กรรมเก่า คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ.เป็นเจ้าบทบาทเดิม จากนั้น การศึกษาอาศัยปรโตโฆสะ ซึ่งมีคติว่า "คนเป็นไปตามสภาพแวดล้อมที่ปรุงปั้น" และโยนิโสมนสิการ ซึ่งมีคติย้อนกลับว่า "ถ้าเป็นคนรู้จักคิด แม้แต่ฟังคนบ้าคนเมาพูด ก็อาจสำเร็จเป็นพระอรหันต์"
บุญ
ข้อธรรมะที่ถาม,ถกเถียงกันบ่อย
หลักปฏิบัติ
สภาวธรรม
ปฏิบัติธรรมให้ถูกทาง
ผู้ พิ พ า ก ษ า ตั้ ง ตุ ลา ใ ห้ สั ง ค ม ส ม ดุ ล
คติธรรมสั้นๆ
ภาษาธรรมวันละคำ
รู้เขา รู้เรา
คำพูดของคนใกล้สิ้นลม
ความเป็นมาของการบวช
การทำวัตรสวดมนต์
ทำยังไงจึงจะมีอายุยืนและมีความสุข
นิพพาน-อนัตตา ฉบับเพียงเพื่อไม่ประมาท
พลังดันคน
ที่ทำงานของจิต
บรรลุธรรมอะไร?
พุทธปรัชญาในสุตตันตปิฎก
ธัมมาธิบาย
สวดมนต์
ค ว า ม จ น เ ป็ น ทุ ก ข์ ใ น โ ล ก
เรียนบาลีเพื่อรักษาพุทธพจน์
ศีล-ธรรมไม่มาโลกาจะพินาศ
หลักธรรมสำหรับผู้ยังไม่นับถือศาสนาใดๆ
วันแห่งความรัก.
ก่อนศึกษาพุทธธรรม
ภาค ๑. มัชเฌนธรรมเทศนา
ภาค ๒. มัชฌิมาปฏิปทา
ภาค ๓. อารยธรรมวิถี
วัฒนธรรมประเพณีก็สำคัญ
<<
กรกฏาคม 2565
>>
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
12 กรกฏาคม 2565
มงคลสูตร
นโมการอัฏฐกคาถา
นะมะการะสิทธิคาถา
ขัดขวางผู้อื่นทำสิ่งดีงาม บาป
???
มงคล คาถาที่ ๖-๑๐
มงคล คาถาที่ ๑-๕
สัจจะกิริยา
แทรกเสริม
แทรกเสริม
ตำนานฉัททันต์ปริตร(จบ)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๑๓)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๑๒)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๑๑)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๑๐)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๙)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๘)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๗)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๖)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๕)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๔)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๓)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๒)
ตำนานฉัททันต์ปริตร
ฉัททันตะปริตร
เกี่ยวกับพาหุง(จบ)
บทพาหุง
บทถวายพรพระ
นักขัตยักษ์
ภวตุสัพ
มงคลจักรวาลใหญ่
สักกัตวา(จบ)
สักกัตวา
ชัยปริต
เทวตาอุยโยชนคาถา
อะภะยะปริตร
แทรกเสริม
โพชฌังคะปริตร
ตำนานอังคุลิมาลปริตร
องคุลิมาลปริตร
ตำนานโมรปริต
โมรปริต
ตำนานขันธะปริตร
ขันธะปริต
แทรกเสริม
ตำนานวัฏฏกปริต
วัฏฏะกะปริตร
ตำนานกรณียเมตตสูตร
กรณียเมตตสูตร
แทรกเสริม(สวดมนต์)
ตำนานรัตนสูตร
รัตนสูตร
ตำนานมงคลสูตร
มงคลสูตร
นโมการอัฏฐกคาถา
นะมะการะสิทธิคาถา
สัมพุทเธ
สามวิธีบวช
สรณคมน์
ระเบียบในการตั้งนะโม
???
ตั้งนะโม ๓ จบเสมอ
ปย.นมัสการพระ(๔)
ปย.นมัสการพระ(๓)
ปย.นมัสการพระ(๒)
ประโยชน์นมัสการพระ
ผู้ตั้งบทนมัสการ
การเรียงลำดับพระคุณ
แทรกเสริม
ตั้งนะโม(สัมมาสัมพุทธัสส)
ตั้งนะโม(อรหโต)
ตั้งนะโม
ชุมนุมเทวดา
แทรกเสริม
ไสยศาสตร์
อานิสงส์พระปริตร
ตำนานพระปริตร
พระปริตต์
องค์ประกอบพุทธศาสนา
สวดมนต์เรื่องใหญ่สวดกันทำไมต้องรู้ให้ชัด
นะมะการะสิทธิคาถา
นะมะการะสิทธิคาถา
โย จกฺขุมา โหมลาปกฏฺโฐ
สามํ ว พุทฺโธ สุคโต วิมุตฺโต
มารสฺส ปาสา วินิโมจยนฺโต
ปาเปสิ เขมํ ชนตํ วิเนยฺยํ
ฯลฯ
คำแปลทั้งหมด
.
พระพุทธเจ้าพระองค์ใด
มีพระปัญญาจักษุ ขจัดมลทินคือโมหะเสียได้ ตรัสรู้แล้ว เป็นผู้เสด็จไปดี ทรงหลุดพ้นพิเศษด้วยพระองค์เองแล้ว ทรงช่วยชุมนุมชนอันเป็นเวไนยให้พ้นจากบ่วงแห่งมาร ให้บรรลุถึงความเกษมด้วย
ข้าพเจ้าขอนอบน้อมด้วยเศียรเกล้า ซึ่งพระพุทธเจ้าผู้ประเสริฐพระองค์นั้น ผู้เป็นที่พึ่ง และเป็นผู้นำวิเศษของโลก ด้วยเดชแห่งพระพุทธเจ้าพระองค์นั้น ขอความสวัสดีมีชัย และความสำเร็จจงมีแด่ท่าน และขออันตรายทั้งปวงจึงถึงความพินาศไป
พระธรรมเจ้า
ใด เป็นประดุจธงชัยของพระศาสดาพระองค์นั้น ชี้ทางความบริสุทธิ์แก่ชาวโลก เป็นประดุจนำสัตว์ออกไปจากทุกข์ คุ้มครองผู้ทรงธรรม บุคคลประพฤติดีแล้ว นำความสุขใจมาให้ ทำให้ได้รับความสงบ
ข้าพเจ้าขอนอบน้อมด้วยเศียรเกล้า ซึ่งพระธรรมประเสริฐนั้น อันทำลายเสียได้ซึ่งโมหะ เป็นคุณระงับความเร่าร้อนได้สนิท ด้วยเดชแห่งพระธรรมเจ้าพระองค์นั้น ขอความมีชัย และความสำเร็จจงมีแด่ท่าน และขออันตรายทั้งปวงจึงถึงความพินาศไป
พระสงฆเจ้า
ใด เป็นธรรมเสนา ดำเนินตามพระสุคตเจ้า กำหราบเสียได้ซึ่งเหล่าบาป และอุปกิเลสแห่งโลก เป็นผู้สงบเองด้วย ชักนำผู้อื่นในความสงบด้วย เผยแผ่พระธรรมที่พระพุทธเจ้าตรัสดีแล้ว
ข้าพเจ้าขอนอบน้อมด้วยเศียรเกล้า ซึ่งพระสงฆเจ้าผู้ประเสริฐนั้น รู้ตามพระพุทธเจ้า มีศีลและความเห็นเสมอกัน ด้วยเดชแห่งพระสงฆเจ้านั้น ขอความสวัสดีมีชัย และความสำเร็จจงมีแด่ท่าน และขออันตรายทั้งปวงจึงถึงความพินาศไป ฯ
หมายเหตุ. บท
สัมพุทเธ
และบท
นมการสิทธิคาถา
แต่ละบทสวดต่อจากสรณคมน์ โบราณใช้
สัมพุทเธ
ตลอด ไม่ทราบว่าท่านผู้ใดรจนาในครั้งใด ยุคเฟื้องบาลีครั้งก่อน ก็เห็นจะในรัชการสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สัมพุทเธ
อาจจะรจนาในยุคนั้น พร้อมๆกันกับ
มงคลจักรวาลใหญ่ มงคลจักรวาลน้อย
และ
พาหุง
ฯลฯ
ใจความของบท
สัมพุทเธอ
ก็คือ นมัสการพระพุทธเจ้า ซึ่งมีจำนวนมากมายนักหนาในปางอดีต คือ หมายความว่าใน
กัลป์ ที่ล่วงๆแล้วไม่รู้ว่ากี่อสงไขย
มีพระพุทธเจ้าเคยมาตรัสรู้แล้ว ปรินิพพานไปมากล้นพ้นที่จะประมาณ นมัสการมากองค์ทำให้มีความรู้สึกว่าจะได้รับอานุภาพมากๆ เข้าช่วยป้องกันภัยอันตรายเช่นนั้นกระมัง
ครั้นต่อมา การศึกษาทางพระพุทธศาสนาในยุครัตนโกสินทร์เฟื่องฟูขึ้น ท่านเห็นว่า บท
สัมพุทเธ
นั้น แต่งขึ้นตามคติข้างมหายาน ไม่น่าศรัทา สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส จึงได้นิพนธ์นมการสิทธิคาถาขึ้นใหม่ โปรดให้ใช้สวดแทนบทสัมพุทเธ แต่บางแห่งพระยังคงสวด
สัมพุทเธ
อยู่ก็มี
กิจเจ้าภาพ ระหว่างที่พระสวด บทสัมพุทเธ หรือนมการสิทธิคาถา บทใดบทหนึ่งนี้ เจ้าภาพไม่ต้องทำอะไร คงนั่งประนมมือฟังเรื่อยไป
Create Date : 12 กรกฎาคม 2565
Last Update : 12 กรกฎาคม 2565 5:19:51 น.
0 comments
Counter : 339 Pageviews.
Share
Tweet
ชื่อ :
* blog นี้ comment ได้เฉพาะสมาชิก
Comment :
*ส่วน comment ไม่สามารถใช้ javascript และ style sheet
BlogGang Popular Award#19
สมาชิกหมายเลข 6393385
Location :
[ดู Profile ทั้งหมด]
ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
ผู้ติดตามบล็อก : 9 คน [
?
]
Webmaster - BlogGang
[Add สมาชิกหมายเลข 6393385's blog to your web]
Bloggang.com