กรรมเก่า คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ.เป็นเจ้าบทบาทเดิม จากนั้น การศึกษาอาศัยปรโตโฆสะ ซึ่งมีคติว่า "คนเป็นไปตามสภาพแวดล้อมที่ปรุงปั้น" และโยนิโสมนสิการ ซึ่งมีคติย้อนกลับว่า "ถ้าเป็นคนรู้จักคิด แม้แต่ฟังคนบ้าคนเมาพูด ก็อาจสำเร็จเป็นพระอรหันต์"
บุญ
ข้อธัมม์ที่ถาม-เถียงกันบ่อย
หลักปฏิบัติ
สภาวธรรม
ปฏิบัติธรรมให้ถูกทาง
ผู้พิพากษาตั้งตุลา ใ ห้ สั ง ค ม ส ม ดุ ล
คติธรรมสั้นๆ
ภาษาธรรมวันละคำ
รู้เขา รู้เรา
พุทธโอวาทก่อนปรินิพพาน,
ความเป็นมาของการบวช
การทำวัตรสวดมนต์
ทำยังไงจึงจะมีอายุยืนและมีความสุข
พลังดันคน
ที่ทำงานของจิต
บรรลุธรรมอะไร?
พุทธปรัชญาในสุตตันตปิฎก
ธัมมาธิบาย
สวดมนต์
ความจน เ ป็ น ทุ ก ข์ ใ น โ ล ก
เรียนบาลีเพื่อรักษาพุทธพจน์
ศีล-ธรรมไม่มาโลกาจะพินาศ
หลักธรรมสำหรับผู้ยังไม่นับถือศาสนาใดๆ
ก่อนศึกษาพุทธธรรม
ภาค ๑. มัชเฌนธรรมเทศนา
ภาค ๒. มัชฌิมาปฏิปทา
ภาค ๓. อารยธรรมวิถี
วัฒนธรรมประเพณี
จารึกธรรม
สมาธิ,ฌาน
ถ้าหลักธรรมพุทธดีจริง คงไม่สูญจากชมพูทวีปว่าซั่น
ภาวะแห่งนิพพาน
ศีลกับเจตนารมณ์ทางสังคม
คุณค่าทางจริยธรรมของไตรลักษณ์
จงกรม ไม่ใช่ จงกลม
กรรมฐาน
สติปัฏฐาน
ศีลสำหรับประชาชน
วิธีการแห่งศรัทธา (ปรโตโฆสะที่ดี)
วิธีการแห่งปัญญา (โยนิโสมนสิการ)
ทางดำเนินชีวิตสายกลาง
คุณสมบัติบุคคลโสดาบัน
กาม
ความสุข
อริยสัจ ๔
ธรรมฉันทะ - ตัณหาฉันทะ
กรรม
เถรวาท VS ลัทธิอาจารย์
นิพพาน-อนัตตา ฉบับเพียงเพื่อไม่ประมาท
ภาวนา ๔ ภาวิต ๔
สมถะ,วิปัสสนา,เจโตวิมุตติ,ปัญญาวิมุตติ
อนัตตา
สมมุติ
ศีล-สีลัพพตปรามาส
นรก สวรรค์ ในพระไตรปิฎก
วันสำคัญของชาวพุทธไทย
<<
กรกฏาคม 2565
>>
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
22 กรกฏาคม 2565
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๑๑)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๑๐)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๙)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๘)
มงคล คาถาที่ ๖-๑๐
มงคล คาถาที่ ๑-๕
สัจจะกิริยา
แทรกเสริม
แทรกเสริม
ตำนานฉัททันต์ปริตร(จบ)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๑๓)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๑๒)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๑๑)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๑๐)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๙)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๘)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๗)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๖)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๕)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๔)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๓)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๒)
ตำนานฉัททันต์ปริตร
ฉัททันตะปริตร
เกี่ยวกับพาหุง(จบ)
บทพาหุง
บทถวายพรพระ
นักขัตยักษ์
ภวตุสัพ
มงคลจักรวาลใหญ่
สักกัตวา(จบ)
สักกัตวา
ชัยปริต
เทวตาอุยโยชนคาถา
อะภะยะปริตร
แทรกเสริม
โพชฌังคะปริตร
ตำนานอังคุลิมาลปริตร
องคุลิมาลปริตร
ตำนานโมรปริต
โมรปริต
ตำนานขันธะปริตร
ขันธะปริต
แทรกเสริม
ตำนานวัฏฏกปริต
วัฏฏะกะปริตร
ตำนานกรณียเมตตสูตร
กรณียเมตตสูตร
แทรกเสริม(สวดมนต์)
ตำนานรัตนสูตร
รัตนสูตร
ตำนานมงคลสูตร
มงคลสูตร
นโมการอัฏฐกคาถา
นะมะการะสิทธิคาถา
สัมพุทเธ
สามวิธีบวช
สรณคมน์
ระเบียบในการตั้งนะโม
???
ตั้งนะโม ๓ จบเสมอ
ปย.นมัสการพระ(๔)
ปย.นมัสการพระ(๓)
ปย.นมัสการพระ(๒)
ประโยชน์นมัสการพระ
ผู้ตั้งบทนมัสการ
การเรียงลำดับพระคุณ
แทรกเสริม
ตั้งนะโม(สัมมาสัมพุทธัสส)
ตั้งนะโม(อรหโต)
ตั้งนะโม
ชุมนุมเทวดา
แทรกเสริม
ไสยศาสตร์
อานิสงส์พระปริตร
ตำนานพระปริตร
พระปริตต์
องค์ประกอบพุทธศาสนา
สวดมนต์เรื่องใหญ่สวดกันทำไมต้องรู้ให้ชัด
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๘)
พรานโสณุดรเป็นคนมีกำลังแข็งแรงมาก
มีกำลังราวช้างสารสัก ๕ เชือกรวมกัน เพราะฉะนั้น จึงยกกระสอบบรรจุสิ่งของหนักกุมภะหนึ่งเบาหวิว เหมือนยกกระสอบใบพลูขึ้นสะพายแล่งยืนเฉย เหมือนไม่มีภาระอะไรที่ตนบรรทุกไว้เลย พระนางสบพระอัธยาศัยมาก ทรงเห็นสุบินของพระนางเป็นความจริงแน่นอน ประทานสิ่งของแก่ลูกๆของพรานโสณุดร และกราบทูลพระราชสามีให้ทรงทราบ จัดส่งพรานโสณุดรเดินทางไปทันที
พรานโสณุดร
ถวายบังคมลาพระราชาและพระนางสุภัททา ลงจากพระราชวังขึ้นรถที่จัดให้ มีผู้คนส่งมากมาย ออกจากพระนครเดินทางไปจนสุดราชอาณาเขต ก็ส่งรถกลับ เพราะสุดหนทางที่จะไปได้ บรรดาผู้คนที่ติดตามไปส่ง ก็กลับไปพร้อมกับรถ
โสณุดรพรานไพรเดินทางต่อไป พร้อมกับชาวบ้านป่าอันอยู่ที่ชายแดนนั้น จนเข้าแดนดงทึบพ้นถิ่นที่คนจะอยู่อาศัย จึงให้ชาวบ้านชายแดนนั้นกลับทั้งหมด เดินทางไปแต่ผู้เดียว ผ่านละเมาะไม้และป่าทึบออกจากป่าทึบถึงทุ่งหญ้า ป่าเลา ป่าไม้แดง ป่าแขม ป่าไม้แก่น ผ่านไพรชัฏ ถึงดงหนามอันยากที่จะผ่านไปได้ เพราะล้วนแต่ต้นไม้มีหนาม เป็นซุ้มเป็นเชิงคือป่าหวาย แต่โสณุดร ผู้แสนทรหดคงผ่านไปได้ พ้นป่าหวายป่าหนาม ก็ถึงป่าไม้เบญจพรรณ เป็นที่ลุ่มเป็นหนองโคลน มีไม้อ้อขึ้นทึบ ถัดป่าอ้อก็เป็นป่าพงแขมขึ้นกันแน่นทึบ ความทึบของป่าตอนนี้ แม้แต่งูก็ไม่สามารถจะเลื้อยผ่านไปได้ พ้นจากนั้นก็ถึงป่าไม้สามัญ
โสณุดร เดินทางด้วยความลำบากยิ่ง พ้นจากป่าสามัญ ก็ถึงดงไผ่ขึ้นหนาทึบ ผ่านดงไผ่ ก็ถึงหนองซึ่งมีโคลนตมและหนองน้ำ เขาพยายามช่วยตัวเองทุกประการ เพื่อผ่านทางอันแสนทุรกันดารไปให้จงได้ เครื่องอุปกรณ์ต่างๆ ที่เตรียมมาเขาได้ใช้ให้เป็นประโยชน์เต็มที่ ทุ่งหญ้าหนาทึบก็แพ้เคียวของเขา ต้นไม้ใหญ่ก็ใช้เลื่อยใช้ขวานตัด บางแห่งก็เจาะเป็นทางเดินผ่านไป ที่เป็นป่าไผ่เกินกำลังถาง ก็ทำพะองพาดปีนขึ้นไป แล้วลงอีกทางหนึ่ง หรือไม่ก็ไต่ไปตามไผ่ ถึงตอนที่เป็นหนองหล่ม ก็ตัดไม้ทำเป็นขอนทอดผ่านไปเป็นทอดๆที่เป็นหนองน้ำก็ทำเรือโกลนข้ามไป เป็นการเดินทางอันแสนทุรกันดารของเขา ที่ต้องผ่านภูเขาอันสูงชัน ก็เอาเชือกผูกสามง่ามขว้างขึ้นไปติดยอดเขาแล้วโหนขึ้นไปตามเชือกจนถึงยอดเขาสำเร็จ
ถ้าสูงชันมาก
ก็ใช้ทอยเหล็กเจาะลงในหิน แล้วก็เหนี่ยวปีนขึ้นไป บางตอนทางหนึ่งเป็นชะง่อนผาไม่สามารถจะใช้เชือกผูกหลักไต่ลงไปได้ ต้องใช้ร่มหนังกางพยุงตัวโดดลงไป
เทือกเขาที่โสณุดรต้องข้ามไปนั้นมีถึง ๗ ลูก จึงมองเห็น
สุวรรณปัสสคิรี
อันสูงเยี่ยมเทียมเมฆ
เมื่อเขาได้เห็นขุนเขาใหญ่เยี่ยมแล้วก็คิดว่า “คงเป็นภูเขานี้แน่นอน ตามที่พระนางสุภัททามีพระเสาวนีย์ชี้แจง” เขาพยายามปีนป่ายขึ้นไปจนถึงยอดเขาอันเป็นที่อยู่ของฝูงกินนร แล้วทอดสายตาลงไปเบื้องล่างเชิงเขา ก็ได้เห็นต้นไทรใหญ่มหึมา ใบเขียวชอุ่มเหมือนกลุ่มเมฆ มีย่านไทรหยั่งย้อยห้อยลงตั้งแปดพัน ภายใต้ร่มไทรนั้น เขาได้เห็นพญาฉัททันต์ยืนตระหง่าน สีกายขาวผ่อง งามีรัศมี ๖ ประการ ยากที่หมอควาญจะจับคล้องได้ โขลงช้างมากมายประมาณ ๘,๐๐๐ เชือก มีงางดงาม วิ่งเร็วปานลมพัดแวดล้อมรักษา มองผ่านต้นไทรไปก็เห็นสระใหญ่คือสระฉัททันต์ อันเป็นที่อาบเล่นของพญาฉัททันต์และบริวาร มีท่าขึ้นลงสะดวกสบายทั้งน้ำก็มีมากตลอดปี ไม่แห้งขอด มีพรรณดอกไม้นานาชนิด ทั้งประทุมและอุบลกำลังมีดอกบานสะพรั่ง แมลงภู่แมลงผึ้งบินวู่ว่อนเป็นกลุ่มๆ
Create Date : 22 กรกฎาคม 2565
Last Update : 22 กรกฎาคม 2565 7:53:07 น.
1 comments
Counter : 422 Pageviews.
Share
Tweet
ผู้โหวตบล็อกนี้...
คุณหอมกร
เป็นวิบากกรรมของพระโพธิสัตว์ด้วย
โดย:
หอมกร
วันที่: 22 กรกฎาคม 2565 เวลา:9:46:51 น.
ชื่อ :
* blog นี้ comment ได้เฉพาะสมาชิก
Comment :
*ส่วน comment ไม่สามารถใช้ javascript และ style sheet
BlogGang Popular Award#20
สมาชิกหมายเลข 6393385
Location :
[ดู Profile ทั้งหมด]
ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
ผู้ติดตามบล็อก : 9 คน [
?
]
Webmaster - BlogGang
[Add สมาชิกหมายเลข 6393385's blog to your web]
Bloggang.com