ฟัง 25 เพลงไพเราะจากวรรณกรรมเรื่อง ผู้ชนะสิบทิศ บทประพันธ์ของ โชติ แพร่พันธุ์ หรือยาขอบ
ขอขอบคุณท่านเจ้าของภาพทุกภาพ เพลงทุกเพลงขอบคุณข้อมูลดีๆจากอินเตอร์เนตหลายๆเวปไซด์หากมีส่วนใดที่ผิดพลาด จขบ.ต้องขออภัยไว้ ณ ที่นี้ด้วยนะคะ รวมเพลงจากวรรณกรรมเรื่อง ผู้ชนะสิบทิศสามารถฟังไปเรื่อยๆต่อเนื่องทั้ง สิบสามเพลง ตามเพลย์ลิสหรือคลิก NEXTเดินหน้าเพื่อเลือกฟังเพลงที่ชื่นชอบในลำดับถัดไปได้ค่ะรายชื่อเพลงในเพลย์ลิส1. ผู้ชนะสิบทิศ คำร้อง-ทำนอง ไสล ไกรเลิศ ชรินทร์ นันทนาคร ขับร้อง2. ยอดพธูเมืองแปร เพลงนี้ได้นำโคลงสี่สุภาพจากนิราศนรินทร์บทที่ว่า "โฉมควรจักฟากฟ้า ฤาดิน ดีฤา..." มาอ่านเกริ่นนำคำร้อง-ทำนอง ไสล ไกรเลิศ สุเทพ วงศ์กำแหง ขับร้อง3. กุสุมาวอนสวาท คำร้อง-ทำนอง ไสล ไกรเลิศ สุเทพ วงศ์กำแหง ขับร้องคู่กับ วงจันทร์ ไพโรจน์4. อเทตยาเพ้อรัก คำร้อง-ทำนอง ไสล ไกรเลิศ ชรินทร์ นันทนาคร ขับร้องคู่กับ สวลี ผกาพันธุ์5. กุสุมาอธิษฐาน คำร้อง-ทำนอง ไสล ไกรเลิศ เพ็ญศรี พุ่มชูศรี ขับร้อง6. กรรฑิมาอาภัพ (กันทิมา) "คำร้อง-ทำนอง ไสล ไกรเลิศ วงจันทร์ ไพโรจน์ ขับร้อง7. ทรากรักของจันทราคำร้อง-ทำนอง ศักดิ์ เกิดศิริ แต่งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2502 แน่งน้อย สงวนรักษ์ ขับร้อง8. นันทวดีพลาดรัก " คำร้อง-ทำนอง ศักดิ์ เกิดศิริ แต่งเมื่อปี พ.ศ. 2501 วงจันทร์ ไพโรจน์ ขับร้อง9. ปอละเตียงครวญ คำร้อง-ทำนอง ศักดิ์ เกิดศิริ แต่งเมื่อปี พ.ศ. 2501 วงจันทร์ ไพโรจน์ ขับร้อง10. บุเรงนองเฉลยรัก คำร้อง-ทำนอง ศักดิ์ เกิดศิริ เป็นเพลงขับร้องคู่ระหว่าง แน่งน้อย สงวนรักษ์ กับชุติมา สุวรรณรัตน์11. สามทหารเสือตองอู คำร้อง-ทำนอง ศักดิ์ เกิดศิริวิเชียร ภู่โชติ ปรีชา บุญยเกียรติ และชุติมา สุวรรณรัตน์ ร่วมกันขับร้อง12. เนงบาผู้ปราชัย คำร้อง-ทำนอง ศักดิ์ เกิดศิริ แต่งเมื่อปี พ.ศ. 2498 วิเชียร ภู่โชติ ขับร้อง เพลงนี้ได้รับความนิยมมากในปี พ.ศ. 249913. ไขลูออกแขก สุรพล สมบัติเจริญ ขับร้อง ไม่พบข้อมูลผู้แต่ง
รวมเพลงจากวรรณกรรมเรื่อง ผู้ชนะสิบทิศสามารถฟังไปเรื่อยๆต่อเนื่องทั้ง สิบสามเพลง ตามเพลย์ลิสหรือคลิก NEXTเดินหน้าเพื่อเลือกฟังเพลงที่ชื่นชอบในลำดับถัดไปได้ค่ะรายชื่อเพลงในเพลย์ลิส1. ผู้ชนะสิบทิศ คำร้อง-ทำนอง ไสล ไกรเลิศ ชรินทร์ นันทนาคร ขับร้อง2. ยอดพธูเมืองแปร เพลงนี้ได้นำโคลงสี่สุภาพจากนิราศนรินทร์บทที่ว่า "โฉมควรจักฟากฟ้า ฤาดิน ดีฤา..." มาอ่านเกริ่นนำคำร้อง-ทำนอง ไสล ไกรเลิศ สุเทพ วงศ์กำแหง ขับร้อง3. กุสุมาวอนสวาท คำร้อง-ทำนอง ไสล ไกรเลิศ สุเทพ วงศ์กำแหง ขับร้องคู่กับ วงจันทร์ ไพโรจน์4. อเทตยาเพ้อรัก คำร้อง-ทำนอง ไสล ไกรเลิศ ชรินทร์ นันทนาคร ขับร้องคู่กับ สวลี ผกาพันธุ์5. กุสุมาอธิษฐาน คำร้อง-ทำนอง ไสล ไกรเลิศ เพ็ญศรี พุ่มชูศรี ขับร้อง6. กรรฑิมาอาภัพ (กันทิมา) "คำร้อง-ทำนอง ไสล ไกรเลิศ วงจันทร์ ไพโรจน์ ขับร้อง7. ทรากรักของจันทราคำร้อง-ทำนอง ศักดิ์ เกิดศิริ แต่งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2502 แน่งน้อย สงวนรักษ์ ขับร้อง8. นันทวดีพลาดรัก " คำร้อง-ทำนอง ศักดิ์ เกิดศิริ แต่งเมื่อปี พ.ศ. 2501 วงจันทร์ ไพโรจน์ ขับร้อง9. ปอละเตียงครวญ คำร้อง-ทำนอง ศักดิ์ เกิดศิริ แต่งเมื่อปี พ.ศ. 2501 วงจันทร์ ไพโรจน์ ขับร้อง10. บุเรงนองเฉลยรัก คำร้อง-ทำนอง ศักดิ์ เกิดศิริ เป็นเพลงขับร้องคู่ระหว่าง แน่งน้อย สงวนรักษ์ กับชุติมา สุวรรณรัตน์11. สามทหารเสือตองอู คำร้อง-ทำนอง ศักดิ์ เกิดศิริวิเชียร ภู่โชติ ปรีชา บุญยเกียรติ และชุติมา สุวรรณรัตน์ ร่วมกันขับร้อง12. เนงบาผู้ปราชัย คำร้อง-ทำนอง ศักดิ์ เกิดศิริ แต่งเมื่อปี พ.ศ. 2498 วิเชียร ภู่โชติ ขับร้อง เพลงนี้ได้รับความนิยมมากในปี พ.ศ. 249913. ไขลูออกแขก สุรพล สมบัติเจริญ ขับร้อง ไม่พบข้อมูลผู้แต่ง
รายชื่อเพลงในเพลย์ลิส1. ผู้ชนะสิบทิศ คำร้อง-ทำนอง ไสล ไกรเลิศ ชรินทร์ นันทนาคร ขับร้อง2. ยอดพธูเมืองแปร เพลงนี้ได้นำโคลงสี่สุภาพจากนิราศนรินทร์บทที่ว่า "โฉมควรจักฟากฟ้า ฤาดิน ดีฤา..." มาอ่านเกริ่นนำคำร้อง-ทำนอง ไสล ไกรเลิศ สุเทพ วงศ์กำแหง ขับร้อง3. กุสุมาวอนสวาท คำร้อง-ทำนอง ไสล ไกรเลิศ สุเทพ วงศ์กำแหง ขับร้องคู่กับ วงจันทร์ ไพโรจน์4. อเทตยาเพ้อรัก คำร้อง-ทำนอง ไสล ไกรเลิศ ชรินทร์ นันทนาคร ขับร้องคู่กับ สวลี ผกาพันธุ์5. กุสุมาอธิษฐาน คำร้อง-ทำนอง ไสล ไกรเลิศ เพ็ญศรี พุ่มชูศรี ขับร้อง6. กรรฑิมาอาภัพ (กันทิมา) "คำร้อง-ทำนอง ไสล ไกรเลิศ วงจันทร์ ไพโรจน์ ขับร้อง7. ทรากรักของจันทราคำร้อง-ทำนอง ศักดิ์ เกิดศิริ แต่งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2502 แน่งน้อย สงวนรักษ์ ขับร้อง8. นันทวดีพลาดรัก " คำร้อง-ทำนอง ศักดิ์ เกิดศิริ แต่งเมื่อปี พ.ศ. 2501 วงจันทร์ ไพโรจน์ ขับร้อง9. ปอละเตียงครวญ คำร้อง-ทำนอง ศักดิ์ เกิดศิริ แต่งเมื่อปี พ.ศ. 2501 วงจันทร์ ไพโรจน์ ขับร้อง10. บุเรงนองเฉลยรัก คำร้อง-ทำนอง ศักดิ์ เกิดศิริ เป็นเพลงขับร้องคู่ระหว่าง แน่งน้อย สงวนรักษ์ กับชุติมา สุวรรณรัตน์11. สามทหารเสือตองอู คำร้อง-ทำนอง ศักดิ์ เกิดศิริวิเชียร ภู่โชติ ปรีชา บุญยเกียรติ และชุติมา สุวรรณรัตน์ ร่วมกันขับร้อง12. เนงบาผู้ปราชัย คำร้อง-ทำนอง ศักดิ์ เกิดศิริ แต่งเมื่อปี พ.ศ. 2498 วิเชียร ภู่โชติ ขับร้อง เพลงนี้ได้รับความนิยมมากในปี พ.ศ. 249913. ไขลูออกแขก สุรพล สมบัติเจริญ ขับร้อง ไม่พบข้อมูลผู้แต่ง
ประวัติ โชติ แพร่พันธุ์จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรีโชติ แพร่พันธุ์ หรือเจ้าของนามปากกา ยาขอบ ที่มีผลงานเด่นคือ ผู้ชนะสิบทิศ และอีกหลากหลายเรื่องไม่ว่าจะเป็นผลงานเรื่องสั้นชื่อ เพื่อนแพง วรรณกรรมเรื่องยาวอย่าง สามก๊ก (ฉบับวณิพก) ความเรียงปกิณกะเรื่องสินในหมึก เป็นต้นเกิดเมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2450 เป็นบุตรของเจ้าอินแปง เทพวงศ์ เชื้อสายเจ้าเมืองแพร่ มารดาชื่อจ้อย เป็นต้นห้องของหม่อมเฉื่อยในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ โชติ แพร่พันธุ์ เข้าเรียนที่โรงเรียนเทพศิรินทร์ตั้งแต่อายุ 6 ขวบ ได้รับการอุปถัมภ์จากพระยาพิทักษ์ภูบาลอยู่ระยะหนึ่ง กระทั่งถึงยุคเศรษฐกิจตกต่า โชติต้องกลับมาเร่ร่อนอีกครั้งหนึ่ง จนมีโอกาสได้เข้าสู่วงการหนังสือพิมพ์ เริ่มจากสยามรีวิวและธงไทยในปี พ.ศ. 2472 กุหลาบ สายประดิษฐ์ จัดตั้งคณะสุภาพบุรุษ ออกหนังสือสุภาพบุรุษ รายปักษ์ คราวหนึ่ง อบ ไชยวสุ ซึ่งเป็นนักเขียนตลกประจำฉบับส่งต้นฉบับไม่ทัน กุหลาบ จึงขอให้โชติเขียนแทน โดยตั้งนามปากกาให้ว่า ยาขอบ เลียนแบบจากนักเขียนเรื่องตลกชาวอังกฤษ ชื่อ เจ.ดับบลิว. ยาค็อบ ทำให้เกิดงานประพันธ์ชิ้นแรกในนาม ยาขอบ ชื่อ จดหมายเจ้าแก้วพ.ศ. 2474 โชติ แพร่พันธุ์ ได้เป็นบรรณาธิการหนังสือพิมพ์สุริยารายวันและเริ่มเขียนนิยายเรื่อง ยอดขุนพล แต่หนังสือพิมพ์สุริยามีอายุไม่ยืน เมื่อกุหลาบ สายประดิษฐ์ ไปทำหนังสือพิมพ์ประชาชาติ ในปี พ.ศ. 2475 โชติจึงเขียนเรื่อง ยอดขุนพล ต่อ โดยมาลัย ชูพินิจ เปลี่ยนชื่อให้ใหม่เป็นผู้ชนะสิบทิศ โดยผู้ชนะสิบทิศเขียนมาจากพงศาวดารที่โชติมีโอกาสได้อ่านเพียง 8 บรรทัดเท่านั้น แต่ความเป็นอัจฉริยะทางวรรณกรรมกลับถ่ายทอดได้อย่างหลากอรรถรส มากถึง 8 เล่มมีบุตรชายคนเดียวคือ นายมานะ แพร่พันธุ์ (นักเขียน, นักหนังสือพิมพ์ผู้ทรงคุณวุฒิของเมืองไทย)โชติ แพร่พันธุ์ ถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2499 ขณะอายุ 48 ปี ด้วยโรคพิษสุราเรื้อรัง และเบาหวานเค้าโครงความจริงและที่มาที่ไปจากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรีผู้ชนะสิบทิศ เป็นนิยายที่ยาขอบ หรือโชติ แพร่พันธุ์ ผู้เขียนเรียกว่า "นิยายปลอมพงศาวดาร" โดยหยิบพงศาวดารพม่าเพียงแค่ 8 บรรทัด จากพระราชพงศาวดารพม่า พระนิพนธ์ในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ ในครั้งแรกใช้ชื่อว่า "ยอดขุนพล" เริ่มเขียนใน พ.ศ. 2474 จบลงใน พ.ศ. 2475 ในหนังสือพิมพ์ "สุริยา" และเริ่มเขียน "ผู้ชนะสิบทิศ" ในหนังสือพิมพ์ "ประชาชาติ" เมื่อ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475 จบภาคหนึ่งเมื่อ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2476 รวมเล่มพิมพ์เมื่อ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2482 เขียนรวมทั้งหมด 3 ภาค เมื่อ พ.ศ. 2482 แต่ยังไม่จบ เนื่องจากขาดข้อมูลบางอย่างที่จะต้องใช้ประกอบการเขียน ในเนื้อเรื่องกล่าวถึงราชวงศ์ตองอูตอนต้น เริ่มตั้งแต่รัชสมัยของพระเจ้าเมงจีโย ไปจนถึงพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ หรือ มังตราราชบุตร โดยคำว่าผู้ชนะสิบทิศนั้น มาจากคำที่สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพทรงกล่าวถึง พระเจ้าบุเรงนองว่าเป็น The Conqueror of Ten Directions แต่สำหรับชื่อนิยาย จากหนังสือประวัติยาขอบ อ้างอิงว่า มาลัย ชูพินิจ เป็นผู้ตั้งให้ ผู้ชนะสิบทิศตีพิมพ์ครั้งแรกลงใน นสพ.ประชาชาติ เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475 ในตอน "ความรักครั้งแรก" ฉบับพิมพ์รวมเล่มใช้ชื่อ "ลูกร่วมนม" สร้างชื่อเสียงให้ยาขอบได้แจ้งเกิด จนกลายเป็นกระแสไปทั่วทุกเพศทุกวัย ว่ากันว่าแม้แต่บรรพชิตก็ยังอ่านอย่างไม่กลัวอาบัติ[1] ผู้ชนะสิบทิศยังได้รับความนิยมอย่างต่อเนื่องจนกระทั่งยุคของจอมพลแปลก พิบูลสงครามเป็นช่วงที่รัฐบาลไทยมีนโยบายสร้างสหรัฐไทยเดิมโดยการส่งทหารไทยเข้ารุกรานดินแดนพม่าของอังกฤษร่วมกับญี่ปุ่น ในปี พ.ศ. 2485 ทางรัฐบาลได้มีการเข้าควบคุมสื่อการพิมพ์ทุกอย่าง นิยายผู้ชนะสิบทิศได้ถูกพิจารณาว่าเนื่องจากเนื้อหาที่ยกย่องศัตรูของชาติประกอบกับเรื่องกรุงศรีอยุธยาถูกพม่าตีแตกครั้งที่หนึ่งถูกหยิบนำมาพูดกันในวงกว้างในการปลุกระดมชาตินิยม นิยายผู้ชนะสิบทิศได้ถูกสั่งห้ามพิมพ์จำหน่ายหรือมีไว้ครอบครองอย่างเด็ดขาดเนื้อเรื่องย่อ ผู้ชนะสิบทิศจากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรีมหาราชพม่าพระองค์หนึ่งมีพื้นตระกูลกำเนิดสามัญชน จะเด็ด เป็นลูกพระนมหลวง จึงพลอยได้สมาคมกับพระราชวงศ์นับแต่ร่วมน้ำนมกับมังตราราชบุตร และตะละแม่จันทรา พระราชธิดา ต่อมาเป็นดั่งดวงใจ จะเด็ด ฉากของเรื่องมีสามเมืองใหญ่ที่ผูกเหตุการณ์เกี่ยวเนื่องกัน ด้วยการเมือง การรบ ความแค้น และความรัก คือตองอู เมืองพม่าอันมีจะเด็ดเป็นหนึ่งในตองอู กับเมืองแปร และเมืองหงสาวดี อันเป็นเมืองมอญ ตองอูนั้นสร้างด้วยสามเกลอร่วมใจกัน คือ มังสินธุ ขุนพลผู้ออกบวช ภายหลังเป็นมหาเถรกุโสดออาจารย์ของจะด็ด, ทะกะยอดิน ขุนพลผู้พอใจเป็นขุนวังและเมงกะยินโย ขุนพลผู้ยกเศวตฉัตรเหนือตองอู มีพระราชธิดาเกิดแต่พระอัครมเหสีนามว่า ตะละแม่จันทรา มีพระราชโอรสเกิดด้วยพระมหาเทวีเป็นรัชทายาทนามว่า มังตรา ส่วนจะเด็ดเป็นลูกคนปาดตาลที่แม่ชื่อ นางเลาชี ซึ่งมหาเถรกุโสดอถวายคำแนะนำกษัตริย์ตองอู รับเป็นพระนมของมังตราและจันทราฝ่ายเมืองแปร หญิงผู้เป็นแสนรักของจะเด็ดอีกคนเกิดที่นี่ นามตะละแม่กุสุมา พระธิดาพระเจ้าเมืองแปรหรือพระเจ้านรบดี พระเจ้าแปรเป็นพระอนุชาของผู้ครองหงสาวดีคือพระยาราม มีราชบุตรชื่อสอพินยา ซึ่งมีบริวารนามว่าไขลู ตัวละครนี้ ยาขอบรักที่สุด เพราะจะสร้างพระเอกอย่างจะเด็ดเท่าไร สร้างได้ไม่ยากนัก แต่จะสร้างคนชั่วช้า อย่างไขลูสร้างได้ยากยิ่ง ตัวละครในผู้ชนะสิบทิศ มีเป็นอันมากและเวลาในเรื่องกินเวลายาว กระนั้น การที่คนอ่านไม่เพียงบทตราตรึงของตัวละครเอก ยังแผ่ใจจดจำตัวประกอบรองๆ ไม่สับสนหลงลืม เพราะผู้ประพันธ์กำหนดบทบาทและบุคลิกภาพของตัวละครชัดเจน กินใจเป็นกระพี้ที่สำคัญต่อแก่นประสมประสานเป็นองค์เอกภาพดียวกันจะเด็ดเจ้าชู้และเป็นชายชาตรีลูกคนธรรมดา เกือบจะพิมพ์เดียวกับขุนแผน ขณะที่ขุนแผนใช้เวทมนตร์และวิ่งหาความรัก ไม่ประสบความสำเร็จในชีวิตรักโดยเฉพาชีวิตครอบครัว ส่วนบทบาทของขุนแผนในทางสังคมก็เพียงขุนนางชาวบ้านผู้จงรักภักดี แต่จะเด็ดหนุ่มรูปงามคารมดี มิได้ใช้เวทมนตร์ใด หากกิริยาวาจานั้นกำใจทั้งสาวๆ ตัวละครและทั้งคนอ่าน แม้ผู้หญิงตามปกติไม่เห็นใจชายเจ้าชู้ ทว่าจะเด็ดดูว่าเป็นข้อยกเว้น เพราะ เคลิ้มตนด้วยความอยากจะเป็นตะละแม่สักนางหนึ่งเมื่อจะเด็ดอ้อนรำพัน "ข้าพเจ้ารักจันทราด้วยใจภักดิ์ แต่รักกุสุมาด้วยใจปอง" ซึ่งหัวใจจะเด็ดยังกว้างเหมือนมหาสมุทรที่ไม่เลือกเรือสำหรับหญิงอื่นๆ อีกด้วย ในความเป็นสามัญชนของจะเด็ดยังแตกต่างจากขุนแผน ที่เป็นเพียงข้าผู้ภักดีในฐานะขุนนาง ทว่าจะเด็ดไม่เพียงเด็ดดอกฟ้าโดยเป็นสวามีพระพี่นางของมังตรา หากสิ้นมังตรายังขึ้นเป็นจอมคนของทั้งแผ่นดิน ผู้ชนะสิบทิศเกร็ดเพลง ผู้ชนะสิบทิศในภาพเป็นข้อมูลที่ จขบ.ได้รับเมื่อครั้งไปดูคอนเสิร์ตการกุศลภูมิใจไทยตามวันเเละเวลาในภาพนะคะคุณชรินทร์เล่าให้ให้ฟังด้วยความประทับใจเป็นอย่างยิ่งจาก..แม่น้ำเจ้าพระยา....ณ ท่าพระจันทร์ท้องฟ้าคืนนั้น...เด็มไปด้วยดวงดาวสู่..ฟ้าลุ่มอิรวดี คืนนี้...มีแต่ดาวแจ่มแสงแวววาว...เด่นอะคร้าว สว่างไสวเสียงคลื่นเร้าฤดีคืนนี้ข้าเปลี่ยวใจเหน็บหนาวทรวงใน...แปลกไฉนข้าเศร้าวิญญา ข้ามาทำศึกลำเค็ญ เหนื่อยแสนยากเย็นไม่เว้นว่างเปล่าเพื่อศักดิ์ชาวตองอู ถึงจะตายจะอยู่ขอเชิดชูมังตรา ดวงใจข้ามอบจอมขวัญ มั่นรักต่อกันมิ่งขวัญจันทรากุสุมายอดชู้ รักเจ้าเพียงเอ็นดู ไว้ชื่นชูดวงแด ไปรบอยู่แห่งไหน ใจคะนึงถึงเจ้า เคยเล้าโลมโฉมแม่ข้ากลับมาเมืองแปร มองเหลียวแลแสนเปลี่ยวเปล่าไม่มีแต่เงาข้าเศร้าอาลัย หัวใจแทบขาด อนาถใจไม่คลาย เจ็บใจคนรักโดนรังแก ข้าจะเผาเมืองแปรให้มันวอดวายจะตายให้เขาลือชาย จะให้เขาลือชาย ว่านามชื่อกูผู้ชนะสิบทิศ ผู้ชนะสิบทิศ ผู้ชนะสิบทิศ ผู้ชนะ....สิบทิศคุณชรินทร์ นันทนาคร เล่าว่า คืนนั้นผมร้องเพลงนี้ให้คนคนเดียวฟัง และต้องร้องให้ดีที่สุดในชีวิต ผมร้องคืนนั้น ผมลืมทุกสิ่งทุกอย่าง เพราะมีครูคอยให้กำลังใจอยู่ใกล้ๆ ร้องมาถึงท่อน เจ็บใจคนรักโดนรังแก ผมสังเกต เห็นท่านเอามือตบโต๊ะ ผมก็นึก ..เออ สงสัยจะสอบไล่ได้ พอจบเพลง ท่านบอก "รอเดี๋ยว"ท่านก็เข้าไปข้างใน เอาหนังสือผู้ชนะสิบทิศ มาให้ครูหนึ่งชุด แปดเล่มแล้วเขียนที่หน้าปกว่า อนุญาตให้นายไสล ไกรเลิศ นำเรื่องราวทั้งหมดนี้ ไปแต่งเป็นเพลงได้แต่ผู้เดียว ลงชื่อ ยาขอบตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา ไสล ไกรเลิศแต่งหมด ไขลูสู้ตาย อเทตยาพ้อรัก กุสุมาอธิษฐาน กุสุมาวอนสวาท จันทรางามพักตร์ จะเลงกะโบโศกา แต่งหมดทั้งเล่ม
เค้าโครงความจริงและที่มาที่ไปจากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรีผู้ชนะสิบทิศ เป็นนิยายที่ยาขอบ หรือโชติ แพร่พันธุ์ ผู้เขียนเรียกว่า "นิยายปลอมพงศาวดาร" โดยหยิบพงศาวดารพม่าเพียงแค่ 8 บรรทัด จากพระราชพงศาวดารพม่า พระนิพนธ์ในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ ในครั้งแรกใช้ชื่อว่า "ยอดขุนพล" เริ่มเขียนใน พ.ศ. 2474 จบลงใน พ.ศ. 2475 ในหนังสือพิมพ์ "สุริยา" และเริ่มเขียน "ผู้ชนะสิบทิศ" ในหนังสือพิมพ์ "ประชาชาติ" เมื่อ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475 จบภาคหนึ่งเมื่อ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2476 รวมเล่มพิมพ์เมื่อ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2482 เขียนรวมทั้งหมด 3 ภาค เมื่อ พ.ศ. 2482 แต่ยังไม่จบ เนื่องจากขาดข้อมูลบางอย่างที่จะต้องใช้ประกอบการเขียน ในเนื้อเรื่องกล่าวถึงราชวงศ์ตองอูตอนต้น เริ่มตั้งแต่รัชสมัยของพระเจ้าเมงจีโย ไปจนถึงพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ หรือ มังตราราชบุตร โดยคำว่าผู้ชนะสิบทิศนั้น มาจากคำที่สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพทรงกล่าวถึง พระเจ้าบุเรงนองว่าเป็น The Conqueror of Ten Directions แต่สำหรับชื่อนิยาย จากหนังสือประวัติยาขอบ อ้างอิงว่า มาลัย ชูพินิจ เป็นผู้ตั้งให้ ผู้ชนะสิบทิศตีพิมพ์ครั้งแรกลงใน นสพ.ประชาชาติ เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475 ในตอน "ความรักครั้งแรก" ฉบับพิมพ์รวมเล่มใช้ชื่อ "ลูกร่วมนม" สร้างชื่อเสียงให้ยาขอบได้แจ้งเกิด จนกลายเป็นกระแสไปทั่วทุกเพศทุกวัย ว่ากันว่าแม้แต่บรรพชิตก็ยังอ่านอย่างไม่กลัวอาบัติ[1] ผู้ชนะสิบทิศยังได้รับความนิยมอย่างต่อเนื่องจนกระทั่งยุคของจอมพลแปลก พิบูลสงครามเป็นช่วงที่รัฐบาลไทยมีนโยบายสร้างสหรัฐไทยเดิมโดยการส่งทหารไทยเข้ารุกรานดินแดนพม่าของอังกฤษร่วมกับญี่ปุ่น ในปี พ.ศ. 2485 ทางรัฐบาลได้มีการเข้าควบคุมสื่อการพิมพ์ทุกอย่าง นิยายผู้ชนะสิบทิศได้ถูกพิจารณาว่าเนื่องจากเนื้อหาที่ยกย่องศัตรูของชาติประกอบกับเรื่องกรุงศรีอยุธยาถูกพม่าตีแตกครั้งที่หนึ่งถูกหยิบนำมาพูดกันในวงกว้างในการปลุกระดมชาตินิยม นิยายผู้ชนะสิบทิศได้ถูกสั่งห้ามพิมพ์จำหน่ายหรือมีไว้ครอบครองอย่างเด็ดขาดเนื้อเรื่องย่อ ผู้ชนะสิบทิศจากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรีมหาราชพม่าพระองค์หนึ่งมีพื้นตระกูลกำเนิดสามัญชน จะเด็ด เป็นลูกพระนมหลวง จึงพลอยได้สมาคมกับพระราชวงศ์นับแต่ร่วมน้ำนมกับมังตราราชบุตร และตะละแม่จันทรา พระราชธิดา ต่อมาเป็นดั่งดวงใจ จะเด็ด ฉากของเรื่องมีสามเมืองใหญ่ที่ผูกเหตุการณ์เกี่ยวเนื่องกัน ด้วยการเมือง การรบ ความแค้น และความรัก คือตองอู เมืองพม่าอันมีจะเด็ดเป็นหนึ่งในตองอู กับเมืองแปร และเมืองหงสาวดี อันเป็นเมืองมอญ ตองอูนั้นสร้างด้วยสามเกลอร่วมใจกัน คือ มังสินธุ ขุนพลผู้ออกบวช ภายหลังเป็นมหาเถรกุโสดออาจารย์ของจะด็ด, ทะกะยอดิน ขุนพลผู้พอใจเป็นขุนวังและเมงกะยินโย ขุนพลผู้ยกเศวตฉัตรเหนือตองอู มีพระราชธิดาเกิดแต่พระอัครมเหสีนามว่า ตะละแม่จันทรา มีพระราชโอรสเกิดด้วยพระมหาเทวีเป็นรัชทายาทนามว่า มังตรา ส่วนจะเด็ดเป็นลูกคนปาดตาลที่แม่ชื่อ นางเลาชี ซึ่งมหาเถรกุโสดอถวายคำแนะนำกษัตริย์ตองอู รับเป็นพระนมของมังตราและจันทราฝ่ายเมืองแปร หญิงผู้เป็นแสนรักของจะเด็ดอีกคนเกิดที่นี่ นามตะละแม่กุสุมา พระธิดาพระเจ้าเมืองแปรหรือพระเจ้านรบดี พระเจ้าแปรเป็นพระอนุชาของผู้ครองหงสาวดีคือพระยาราม มีราชบุตรชื่อสอพินยา ซึ่งมีบริวารนามว่าไขลู ตัวละครนี้ ยาขอบรักที่สุด เพราะจะสร้างพระเอกอย่างจะเด็ดเท่าไร สร้างได้ไม่ยากนัก แต่จะสร้างคนชั่วช้า อย่างไขลูสร้างได้ยากยิ่ง ตัวละครในผู้ชนะสิบทิศ มีเป็นอันมากและเวลาในเรื่องกินเวลายาว กระนั้น การที่คนอ่านไม่เพียงบทตราตรึงของตัวละครเอก ยังแผ่ใจจดจำตัวประกอบรองๆ ไม่สับสนหลงลืม เพราะผู้ประพันธ์กำหนดบทบาทและบุคลิกภาพของตัวละครชัดเจน กินใจเป็นกระพี้ที่สำคัญต่อแก่นประสมประสานเป็นองค์เอกภาพดียวกันจะเด็ดเจ้าชู้และเป็นชายชาตรีลูกคนธรรมดา เกือบจะพิมพ์เดียวกับขุนแผน ขณะที่ขุนแผนใช้เวทมนตร์และวิ่งหาความรัก ไม่ประสบความสำเร็จในชีวิตรักโดยเฉพาชีวิตครอบครัว ส่วนบทบาทของขุนแผนในทางสังคมก็เพียงขุนนางชาวบ้านผู้จงรักภักดี แต่จะเด็ดหนุ่มรูปงามคารมดี มิได้ใช้เวทมนตร์ใด หากกิริยาวาจานั้นกำใจทั้งสาวๆ ตัวละครและทั้งคนอ่าน แม้ผู้หญิงตามปกติไม่เห็นใจชายเจ้าชู้ ทว่าจะเด็ดดูว่าเป็นข้อยกเว้น เพราะ เคลิ้มตนด้วยความอยากจะเป็นตะละแม่สักนางหนึ่งเมื่อจะเด็ดอ้อนรำพัน "ข้าพเจ้ารักจันทราด้วยใจภักดิ์ แต่รักกุสุมาด้วยใจปอง" ซึ่งหัวใจจะเด็ดยังกว้างเหมือนมหาสมุทรที่ไม่เลือกเรือสำหรับหญิงอื่นๆ อีกด้วย ในความเป็นสามัญชนของจะเด็ดยังแตกต่างจากขุนแผน ที่เป็นเพียงข้าผู้ภักดีในฐานะขุนนาง ทว่าจะเด็ดไม่เพียงเด็ดดอกฟ้าโดยเป็นสวามีพระพี่นางของมังตรา หากสิ้นมังตรายังขึ้นเป็นจอมคนของทั้งแผ่นดิน ผู้ชนะสิบทิศเกร็ดเพลง ผู้ชนะสิบทิศในภาพเป็นข้อมูลที่ จขบ.ได้รับเมื่อครั้งไปดูคอนเสิร์ตการกุศลภูมิใจไทยตามวันเเละเวลาในภาพนะคะคุณชรินทร์เล่าให้ให้ฟังด้วยความประทับใจเป็นอย่างยิ่งจาก..แม่น้ำเจ้าพระยา....ณ ท่าพระจันทร์ท้องฟ้าคืนนั้น...เด็มไปด้วยดวงดาวสู่..ฟ้าลุ่มอิรวดี คืนนี้...มีแต่ดาวแจ่มแสงแวววาว...เด่นอะคร้าว สว่างไสวเสียงคลื่นเร้าฤดีคืนนี้ข้าเปลี่ยวใจเหน็บหนาวทรวงใน...แปลกไฉนข้าเศร้าวิญญา ข้ามาทำศึกลำเค็ญ เหนื่อยแสนยากเย็นไม่เว้นว่างเปล่าเพื่อศักดิ์ชาวตองอู ถึงจะตายจะอยู่ขอเชิดชูมังตรา ดวงใจข้ามอบจอมขวัญ มั่นรักต่อกันมิ่งขวัญจันทรากุสุมายอดชู้ รักเจ้าเพียงเอ็นดู ไว้ชื่นชูดวงแด ไปรบอยู่แห่งไหน ใจคะนึงถึงเจ้า เคยเล้าโลมโฉมแม่ข้ากลับมาเมืองแปร มองเหลียวแลแสนเปลี่ยวเปล่าไม่มีแต่เงาข้าเศร้าอาลัย หัวใจแทบขาด อนาถใจไม่คลาย เจ็บใจคนรักโดนรังแก ข้าจะเผาเมืองแปรให้มันวอดวายจะตายให้เขาลือชาย จะให้เขาลือชาย ว่านามชื่อกูผู้ชนะสิบทิศ ผู้ชนะสิบทิศ ผู้ชนะสิบทิศ ผู้ชนะ....สิบทิศคุณชรินทร์ นันทนาคร เล่าว่า คืนนั้นผมร้องเพลงนี้ให้คนคนเดียวฟัง และต้องร้องให้ดีที่สุดในชีวิต ผมร้องคืนนั้น ผมลืมทุกสิ่งทุกอย่าง เพราะมีครูคอยให้กำลังใจอยู่ใกล้ๆ ร้องมาถึงท่อน เจ็บใจคนรักโดนรังแก ผมสังเกต เห็นท่านเอามือตบโต๊ะ ผมก็นึก ..เออ สงสัยจะสอบไล่ได้ พอจบเพลง ท่านบอก "รอเดี๋ยว"ท่านก็เข้าไปข้างใน เอาหนังสือผู้ชนะสิบทิศ มาให้ครูหนึ่งชุด แปดเล่มแล้วเขียนที่หน้าปกว่า อนุญาตให้นายไสล ไกรเลิศ นำเรื่องราวทั้งหมดนี้ ไปแต่งเป็นเพลงได้แต่ผู้เดียว ลงชื่อ ยาขอบตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา ไสล ไกรเลิศแต่งหมด ไขลูสู้ตาย อเทตยาพ้อรัก กุสุมาอธิษฐาน กุสุมาวอนสวาท จันทรางามพักตร์ จะเลงกะโบโศกา แต่งหมดทั้งเล่ม
เนื้อเรื่องย่อ ผู้ชนะสิบทิศจากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรีมหาราชพม่าพระองค์หนึ่งมีพื้นตระกูลกำเนิดสามัญชน จะเด็ด เป็นลูกพระนมหลวง จึงพลอยได้สมาคมกับพระราชวงศ์นับแต่ร่วมน้ำนมกับมังตราราชบุตร และตะละแม่จันทรา พระราชธิดา ต่อมาเป็นดั่งดวงใจ จะเด็ด ฉากของเรื่องมีสามเมืองใหญ่ที่ผูกเหตุการณ์เกี่ยวเนื่องกัน ด้วยการเมือง การรบ ความแค้น และความรัก คือตองอู เมืองพม่าอันมีจะเด็ดเป็นหนึ่งในตองอู กับเมืองแปร และเมืองหงสาวดี อันเป็นเมืองมอญ ตองอูนั้นสร้างด้วยสามเกลอร่วมใจกัน คือ มังสินธุ ขุนพลผู้ออกบวช ภายหลังเป็นมหาเถรกุโสดออาจารย์ของจะด็ด, ทะกะยอดิน ขุนพลผู้พอใจเป็นขุนวังและเมงกะยินโย ขุนพลผู้ยกเศวตฉัตรเหนือตองอู มีพระราชธิดาเกิดแต่พระอัครมเหสีนามว่า ตะละแม่จันทรา มีพระราชโอรสเกิดด้วยพระมหาเทวีเป็นรัชทายาทนามว่า มังตรา ส่วนจะเด็ดเป็นลูกคนปาดตาลที่แม่ชื่อ นางเลาชี ซึ่งมหาเถรกุโสดอถวายคำแนะนำกษัตริย์ตองอู รับเป็นพระนมของมังตราและจันทราฝ่ายเมืองแปร หญิงผู้เป็นแสนรักของจะเด็ดอีกคนเกิดที่นี่ นามตะละแม่กุสุมา พระธิดาพระเจ้าเมืองแปรหรือพระเจ้านรบดี พระเจ้าแปรเป็นพระอนุชาของผู้ครองหงสาวดีคือพระยาราม มีราชบุตรชื่อสอพินยา ซึ่งมีบริวารนามว่าไขลู ตัวละครนี้ ยาขอบรักที่สุด เพราะจะสร้างพระเอกอย่างจะเด็ดเท่าไร สร้างได้ไม่ยากนัก แต่จะสร้างคนชั่วช้า อย่างไขลูสร้างได้ยากยิ่ง ตัวละครในผู้ชนะสิบทิศ มีเป็นอันมากและเวลาในเรื่องกินเวลายาว กระนั้น การที่คนอ่านไม่เพียงบทตราตรึงของตัวละครเอก ยังแผ่ใจจดจำตัวประกอบรองๆ ไม่สับสนหลงลืม เพราะผู้ประพันธ์กำหนดบทบาทและบุคลิกภาพของตัวละครชัดเจน กินใจเป็นกระพี้ที่สำคัญต่อแก่นประสมประสานเป็นองค์เอกภาพดียวกันจะเด็ดเจ้าชู้และเป็นชายชาตรีลูกคนธรรมดา เกือบจะพิมพ์เดียวกับขุนแผน ขณะที่ขุนแผนใช้เวทมนตร์และวิ่งหาความรัก ไม่ประสบความสำเร็จในชีวิตรักโดยเฉพาชีวิตครอบครัว ส่วนบทบาทของขุนแผนในทางสังคมก็เพียงขุนนางชาวบ้านผู้จงรักภักดี แต่จะเด็ดหนุ่มรูปงามคารมดี มิได้ใช้เวทมนตร์ใด หากกิริยาวาจานั้นกำใจทั้งสาวๆ ตัวละครและทั้งคนอ่าน แม้ผู้หญิงตามปกติไม่เห็นใจชายเจ้าชู้ ทว่าจะเด็ดดูว่าเป็นข้อยกเว้น เพราะ เคลิ้มตนด้วยความอยากจะเป็นตะละแม่สักนางหนึ่งเมื่อจะเด็ดอ้อนรำพัน "ข้าพเจ้ารักจันทราด้วยใจภักดิ์ แต่รักกุสุมาด้วยใจปอง" ซึ่งหัวใจจะเด็ดยังกว้างเหมือนมหาสมุทรที่ไม่เลือกเรือสำหรับหญิงอื่นๆ อีกด้วย ในความเป็นสามัญชนของจะเด็ดยังแตกต่างจากขุนแผน ที่เป็นเพียงข้าผู้ภักดีในฐานะขุนนาง ทว่าจะเด็ดไม่เพียงเด็ดดอกฟ้าโดยเป็นสวามีพระพี่นางของมังตรา หากสิ้นมังตรายังขึ้นเป็นจอมคนของทั้งแผ่นดิน ผู้ชนะสิบทิศเกร็ดเพลง ผู้ชนะสิบทิศในภาพเป็นข้อมูลที่ จขบ.ได้รับเมื่อครั้งไปดูคอนเสิร์ตการกุศลภูมิใจไทยตามวันเเละเวลาในภาพนะคะคุณชรินทร์เล่าให้ให้ฟังด้วยความประทับใจเป็นอย่างยิ่งจาก..แม่น้ำเจ้าพระยา....ณ ท่าพระจันทร์ท้องฟ้าคืนนั้น...เด็มไปด้วยดวงดาวสู่..ฟ้าลุ่มอิรวดี คืนนี้...มีแต่ดาวแจ่มแสงแวววาว...เด่นอะคร้าว สว่างไสวเสียงคลื่นเร้าฤดีคืนนี้ข้าเปลี่ยวใจเหน็บหนาวทรวงใน...แปลกไฉนข้าเศร้าวิญญา ข้ามาทำศึกลำเค็ญ เหนื่อยแสนยากเย็นไม่เว้นว่างเปล่าเพื่อศักดิ์ชาวตองอู ถึงจะตายจะอยู่ขอเชิดชูมังตรา ดวงใจข้ามอบจอมขวัญ มั่นรักต่อกันมิ่งขวัญจันทรากุสุมายอดชู้ รักเจ้าเพียงเอ็นดู ไว้ชื่นชูดวงแด ไปรบอยู่แห่งไหน ใจคะนึงถึงเจ้า เคยเล้าโลมโฉมแม่ข้ากลับมาเมืองแปร มองเหลียวแลแสนเปลี่ยวเปล่าไม่มีแต่เงาข้าเศร้าอาลัย หัวใจแทบขาด อนาถใจไม่คลาย เจ็บใจคนรักโดนรังแก ข้าจะเผาเมืองแปรให้มันวอดวายจะตายให้เขาลือชาย จะให้เขาลือชาย ว่านามชื่อกูผู้ชนะสิบทิศ ผู้ชนะสิบทิศ ผู้ชนะสิบทิศ ผู้ชนะ....สิบทิศคุณชรินทร์ นันทนาคร เล่าว่า คืนนั้นผมร้องเพลงนี้ให้คนคนเดียวฟัง และต้องร้องให้ดีที่สุดในชีวิต ผมร้องคืนนั้น ผมลืมทุกสิ่งทุกอย่าง เพราะมีครูคอยให้กำลังใจอยู่ใกล้ๆ ร้องมาถึงท่อน เจ็บใจคนรักโดนรังแก ผมสังเกต เห็นท่านเอามือตบโต๊ะ ผมก็นึก ..เออ สงสัยจะสอบไล่ได้ พอจบเพลง ท่านบอก "รอเดี๋ยว"ท่านก็เข้าไปข้างใน เอาหนังสือผู้ชนะสิบทิศ มาให้ครูหนึ่งชุด แปดเล่มแล้วเขียนที่หน้าปกว่า อนุญาตให้นายไสล ไกรเลิศ นำเรื่องราวทั้งหมดนี้ ไปแต่งเป็นเพลงได้แต่ผู้เดียว ลงชื่อ ยาขอบตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา ไสล ไกรเลิศแต่งหมด ไขลูสู้ตาย อเทตยาพ้อรัก กุสุมาอธิษฐาน กุสุมาวอนสวาท จันทรางามพักตร์ จะเลงกะโบโศกา แต่งหมดทั้งเล่ม
เกร็ดเพลง ผู้ชนะสิบทิศในภาพเป็นข้อมูลที่ จขบ.ได้รับเมื่อครั้งไปดูคอนเสิร์ตการกุศลภูมิใจไทยตามวันเเละเวลาในภาพนะคะคุณชรินทร์เล่าให้ให้ฟังด้วยความประทับใจเป็นอย่างยิ่งจาก..แม่น้ำเจ้าพระยา....ณ ท่าพระจันทร์ท้องฟ้าคืนนั้น...เด็มไปด้วยดวงดาวสู่..ฟ้าลุ่มอิรวดี คืนนี้...มีแต่ดาวแจ่มแสงแวววาว...เด่นอะคร้าว สว่างไสวเสียงคลื่นเร้าฤดีคืนนี้ข้าเปลี่ยวใจเหน็บหนาวทรวงใน...แปลกไฉนข้าเศร้าวิญญา ข้ามาทำศึกลำเค็ญ เหนื่อยแสนยากเย็นไม่เว้นว่างเปล่าเพื่อศักดิ์ชาวตองอู ถึงจะตายจะอยู่ขอเชิดชูมังตรา ดวงใจข้ามอบจอมขวัญ มั่นรักต่อกันมิ่งขวัญจันทรากุสุมายอดชู้ รักเจ้าเพียงเอ็นดู ไว้ชื่นชูดวงแด ไปรบอยู่แห่งไหน ใจคะนึงถึงเจ้า เคยเล้าโลมโฉมแม่ข้ากลับมาเมืองแปร มองเหลียวแลแสนเปลี่ยวเปล่าไม่มีแต่เงาข้าเศร้าอาลัย หัวใจแทบขาด อนาถใจไม่คลาย เจ็บใจคนรักโดนรังแก ข้าจะเผาเมืองแปรให้มันวอดวายจะตายให้เขาลือชาย จะให้เขาลือชาย ว่านามชื่อกูผู้ชนะสิบทิศ ผู้ชนะสิบทิศ ผู้ชนะสิบทิศ ผู้ชนะ....สิบทิศคุณชรินทร์ นันทนาคร เล่าว่า คืนนั้นผมร้องเพลงนี้ให้คนคนเดียวฟัง และต้องร้องให้ดีที่สุดในชีวิต ผมร้องคืนนั้น ผมลืมทุกสิ่งทุกอย่าง เพราะมีครูคอยให้กำลังใจอยู่ใกล้ๆ ร้องมาถึงท่อน เจ็บใจคนรักโดนรังแก ผมสังเกต เห็นท่านเอามือตบโต๊ะ ผมก็นึก ..เออ สงสัยจะสอบไล่ได้ พอจบเพลง ท่านบอก "รอเดี๋ยว"ท่านก็เข้าไปข้างใน เอาหนังสือผู้ชนะสิบทิศ มาให้ครูหนึ่งชุด แปดเล่มแล้วเขียนที่หน้าปกว่า อนุญาตให้นายไสล ไกรเลิศ นำเรื่องราวทั้งหมดนี้ ไปแต่งเป็นเพลงได้แต่ผู้เดียว ลงชื่อ ยาขอบตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา ไสล ไกรเลิศแต่งหมด ไขลูสู้ตาย อเทตยาพ้อรัก กุสุมาอธิษฐาน กุสุมาวอนสวาท จันทรางามพักตร์ จะเลงกะโบโศกา แต่งหมดทั้งเล่ม
จาก..แม่น้ำเจ้าพระยา....ณ ท่าพระจันทร์ท้องฟ้าคืนนั้น...เด็มไปด้วยดวงดาวสู่..ฟ้าลุ่มอิรวดี คืนนี้...มีแต่ดาวแจ่มแสงแวววาว...เด่นอะคร้าว สว่างไสวเสียงคลื่นเร้าฤดีคืนนี้ข้าเปลี่ยวใจเหน็บหนาวทรวงใน...แปลกไฉนข้าเศร้าวิญญา ข้ามาทำศึกลำเค็ญ เหนื่อยแสนยากเย็นไม่เว้นว่างเปล่าเพื่อศักดิ์ชาวตองอู ถึงจะตายจะอยู่ขอเชิดชูมังตรา ดวงใจข้ามอบจอมขวัญ มั่นรักต่อกันมิ่งขวัญจันทรากุสุมายอดชู้ รักเจ้าเพียงเอ็นดู ไว้ชื่นชูดวงแด ไปรบอยู่แห่งไหน ใจคะนึงถึงเจ้า เคยเล้าโลมโฉมแม่ข้ากลับมาเมืองแปร มองเหลียวแลแสนเปลี่ยวเปล่าไม่มีแต่เงาข้าเศร้าอาลัย หัวใจแทบขาด อนาถใจไม่คลาย เจ็บใจคนรักโดนรังแก ข้าจะเผาเมืองแปรให้มันวอดวายจะตายให้เขาลือชาย จะให้เขาลือชาย ว่านามชื่อกูผู้ชนะสิบทิศ ผู้ชนะสิบทิศ ผู้ชนะสิบทิศ ผู้ชนะ....สิบทิศคุณชรินทร์ นันทนาคร เล่าว่า คืนนั้นผมร้องเพลงนี้ให้คนคนเดียวฟัง และต้องร้องให้ดีที่สุดในชีวิต ผมร้องคืนนั้น ผมลืมทุกสิ่งทุกอย่าง เพราะมีครูคอยให้กำลังใจอยู่ใกล้ๆ ร้องมาถึงท่อน เจ็บใจคนรักโดนรังแก ผมสังเกต เห็นท่านเอามือตบโต๊ะ ผมก็นึก ..เออ สงสัยจะสอบไล่ได้ พอจบเพลง ท่านบอก "รอเดี๋ยว"ท่านก็เข้าไปข้างใน เอาหนังสือผู้ชนะสิบทิศ มาให้ครูหนึ่งชุด แปดเล่มแล้วเขียนที่หน้าปกว่า อนุญาตให้นายไสล ไกรเลิศ นำเรื่องราวทั้งหมดนี้ ไปแต่งเป็นเพลงได้แต่ผู้เดียว ลงชื่อ ยาขอบตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา ไสล ไกรเลิศแต่งหมด ไขลูสู้ตาย อเทตยาพ้อรัก กุสุมาอธิษฐาน กุสุมาวอนสวาท จันทรางามพักตร์ จะเลงกะโบโศกา แต่งหมดทั้งเล่ม
+ฝากข้อความคลิกที่นี่หรือหลังไมค์นะคะ+ +เฉลิมลาภ ทราบแล้วเปลี่ยน+