กรรมเก่า คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ.เป็นเจ้าบทบาทเดิม จากนั้น การศึกษาอาศัยปรโตโฆสะ ซึ่งมีคติว่า "คนเป็นไปตามสภาพแวดล้อมที่ปรุงปั้น" และโยนิโสมนสิการ ซึ่งมีคติย้อนกลับว่า "ถ้าเป็นคนรู้จักคิด แม้แต่ฟังคนบ้าคนเมาพูด ก็อาจสำเร็จเป็นพระอรหันต์"
บุญ
ข้อธัมม์ที่ถาม-เถียงกันบ่อย
หลักปฏิบัติ
สภาวธรรม
ปฏิบัติธรรมให้ถูกทาง
ผู้พิพากษาตั้งตุลา ใ ห้ สั ง ค ม ส ม ดุ ล
คติธรรมสั้นๆ
ภาษาธรรมวันละคำ
รู้เขา รู้เรา
พุทธโอวาทก่อนปรินิพพาน,
ความเป็นมาของการบวช
การทำวัตรสวดมนต์
ทำยังไงจึงจะมีอายุยืนและมีความสุข
พลังดันคน
ที่ทำงานของจิต
บรรลุธรรมอะไร?
พุทธปรัชญาในสุตตันตปิฎก
ธัมมาธิบาย
สวดมนต์
ความจน เ ป็ น ทุ ก ข์ ใ น โ ล ก
เรียนบาลีเพื่อรักษาพุทธพจน์
ศีล-ธรรมไม่มาโลกาจะพินาศ
หลักธรรมสำหรับผู้ยังไม่นับถือศาสนาใดๆ
ก่อนศึกษาพุทธธรรม
ภาค ๑. มัชเฌนธรรมเทศนา
ภาค ๒. มัชฌิมาปฏิปทา
ภาค ๓. อารยธรรมวิถี
วัฒนธรรมประเพณี
จารึกธรรม
สมาธิ,ฌาน
ถ้าหลักธรรมพุทธดีจริง คงไม่สูญจากชมพูทวีปว่าซั่น
ภาวะแห่งนิพพาน
ศีลกับเจตนารมณ์ทางสังคม
คุณค่าทางจริยธรรมของไตรลักษณ์
จงกรม ไม่ใช่ จงกลม
กรรมฐาน
สติปัฏฐาน
ศีลสำหรับประชาชน
วิธีการแห่งศรัทธา (ปรโตโฆสะที่ดี)
วิธีการแห่งปัญญา (โยนิโสมนสิการ)
ทางดำเนินชีวิตสายกลาง
คุณสมบัติบุคคลโสดาบัน
กาม
ความสุข
อริยสัจ ๔
ธรรมฉันทะ - ตัณหาฉันทะ
กรรม
เถรวาท VS ลัทธิอาจารย์
นิพพาน-อนัตตา ฉบับเพียงเพื่อไม่ประมาท
ภาวนา ๔ ภาวิต ๔
สมถะ,วิปัสสนา,เจโตวิมุตติ,ปัญญาวิมุตติ
อนัตตา
สมมุติ
ศีล-สีลัพพตปรามาส
นรก สวรรค์ ในพระไตรปิฎก
วันสำคัญของชาวพุทธไทย
วิธีฝึกหูทิพย์ ตาทิพย์
ลำดับญาณ,ทวนญาณ
ความสำคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะ ศ.ประจำชาติ
<<
กรกฏาคม 2565
>>
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
17 กรกฏาคม 2565
แทรกเสริม
โพชฌังคะปริตร
ตำนานอังคุลิมาลปริตร
องคุลิมาลปริตร
มงคล คาถาที่ ๖-๑๐
มงคล คาถาที่ ๑-๕
สัจจะกิริยา
แทรกเสริม
แทรกเสริม
ตำนานฉัททันต์ปริตร(จบ)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๑๓)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๑๒)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๑๑)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๑๐)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๙)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๘)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๗)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๖)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๕)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๔)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๓)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๒)
ตำนานฉัททันต์ปริตร
ฉัททันตะปริตร
เกี่ยวกับพาหุง(จบ)
บทพาหุง
บทถวายพรพระ
นักขัตยักษ์
ภวตุสัพ
มงคลจักรวาลใหญ่
สักกัตวา(จบ)
สักกัตวา
ชัยปริต
เทวตาอุยโยชนคาถา
อะภะยะปริตร
แทรกเสริม
โพชฌังคะปริตร
ตำนานอังคุลิมาลปริตร
องคุลิมาลปริตร
ตำนานโมรปริต
โมรปริต
ตำนานขันธะปริตร
ขันธะปริต
แทรกเสริม
ตำนานวัฏฏกปริต
วัฏฏะกะปริตร
ตำนานกรณียเมตตสูตร
กรณียเมตตสูตร
แทรกเสริม(สวดมนต์)
ตำนานรัตนสูตร
รัตนสูตร
ตำนานมงคลสูตร
มงคลสูตร
นโมการอัฏฐกคาถา
นะมะการะสิทธิคาถา
สัมพุทเธ
สามวิธีบวช
สรณคมน์
ระเบียบในการตั้งนะโม
???
ตั้งนะโม ๓ จบเสมอ
ปย.นมัสการพระ(๔)
ปย.นมัสการพระ(๓)
ปย.นมัสการพระ(๒)
ประโยชน์นมัสการพระ
ผู้ตั้งบทนมัสการ
การเรียงลำดับพระคุณ
แทรกเสริม
ตั้งนะโม(สัมมาสัมพุทธัสส)
ตั้งนะโม(อรหโต)
ตั้งนะโม
ชุมนุมเทวดา
แทรกเสริม
ไสยศาสตร์
อานิสงส์พระปริตร
ตำนานพระปริตร
พระปริตต์
องค์ประกอบพุทธศาสนา
สวดมนต์เรื่องใหญ่สวดกันทำไมต้องรู้ให้ชัด
ตำนานอังคุลิมาลปริตร
ตำนานอังคุลิมาลปริต
ปริตนี้คัดมาจากองคุลิมาลสูตร
ในมัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก มีเรื่องเล่าไว้ในอรรถกถาเฉพาะความตอนนี้ว่า จำเดิมแต่พระองคุลิมาลบวชแล้ว ท่านลำบากด้วยการบิณฑบาต เพราะประชาชนยังหวาดกลัวท่านอยู่มาก พอทราบว่าท่านมา ต่างคนต่างหนี บางพวกขึ้นเรือนปิดประตู บางพวกหนีออกหลังบ้านไป พวกที่หนีไม่ได้ เพราะความชราหรือทุพพลภาพ ก็นั่งหันหลังให้
พระเถระจึงไม่ได้อาหาร เมื่อไม่ได้ภายนอกพระนคร จึงเข้าไปภายในพระนคร ด้วยคิดว่าในเมืองมีประชาชนหนาแน่น ทั้งสับสนปนคละ คงมีคนที่ไม่รู้จักอยู่บ้าง ถึงอย่างนั้น พอข่าวแพร่ไปว่าพระองคุลิมาลมาแล้ว ประชาชนก็แตกตื่นกันอีก
ท่านได้พบหญิงมีครรภ์แก่คนหนึ่ง เจ็บครรภ์แต่คลอดไม่ได้ เนื่องด้วยครรภ์หลง คือ (ครรภ์ขัด) เจ็บปวดครวญครางอยู่ ชะรอยจะเป็นทำนองว่า หญิงผู้นี้มีครรภ์แก่จะคลอด ออกมาใส่บาตรหรือออกมาด้วยธุรกิจอย่างใดอย่างหนึ่ง ตกใจกลัวพระเถระ เพราะฤทธิ์แห่งความตกใจ เป็นเหตุให้เกิด
กัมมัชวาต
ขึ้น แต่ทารกยังขัดคลอดไม่ได้
พระเถระเห็นแล้ว ให้รู้สึกสงสารเป็นกำลัง ใคร่จะช่วยให้พ้นจากทุกข์อันนั้น แต่มิรู้ที่จะช่วยอย่างไร ครั้นท่านกลับมาเวฬุวนาราม ได้เล่าเรื่องนี้ถวายพระพุทธเจ้า พร้อมทั้งกราบทูลความในใจของท่านด้วย
พระพุทธเจ้าจึงรับสั่งว่า “ถ้าเช่นนั้น เธอจงกลับไปที่หญิงคนนั้น แล้วจงทำ
สัจจกิริยา
กล่าวกะนางอย่างนี้ว่า “
ยโตหํ ภคินิ ชาโต นาภิชานามิ สญฺจิจฺจ ปาณํ ชีวิตา โวโรเปตา เตน สจฺเจน โสตฺถิ เต โหตุ โสตฺถิ คพฺภสฺส
” แปลว่า “ดูก่อนน้องหญิง จำเดิมแต่อาตมาเกิดแล้ว มิได้รู้สึกว่าจงใจทำลายชีวิตสัตว์เลย ด้วยความจริงนั้น ขอความสวัสดีจงมีแก่เจ้า ขอความสวัสดีจงมีแก่ครรภ์ของเจ้าเถิด”
พระเถระฟังพระดำรัสแล้ว มีความข้องใจจึงกราบทูลว่า “จะมิเป็นมุสาวาทหรือ พระเจ้าข้า ข้าพระองค์ตั้งแต่เกิดมานี้ ฆ่าสัตว์มากมายนัก”
จึงรับสั่ง
ว่า “ถ้าอย่างนั้น จงกล่าวเสียใหม่ว่า ...
อริยาย ชาติยา ชาโต
...” แปลว่า “... เกิดแล้วในชาติอริยะ....
(คือหมายความว่า
ตั้งแต่บวชแล้วมา
)
...”
พระเถระหายข้องใจ รับพระดำรัสแล้ว จึงกลับไปที่หญิงผู้นั้นเพื่อทำ
สัจจกิริยา
ชาวบ้านทราบความประสงค์ของท่าน ได้จัดการวงม่านให้หญิงผู้นั้นอยู่ในม่าน และถวายตั้งให้พระเถระนั่งอยู่นอกม่าน กับบอกให้หญิงผู้นั้นรู้ตัวว่า บัดนี้ พระเถระมาเพื่อทำความสวัสดีให้
ครั้นแล้ว พระเถระก็ทำสัจจกิริยา ตามนัยพระพุทธภาษิตที่ตรัสสอนนั้น พอท่านกล่าวจบ ทารกก็คลอด การคลอดนั้นง่าย คล้ายกับน้ำที่ไหลออกจากธัมกรก (กระบอกกรองน้ำ) มีความสบายทั้งมารดาและบุตร
ชาวบ้านเห็นเป็นความศักดิ์สิทธิ์ จึงสงวนตั่งที่ถวายให้พระเถระนั่งไว้ ไม่เอาไปใช้ในกิจการอื่นๆ ถ้าหญิงคนไหนคลอดบุตรยาก ก็พามาที่ตั่งตัวนั้น คือ ใช้ตั่งตัวนั้นเป็นที่ทำคลอด การคลอดก็สะดวกดี และมีความผาสุกทั้งมารดาและบุตร
ส่วนผู้ที่มาไม่ได้ ก็ใช้น้ำล้างตั่งตัวนั้น แล้วนำน้ำนั่นไปรดศีรษะ การคลอดก็เรียบร้อย มีความสวัสดีทั้งมารดาและบุตร
เมื่อตั่งตัวนั้น กลายเป็นตั่งศักดิ์สิทธิ์แล้ว ชาวบ้านก็ขยายเขตการช่วยเหลือออกไปถึงสัตว์เลี้ยงด้วย ถ้าสัตว์ตัวไหนออกลูกยาก นำมาที่ตั่งตัวนั้นเป็นตกได้โดยสะดวก เพราะเหตุที่เป็นผู้เคยแต่ทำลายชีวิตเขา มากลายเป็นผู้ช่วยชุบชีวิตคนและสัตว์ไปเช่นนี้ เป็นผลให้ประชาชนหายกลัวในพระเถระ
ท่านก็บิณฑบาตได้สะดวก ไม่ลำบากเหมือนแต่ก่อน เมื่อท่านได้อาหารพอเพียง จิตก็ระงับ ทำให้บำเพ็ญสมณธรรมสะดวกขึ้น ในที่สุดท่านก็ได้บรรลุอรหัตผล เป็นพระอรหันต์องค์หนึ่งในพระพุทธศาสนา
หมายเหตุ:
พระปริตบทนี้ มีเนื้อความสั้น เพราะเป็นบทสัจจกิริยา บทสวดจึงสั้นไปด้วย ดังนั้น ในสิบสองตำนาน พระอาจารย์แต่เก่าก่อนจึงแนะให้
สวดซ้ำให้ครบ ๓ คาบ
เพื่อให้มีน้ำหนัก เห็นว่าเป็นการทำสัจจกิริยาหนักแน่นจริงจัง คือสวดดังนี้
ยโตหํ ภคินิ ฯเปฯ โสตฺถิ คพฺภสฺส จนครง ๓ ครั้ง
ข้อที่เป็น
คติในพระปริต
บทนี้ ก็คือ “ถึงร้ายกาจขนาดหนัก แต่ยังรู้จักดี ก็อาจกลับตัวเป็นคนดีได้”
Create Date : 17 กรกฎาคม 2565
Last Update : 17 กรกฎาคม 2565 12:19:16 น.
0 comments
Counter : 445 Pageviews.
Share
Tweet
ชื่อ :
* blog นี้ comment ได้เฉพาะสมาชิก
Comment :
*ส่วน comment ไม่สามารถใช้ javascript และ style sheet
BlogGang Popular Award#20
สมาชิกหมายเลข 6393385
Location :
[ดู Profile ทั้งหมด]
ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
ผู้ติดตามบล็อก : 9 คน [
?
]
Webmaster - BlogGang
[Add สมาชิกหมายเลข 6393385's blog to your web]
Bloggang.com