ผมเป็น ศัลยแพทย์ออร์โธปิดิกส์ หรือ อาจเรียกว่า หมอกระดูกและข้อ หมอกระดูก หมอข้อ หมอออร์โธ หมอผ่าตัดกระดูก ฯลฯ สะดวกจะเรียกแบบไหน ก็ได้ครับ
ศัลยแพทย์ออร์โธปิดิกส์ เป็นแพทย์เฉพาะทางสาขาหนึ่ง ซึ่งเมื่อเรียนจบแพทย์ทั่วไป 6 ปี ( เรียกว่า แพทย์ทั่วไป ) แล้ว ก็ต้องเรียนต่อเฉพาะทาง ออร์โธปิดิกส์ อีก 4 ปี เมื่อสอบผ่านแล้วจึงจะถือว่าเป็น แพทย์ออร์โธปิดิกส์ โดยสมบูรณ์ ( รวมเวลาเรียนก็ ๑๐ ปี นานเหมือนกันนะครับ )
หน้าที่ของหมอกระดูกและข้อ จะเกี่ยวข้องกับความเจ็บป่วย ของ กล้ามเนื้อ เส้นเอ็น กระดูก ข้อ และ เส้นประสาท โรคที่พบได้บ่อย ๆ เช่น กระดูกหัก ข้อเคล็ด กล้ามเนื้อฉีกขาด กระดูกสันหลังเสื่อม ข้อเข่าเสื่อม กระดูกพรุน เป็นต้น สำหรับกระดูกก็จะเกี่ยวข้องกับกระดูกต้นคอ กระดูกสันหลัง กระดูกเชิงกราน กระดูกข้อไหล่ จนถึงปลายนิ้วมือ กระดูกข้อสะโพกจนถึงปลายนิ้วเท้า ( ถ้าเป็นกระดูกศีรษะ กระดูกหน้า และ กระดูกทรวงอก จะเป็นหน้าที่ของศัลยแพทย์ทั่วไป ) นอกจากรักษาด้วยการให้คำแนะนำ และ ยา แล้วยังรักษาด้วย วิธีผ่าตัด รวมไปถึง การทำกายภาพบำบัด บริหารกล้ามเนื้อ อีกด้วย นะครับ
ตอนนี้ผม ลาออกจากราชการ มาเปิด คลินิกส่วนตัว อยู่ที่ จังหวัดกำแพงเพชร .. ใช้เวลาว่าง มาเป็นหมอทางเนต ตอบปัญหาสุขภาพ และ เขียนบทความลงเวบ บ้าง ถ้ามีอะไรที่อยากจะแนะนำ หรือ อยากจะปรึกษา สอบถาม ก็ยินดี ครับ
นพ. พนมกร ดิษฐสุวรรณ์ ( หมอหมู )
ปล.
ถ้าอยากจะถามปัญหาสุขภาพ แนะนำตั้งกระทู้ถามที่ .. เวบไทยคลินิก ... ห้องสวนลุม พันทิบ ... เวบราชวิทยาลัยออร์โธปิดิกส์ หรือ ทางอีเมล์ ... phanomgon@yahoo.com
ไม่แนะนำ ให้ถามที่หน้าบล๊อก เพราะอาจไม่เห็น นะครับ ..
|
//pantip.com/topic/32042316
แผนที่รอยเลื่อนมีพลังในประเทศไทย 2555
แผนที่ภัยพิบัติแผ่นดินไหวประเทศไทย 2556
แผนที่แสดงจุดศูนย์กลางแผ่นดินไหวและรอยเลื่อนมีพลัง 2547
รายชื่อหมู่บ้านที่รอยเลื่อนมีพลังพาดผ่าน 2553
แผนที่หมู่บ้านรอยเลื่อนมีพลังพาดผ่าน 2553
สิ่งบอกเหตุก่อนเกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่
ความร้ายแรงของแผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวกับประเทศไทย
ความรู้ทั่วไปแผ่นดินไหว
การตรวจสอบ การแก้ไขอาคารที่ได้รับผลกระทบจากแผ่นดินไหว จังหวัดเชียงราย
Documentation for the Southeast Asia Seismic Hazard Maps - USGS
ศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
//www.ndwc.go.th/web/
สำนักเฝ้าระวังแผ่นดินไหว กรมอุตุนิยมวิทยา
//www.seismology.tmd.go.th/
//www.tmd.go.th/earthquake_report.php
รายงานการเกิดแผ่นดินไหวทั่วโลก
//earthquake.usgs.gov
//www.emsc-csem.org/
//geofon.gfz-potsdam.de/
//www.iris.edu/seismon/
กฎกระทรวง กําหนดการการรับน้ำหนัก ความต้านทาน ความคงทนของอาคารและพื้นดินที่รองรับอาคารในการต้านทานแรงสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว พ.ศ. ๒๕๕๐
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับแผ่นดินไหวและการออกแบบโครงสร้างเพื่อป้องกันแผ่นดินไหว
คู่มือปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงภัยแผ่นดินไหว ฉบับประชาชน
มยผ. 1302-52 มาตรฐานการออกแบบอาคารต้านทานการสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว
มยผ. 1301-54 มาตรฐานประกอบการออกแบบอาคารเพื่อต้านทานการ สั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว
มยผ. 1303-57 มาตรฐานการประเมินและการเสริมความมั่นคงแข็งแรงของโครงสร้างอาคาร ในเขตที่อาจได้รับแรงสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว
คู่มือการปฏิบัติประกอบมาตรฐานการประเมิน และการเสริมความมั่นคงแข็งแรงของโครงสร้างอาคาร ในเขตที่อาจได้รับแรงสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว
FEMA-232 Homebuilders' Guide to Earthquake-Resistant Design and Construction 2006
FEMA-530 Earthquake Safety Guide for Homeowners 2005
FEMA P-749 Earthquake-Resistant Design Concepts: An Introduction to the NEHRP Recommended Seismic Provisions for New Buildings and Other Structures
FEMA P-750 NEHRP Recommended Seismic Provisions for New Buildings and Other Structures.
FEMA E-74 Reducing the Risks of Nonstructural Earthquake Damage - A Practical Guide
FEMA-154 Rapid Visual Screening of Buildings for Potential Seismic Hazards - A Handbook
FEMA-547 Techniques for the Seismic Rehabilitation of Existing Buildings
Built to Resist Earthquakes. The Path to Quality Seismic Design & Construction for Architects, Engineers, Inspectors.
The Commercial Property Owner's Guide to Earthquake Safety 2006
Homeowner's Guide to Earthquake Safety 2005
How to Protect Your Property
Illustrated Guide for Seismic Design of Houses
เอกสารบรรยาย การออกแบบอาคารต้านทานแผ่นดินไหว
รศ .ดร. อมร พิมานมาศ
ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด
ปรีดา ไชยมหาวัน
สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
1-1 พฤติกรรมของโครงข้อแข็งคอนกรีตภายใต้แรงแผ่นดินไหวและแนวทางการ ออกแบบอาคารต้านทานแผ่นดินไหว (Behavior of Reinforced Concrete Under Earthquake)
1-2 หลักการออกแบบอาคารต้านทานแผ่นดินไหว การกำหนดรายละเอียดการเสริมเหล็กให้มีความเหนียวเทียบเท่าความเหนียวจำกัด
1-3 การรับน้ํ้ำหนัก ความต้านทาน ความคงทนของอาคาร และพื้นดินที่รองรับอาคารต้านแผ่นดินไหว กฏกระทรวง พ.ศ. 2550
1-4 มาตรฐานประกอบการออกแบบอาคาร เพื่อต้านทานการสั่นสะเทือนจากแผ่นดินไหว มยผ. 1301-50
1-5 รูปแบบโครงสร้าง (Structural Systems)
1-6 การออกแบบจุดต่อคาน-เสา
2-1 การออกแบบกำแพงเฉือนต้านทานแผ่นดินไหว (Design of shear wall)
2-2 การออกแบบกำแพงคอนกรีต เสริมเหล็กให้มีความเหนียว
3-1 ตัวอย่างการออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กต้านแผ่นดินไหว (โครงต้านทานแรงดัดร่วมกับกำแพงรับแรงเฉือน)
3-2 การออกแบบอาคารต้านแผ่นดินไหว Dual System
4 การออกแบบฐานรากเสาเข็มรับ แรงแผ่นดินไหว
10 สิงหาคม 2557 เวลา 17:28 น.
Zionism