 |
|
|
| 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 |
7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 |
14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 |
21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 |
28 | 29 | 30 | |
|
 |
|
เขาถาม - ตอบ ผัสสะอายตนะกัน |
|
- เรื่องนี้ไม่ง่าย แต่คนมักชอบอะไรที่มันง่ายๆ 
> คำถาม : ทำอย่างไรจึงจะตัดผัสสะได้ทันเมื่อมีสิ่งมากระทบอายตนะทั้งหก
"... ปฏิบัติไปนี่แหละ มันเร็วขึ้นเองนะ อินทรีย์มันแก่กล้าขึ้นมามันตัดของมันเลย มันจึงละได้หมดแหละ พวกความนึกคิด แม้แต่จิตขยับเคลื่อนไหวอะไรก็ช่าง อาการทั้งหมดเนี่ยมันละหมดเลย มันทันหมดแหละ แต่ต้องปฏิบัติต่อไปจนถึงเวลาของมัน ถ้ายังไม่ถึงเวลา มันก็จะไม่ทันสังขารมันแวบวับเข้ามา อันนี้ก็ต้องปฏิบัติตามพระพุทธเจ้าไปนะ แล้วมันก็จะรู้ขึ้นมาเรื่อยๆ ..."
Facebook
- เรื่องผัสสะ อายตนะ ดูจบแล้วอาจเห็นทางปฏิบัติ
https://www.bloggang.com/mainblog.php?id=samathijit&month=28-09-2023&group=88&gblog=17
- ปฏิบัติ (ปฏิปทา) ยังไง ๑. ตา (จักขุ) ๒. หู (โสตะ) ๓. จมูก (ฆานะ) ๔. ลิ้น (ชิวหา) ๕. กาย (กายะ) ๖. ใจ (มโน)
ว่า กันชัดๆ
๑. ขณะ เห็น เห็นหนอ (ว่าในใจ)
๒. ขณะ ได้ยินเสียง เสียงหนอ
๓. ขณะ ได้กลิ่น กลิ่นหนอ
๔. ขณะ ลิ้มรส รสเปรี้ยวหวานมันเค็ม ยังไง ก็ตามนั้น ตามที่รู้สึก
๕. ขณะ สัมผัส สัมผัสแล้วรู้สึกเย็น ร้อน ยังไงก็ยังงั้น ก็กำหนดยังงั้น
๖.ขณะ ธัมมารมณ์ เรื่องในใจ คิดหนอ ฟุ้งซ่านหนอ ฯลฯ (ขณะนั้น รู้สึกยังไง ก็ว่ายังงั้น)
ข้อ ๑-๕ เป็นการป้องกันอาสวะใหม่ที่ไหลเข้ามาขณะเห็น ขณะได้ยิน เป็นต้น ทางทวารนั้น ๆ ข้อ ๖. เป็นการกำจัดอาสวะเก่าที่ตกค้างอยู่ภายในก่อนหน้าจะมาเริ่มปฏิบัติธรรม
กั้นประตู (ทวาร) ทุกบาน แต่ไม่ง่ายนะ นี่แค่วิธีปฏิบัติเบื้องต้น ก็เณรง่วงอ่ะ นั่งสมาธิหลับเลย
- ดูประกอบความเข้าใจอีก 
https://www.bloggang.com/mainblog.php?id=samathijit&month=29-10-2023&group=82&gblog=88
- นี่แบบพุทธธรรมนะ ถ้าพูดแบบศาสนาพระเจ้าก็ว่าอีกอย่าง 
Create Date : 15 เมษายน 2567 |
Last Update : 16 มีนาคม 2568 19:07:46 น. |
|
0 comments
|
Counter : 303 Pageviews. |
 |
|
|
|
|
 |
|
|
|