นาที ก็ลุกเดินจงกรม ๒๐ นาที ครบเวลาที่กำหนด นั่งกำหนดอารมณ์ไปใหม่ เวียนรอบอยู่อย่างนี้ สักเดือน ๒ เดือน ก็เพิ่มเวลาอีก ๒๕/๓๐ นาที เป็นนั่ง ๒๕ นาที จงกรม ๒๕ นาที ฯลฯ
- หลัก จงกรม
https://www.bloggang.com/mainblog.php?id=samathijit&month=22-04-2021&group=1&gblog=32
- อย่าจมแช่อยู่กับความคิดครับ กำหนดรู้ รู้แล้วปล่อย ต้องใช้เวลาครับ เรื่องง่วงนี่ต้องรู้ทันมัน การจะรู้ทันมันก็จากการกำหนดมันนี่ล่ะ ไม่มีทางอื่น (ไม่ใช่แก้ปัญหาด้วยการลุกไปเข้าห้องน้ำ ไปนอนให้หายง่วงแล้วมาภาวนาใหม่ทำใหม่ ไม่เอาแบบนั้น
) ใหม่ๆ อาจจะหลับ มันจะหลับก็ให้มันนั่งหลับอยู่ตรงนั้นแหละ รู้สึกตัวกำหนดกรรมฐานต่อ จนกว่าจะครบเวลาที่กำหนดหมายไว้ ๒๐ นาที ครบแล้วลุกเดินจงกรมไปใหม่ เดินครบ ๒๐ นาที นั่งอีก วนลูปไปทั้งวัน นั่งเดินจงกรมๆๆ
ก็เณรง่วงอ่ะ นั่งสมาธิหลับเลย - YouTube
Create Date : 22 ตุลาคม 2567
Last Update : 17 มีนาคม 2568 15:29:59 น.
0 comments
Counter : 137 Pageviews.
Share
Tweet
ชื่อ :
* blog นี้ comment ได้เฉพาะสมาชิก
Comment :
*ส่วน comment ไม่สามารถใช้ javascript และ style sheet
สมาชิกหมายเลข 6393385
Location :
[ดู Profile ทั้งหมด]
ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
ผู้ติดตามบล็อก : 9 คน [
?
]
Webmaster - BlogGang
[Add สมาชิกหมายเลข 6393385's blog to your web]
Bloggang.com