Group Blog
 
<<
กันยายน 2557
 123456
78910111213
14151617181920
21222324252627
282930 
 
28 กันยายน 2557
 
All Blogs
 

Xสหภาพยุโรปควบคุมและห้ามการใช้งานใยหิน ซิลิเกตที่เกิดตามธรรมชาติ


ก้อนแร่และเส้นใย

แร่ใยหิน ( asbestos) เป็นกลุ่มของแร่ซิลิเกตที่เกิดตามธรรมชาติหกชนิดที่นิยมนำมาใช้ทางการค้าเพราะคุณสมบัติเฉพาะตัวที่ดี  แร่ใยหินมีผลึกที่เป็นเส้นใยยาว (อัตราส่วนขนาดต่อความยาวราว 1:20) การหายใจเอาใยหินเข้าไปเป็นเวลานานอาจก่อให้เกิดโรคปอดได้ ซึ่งมักพบบ่อยในคนงานเหมืองใยหิน

  • การทำเหมืองแร่ใยหินเริ่มขึ้นกว่า 4,000 ปีมาแล้ว แต่มีขนาดจำกัดจนกระทั่งปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 การทำเหมืองแร่ใยหินมีปริมาณสูงสุดในราว ค.ศ. 1975 โดยมีการทำเหมืองในราว 25 ประเทศ เหมืองแร่ใยหินที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลกคือ Jeffrey mine ในเมือง Asbestos รัฐควิเบก ประเทศแคนาดา

แร่ใยหินเป็นที่นิยมของผู้ผลิตสินค้าและผู้สร้างอาคารในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 เนื่องจากสมบัติการดูดซับเสียง ความแข็งแรง ความทนไฟ ทนความร้อน ความต้านทานไฟฟ้า ความทนทานต่อสารเคมี และราคาที่ย่อมเยา แร่ใยหินใช้เป็นฉนวนไฟฟ้าในเตาไฟฟ้าและฉนวนความร้อนในอาคาร กรณีที่ใช้ใยหินทำวัสุดทนไฟหรือทนความร้อนมักผสมกับซีเมนต์หรือทอถักทอเป็นแผ่น


Asbesto.

สหภาพยุโรปได้ห้ามการใช้งานใยหิน  รวมถึงการขุดทำเหมือง การผลิต และการแปรรูปผลิตภัณฑ์ใยหิน ในขณะที่ประเทศที่พัฒนาแล้วอื่นๆ ตระหนักถึงอันตรายของใยหินและมีการออกกฎหมายควบคุมรวมถึงห้ามใช้ใยหินเป็นกรณีไป

  • แหล่งแร่

ใน ค.ศ. 2009 มีการขุดแร่ใยหินราว 2 ล้านตันทั่วโลก โดยรัสเซียเป็นผู้ผลิตรายใหญ่ที่สุด (50%) รองลงมาเป็นจีน (14%) บราซิล (12.5%) คาซัคสถาน (10.5%) และแคนาดา (9%)


Industrial scale asbestos mining began in 1878 in Thetford township, Quebec. By 1895, mining was increasingly mechanized.

  • ประเภทของแร่ใยหิน

แร่ใยหินแบ่งเป็น 2 กลุ่ม  คือ แอมฟิโบล (Amphiboles) และเซอร์เพนไทน์ ซึ่งแบ่งย่อยออกเป็น 6 ชนิด ดังนี้

Smileyกลุ่มแอมฟิโบล (Amphiboles) แบ่งย่อยออกได้เป็น 5 ชนิด ได้แก่ ครอซิโดไลท์ (Crocidolite) อะโมไซท์ (Amosite) ทรีโมไลท์ (Tremolite)แอนโธฟิลไลท์ (Anthophyllite) และแอคทิโนไลท์ (Actinolite)


Smiley  กลุ่มเซอร์เพนไทน์ (Serpentine) ได้แก่ ไครโซไทล์ (Chrysotile)

อันตราย แร่ใยหิน แอสเบสตอส
แร่ใยหิน (Asbestos) เป็นกลุ่มแร่อนินทรีย์ที่เกิดตามธรรมชาติ มีลักษณะเป็นเส้นใย มีคุณสมบัติแข็งแรง ยืดหยุ่นสูง ทนความร้อนได้ดีใช้ในงานอุตสาหกรรมและวัสดุรอบตัวผู้บริโภค

ได้แก่ วัสดุก่อสร้าง ท่อซีเมนต์ กระเบื้องมุงหลังคา ประมาณ 90% ผ้าเบรกและคลัทช์ ประมาณ 8% กระเบื้องปูพื้น วัสดุกันความร้อน 2%
อันตรายจากสารใยหิน (ASBESTOS)



Nellie Kershaw, factory worker, whose death from pulmonary asbestosis was the first such case to be described in medical literature.

 1. โรคเมโสเธลิโอมา (MESOTHELIOMA) คือ ชนิดหนึ่งของมะเร็งซึ่งเกิดจากการได้รับสารใยหินเข้าสู่ร่างกายมนุษย์ ซึ่งมีอยู่ 2 รูปแบบ คือ


  1.1 เยื่อหุ้มปอด (PLEURAL) ซึ่งจะทำลายเซลล์ด้านนอกปอดและเยื่อหุ้มปอด
  1.2 เยื่อบุช่องท้อง (PERITONEAL) ซึ่งจะทำลายเยื่อบุของท้อง

2. โรคมะเร็งปอด (LUNG CANCER) คือเนื่องจากใยหินที่เข้าสู่โพรงอากาศชั้นในปอดได้ จะทำให้เกิดการระคายเคืองแล้วปอดจะสร้างเมือก หุ้มซึ่งเป็นสาเหตุของ โรคมะเร็งปอด

 3. โรคแอสเบสตอสซิส (ASBESTOSIS) ไม่ใช่มะเร็งแต่เป็นโรคที่รุนแรงมากคือเนื้อเยื่อปอดถูกใยหินบาดเป็นแผลจะมีอาการทุรนทุรายหายใจได้สั้นๆ และเหนื่อยง่าย ซึ่งจะเป็นผลสืบเนื่องทำให้หัวใจล้มเหลว พิการ และอาจเสียชีวิตได้


Figure A shows the location of the lungs, airways, pleura, and diaphragm in the body. Figure B shows lungs with asbestos-related diseases, including pleural plaque, lung cancer, asbestosis, plaque on the diaphragm, and mesothelioma.

 การหายใจเอาอากาศที่มีฝุ่นละอองของแร่ใยหินปนเปื้อนเข้าสู่ร่างกายเป็นเวลานานๆ จะทําให้เกิดโรคปอดอักเสบ (Asbestosis: โรคแอสเบสโตซิส) โรคเยื่อหุ้มปอดอักเสบ มะเร็งเยื่อหุ้มปอดและเยื่อบุช่องท้อง (Mesothelioma) และมะเร็งปอด


 การทำงานที่เกี่ยวข้องกับใยหิน โดยไประเภทของแร่ใยหิน

แร่ใยหินแบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ แอมฟิโบล (Amphiboles) และเซอร์เพนไทน์ ซึ่งแบ่งย่อยออกเป็น 6 ชนิด ดังนี้

Smiley  กลุ่มแอมฟิโบล (Amphiboles) แบ่งย่อยออกได้เป็น 5 ชนิด ได้แก่ ครอซิโดไลท์ (Crocidolite) อะโมไซท์ (Amosite) ทรีโมไลท์ (Tremolite)แอนโธฟิลไลท์ (Anthophyllite) และแอคทิโนไลท์ (Actinolite)

Smiley กลุ่มเซอร์เพนไทน์ (Serpentine) ได้แก่ ไครโซไทล์ (Chrysotile)

ความแตกต่างของกลุ่มแอมฟิโบล (Amphiboles)และกลุ่มเซอร์เพนไทน์ (Serpentine)

ไครโซไทล์ (Chrysotile)ในกลุ่มเซอร์เพนไทน์ (Serpentine)และแอมฟิโบล (Amphiboles)มีส่วนประกอบทางเคมีที่แตกต่างกัน ส่งผลให้คุณสมบัติการสะสมและการสลายตัวในสิ่งมีชีวิตและผลกระทบต่อสุขภาพ แตกต่างกัน แร่ไครโซไทล์ (Chrysotile)นั้นมีอัตราการสะสมในสิ่งมีชีวิตต่ำและโอกาสในการก่อให้เกิดโรคน้อยกว่าแร่ใยหินแอมฟิโบล แร่ใยหิน 2 กลุ่มมีคุณสมบัติแตกต่างกันจากโครงสร้างของเส้นใย ดังนี้

Smiley ใยหินกลุ่มแอมฟิโบล เส้นใยจะเป็นเส้นใยเดี่ยวรูปทรงกระบอก

Smiley หินกลุ่มเซอร์เพนไทน์ เส้นใยจะมีลักษณะเป็นเกลียวพันกันคล้ายเชือก ประกอบด้วยเส้นใยย่อยจำนวนมาก


ความแตกต่างของผลกระทบทางสุขภาพจากเส้นใยชนิดต่างๆ

ฝุ่นใยหินชนิดอะโมไซท์และโครซิโดไลท์เมื่อเข้าไปในปอดเมื่อเปรียบเทียบกับเส้นใยไครโซไทล์ โอกาสเกิดโรคมะเร็งเยื่อหุ้มปอดจะมีมากกว่า 100 และ 500 เท่าตามลำดับ และโอกาสเกิดมะเร็งปอดมากกว่า 10 และ 50 เท่า ตามลำดับ การที่อันตรายมาก-น้อยต่างกันสาเหตุเนื่องมาจากโครงสร้างและความ สามารถในการละลายตัว (bio-durability) ของเส้นใยหินแต่ละชนิด


A household heat spreader for cooking on gas stoves, made of asbestos (probably 1950s; "Amiante pur" is French for "Pure Asbestos")

เส้นใยไครโซไทล์มีพิสัยความสามารถถูกละลายหรือสลายตัว (Solubility) สูงมากและคุณสมบัติความทนทานของเส้นใย (bio-persistent fiber) พิสัยจะอยู่ที่ค่าต่ำสุดจนถึงค่าความทนทานของเส้นใยแก้วและหินเส้นใยไครโซไทล์จะมีค่าความทนทาน bio-persistence ต่ำกว่าเส้นใยเซรามิกส์หรือเส้นใยแก้วชนิดพิเศษ (ข้อมูลจาก Hesterberg และคณะ – 1998) และต่ำกว่าของใยหินกลุ่มแอมฟิโบลค่อนข้างมาก เพื่อตรวจสอบทฤษฎีดังกล่าว EC ได้จัดตั้งคณะทำงานทำการศึกษาการได้รับฝุ่นใยหินในระบบหายใจเป็นระยะเวลา 5 วัน หลังจากนั้นการตรวจสอบสภาพของปอดเป็นระยะๆ เป็นเวลา 1 ปี (รายงานของ Bernstein & Riego – Sintes 1999) พบว่าสำหรับเส้นใยที่ความยาวมากกว่า 20 ไมครอน จะใช้ระยะเวลาการย่อยสลาย 50% 2-3 วันจน 100 วันโดยประมาณ

สนใจศึกษาต่อคลิกอ่าที่นี่ครับ....


คลิกอ่านข่าว นสพ คมชัดลึก อันตราย แร่ใยหิน แอสเบสตอส



หมวดบล็อก วิทยาศาสตร์ ขอบคุณนะขอรับ




 

Create Date : 28 กันยายน 2557
23 comments
Last Update : 29 กันยายน 2557 0:48:31 น.
Counter : 2434 Pageviews.

 

เจืม เจิม เจิม
บันทึกการโหวตเรียบร้อยแล้วค่ะ
แวะมาโหวตให้ท่านขุนจ้า


บันทึกการโหวต Blog ในวันนี้

ผู้เขียน Blog หมวดเนื้อหา Blog ได้รับโหวต
ขุนเพชรขุนราม Science Blog ดู Blog


 

โดย: หอมกร 29 กันยายน 2557 5:43:55 น.  

 

บันทึกการโหวตเรียบร้อยแล้วค่ะ



บันทึกการโหวต Blog ในวันนี้

ผู้เขียน Blog หมวดเนื้อหา Blog ได้รับโหวต
Close To Heaven Food Blog ดู Blog
เริงฤดีนะ Movie Blog ดู Blog
ดอยสะเก็ด Literature Blog ดู Blog
เตยจ๋า Pet Blog ดู Blog
ขุนเพชรขุนราม Science Blog ดู Blog

ระบบจะบันทึกคะแนนโหวต เฉพาะการโหวต 5 ครั้งล่าสุดในแต่ละวันเท่านั้น

 

โดย: Opey 29 กันยายน 2557 7:01:42 น.  

 

น่ากลัวนะคะ เพราะมีใช้ในชีวิตประจำวัน
เช่นเบรคที มันจะฟุ้งไปแค่ไหนก็ไม่รู้
แล้วทุกคันช่วยกันเบรค
เวลาติดสัญญาณไฟจราจร น่ากลัวที่สุดค่ะ


ปล. ดอกหงอนนาคก็เพิ่งรู้จักจากการค้นในเน็ตเมื่อวานนี้เองค่ะ

 

โดย: tuk-tuk@korat 29 กันยายน 2557 12:56:51 น.  

 

สวัสดีค่ะท่านขุน โหวตให้เรื่องราวน่ารู้เช่นเคยค่ะ




บันทึกการโหวต Blog ในวันนี้

ผู้เขียน Blog หมวดเนื้อหา Blog ได้รับโหวต
ขุนเพชรขุนราม Science Blog ดู Blog

ระบบจะบันทึกคะแนนโหวต เฉพาะการโหวต 5 ครั้งล่าสุดในแต่ละวันเท่านั้น



 

โดย: mambymam 29 กันยายน 2557 19:34:44 น.  

 

ขอบคุณสำหรับข้อมูลครับ
เมืองไทยยังใช้ใยหินอยู่หรือเปล่าครับ
โหวต ขุนเพชรขุนราม Science Blog ดู Blog

 

โดย: เศษเสี้ยว 29 กันยายน 2557 22:45:30 น.  

 

อันตรายและน่ากลัวมากเลยค่ะ

บันทึกการโหวต Blog ในวันนี้

ผู้เขียน Blog หมวดเนื้อหา Blog ได้รับโหวต
ที่เห็นและเป็นมา Art Blog ดู Blog
blueberryblossom Photo Blog ดู Blog
ขุนเพชรขุนราม Science Blog ดู Blog

 

โดย: ALDI 30 กันยายน 2557 3:13:23 น.  

 

บันทึกการโหวต Blog ในวันนี้

ผู้เขียน Blog หมวดเนื้อหา Blog ได้รับโหวต
newyorknurse Klaibann Blog ดู Blog
ขุนเพชรขุนราม Science Blog ดู Blog

ระบบจะบันทึกคะแนนโหวต เฉพาะการโหวต 5 ครั้งล่าสุดในแต่ละวันเท่านั้น

 

โดย: ยายเก๋า (ชมพร ) 30 กันยายน 2557 11:01:43 น.  

 

บันทึกการโหวตเรียบร้อยแล้วค่ะ



บันทึกการโหวต Blog ในวันนี้

ผู้เขียน Blog หมวดเนื้อหา Blog ได้รับโหวต
ขุนเพชรขุนราม Science Blog ดู Blog
ระบบจะบันทึกคะแนนโหวต เฉพาะการโหวต 5 ครั้งล่าสุดในแต่ละวันเท่านั้น

สวัสดียามค่ำคืนค่ะท่านขุน

 

โดย: Close To Heaven 30 กันยายน 2557 23:16:51 น.  

 

บันทึกการโหวต Blog ในวันนี้

ผู้เขียน Blog หมวดเนื้อหา Blog ได้รับโหวต
ขุนเพชรขุนราม Science Blog ดู Blog

ระบบจะบันทึกคะแนนโหวต เฉพาะการโหวต 5 ครั้งล่าสุดในแต่ละวันเท่านั้น


สวัสดีวันหลังฝนตกค่ะ (อิอิ ร้อนเหมือนเดิมเลย เฮ้อ)

 

โดย: ญามี่ 1 ตุลาคม 2557 12:17:29 น.  

 

เพิ่งอ่านเจอข่าวนี้เหมือนกันค่ะ

ผู้เขียน Blog หมวดเนื้อหา Blog ได้รับโหวต
กาบริเอล Travel Blog ดู Blog
mambymam Music Blog ดู Blog
เศษเสี้ยว Photo Blog ดู Blog
Close To Heaven Parenting Blog ดู Blog
ขุนเพชรขุนราม Science Blog ดู Blog

 

โดย: มัลลิกา ป 402 1 ตุลาคม 2557 23:53:11 น.  

 

สวัสดีค่ะท่านขุน
มาอ่านเรื่องแรใยหิน

บันทึกการโหวต Blog ในวันนี้

ผู้เขียน Blog หมวดเนื้อหา Blog ได้รับโหวต
Insignia_Museum Diarist ดู Blog
mambymam Music Blog ดู Blog
kae+aoe Parenting Blog ดู Blog
ขุนเพชรขุนราม Science Blog ดู Blog
ระบบจะบันทึกคะแนนโหวต เฉพาะการโหวต 5 ครั้งล่าสุดในแต่ละวันเท่านั้น

 

โดย: pantawan 2 ตุลาคม 2557 22:46:38 น.  

 

สวัสดียามเย็นค่ะท่านขุน
บันทึกการโหวต Blog ในวันนี้

ผู้เขียน Blog หมวดเนื้อหา Blog ได้รับโหวต
ร่มไม้เย็น Book Blog ดู Blog
ญามี่ About Weblog ดู Blog
สายหมอกและก้อนเมฆ Photo Blog ดู Blog
ขุนเพชรขุนราม Science Blog ดู Blog
ระบบจะบันทึกคะแนนโหวต เฉพาะการโหวต 5 ครั้งล่าสุดในแต่ละวันเท่านั้น

 

โดย: เฉลิมลาภ ทราบแล้วเปลี่ยน 4 ตุลาคม 2557 16:21:18 น.  

 

แวะกดไลค์ท่านขุนจ้า

 

โดย: แม่อ้วนคนสวย 5 ตุลาคม 2557 13:13:36 น.  

 

ขุนเพชรขุนราม Science Blog ดู Blog


ได้ความรู้ดีค่ะ
ส่งกำลังใจให้ท่านขุนฯค่ะ

 

โดย: ดอยสะเก็ด 7 ตุลาคม 2557 20:28:56 น.  

 

สวัสดีวันร้อนๆทางการเมือง แต่เย็นลงทางอากาศค่ะคุณขุนราม555

 

โดย: ญามี่ 8 ตุลาคม 2557 9:48:23 น.  

 

ขุนเพชรขุนราม Science Blog ดู Blog


ส่งกำลังใจให้ค่ะ

 

โดย: เวียงแว่นฟ้า 8 ตุลาคม 2557 12:05:50 น.  

 

ขอบคุณสำหรับโหวตนะท่านขุน

 

โดย: หอมกร 13 ตุลาคม 2557 10:42:20 น.  

 

อ้าวยังไม่ได้อัพเลยโหวตไม่ได้ค่ะ แล้วมาบอกใหม่นะคะ เมื่ออัพแล้วนะ

 

โดย: ญามี่ 16 ตุลาคม 2557 10:23:03 น.  

 

แวะมาทักทายท่านขุนครับ

 

โดย: เศษเสี้ยว 17 ตุลาคม 2557 23:25:55 น.  

 

สวัสดีค่ะ ท่านขุนฯ ไม่เจอกันนานน

เดี๋ยวนี้กระเบื้องหลายๆยี่ห้อ โฆษณาตัวใหญ่ว่าไม่ใช่แร่ใยหินกันแล้ว

อิชั้นก็ไม่รู้จริงเท็จ ฮ่าๆๆๆ

ขอบคุณสำหรับความรู้นะคะ

 

โดย: คนสวยที่ไม่เคยสวย 18 ตุลาคม 2557 1:39:06 น.  

 


โหวตให้กับข้อมูลและความรู้ดีๆ เดี๋ยวนี้อันตรายรอบ

ตัวเลยนะคะ

ขุนเพชรขุนราม Science Blog ดู Blog

ระบบจะบันทึกคะแนนโหวต เฉพาะการโหวต 5 ครั้งล่าสุดในแต่ละวันเท่านั้น

 

โดย: พรไม้หอม 18 ตุลาคม 2557 12:28:28 น.  

 

แวะมาเยี่ยมและส่งกำลังใจไปให้ท่านขุนครับ

บันทึกการโหวต Blog ในวันนี้

ผู้เขียน Blog หมวดเนื้อหา Blog ได้รับโหวต
ขุนเพชรขุนราม Science Blog ดู Blog

 

โดย: **mp5** 18 ตุลาคม 2557 22:25:48 น.  

 

แวะมาขอบคุณครับ

 

โดย: เศษเสี้ยว 19 ตุลาคม 2557 23:23:46 น.  

ชื่อ : * blog นี้ comment ได้เฉพาะสมาชิก
Comment :
  *ส่วน comment ไม่สามารถใช้ javascript และ style sheet
 


Rain_sk
Location :
Upper Midwest United States

[ดู Profile ทั้งหมด]

ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
Smember
ผู้ติดตามบล็อก : 68 คน [?]





"ตลอดเวลาที่บาปยังไม่ส่งผล
คนพาลสำคัญบาปเหมือนน้ำผึ้ง
เมื่อใดบาปให้ผล คนพาลย่อมเข้าถึงทุกข์เมื่อนั้น"
ขุ.ธ. 25/15/24
เวลา 4.57PM :sat,Mar 29,2557



BlogGang Popular Award # 9


BlogGang Popular Award # 10


BlogGang Popular Award # 11


BlogGang Popular Award # 12


Friends' blogs
[Add Rain_sk's blog to your web]
Links
 

 Pantip.com | PantipMarket.com | Pantown.com | © 2004 BlogGang.com allrights reserved.