กรรมเก่า คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ.เป็นเจ้าบทบาทเดิม จากนั้น การศึกษาอาศัยปรโตโฆสะ ซึ่งมีคติว่า "คนเป็นไปตามสภาพแวดล้อมที่ปรุงปั้น" และโยนิโสมนสิการ ซึ่งมีคติย้อนกลับว่า "ถ้าเป็นคนรู้จักคิด แม้แต่ฟังคนบ้าคนเมาพูด ก็อาจสำเร็จเป็นพระอรหันต์"
บุญ
ข้อธัมม์ที่ถาม-เถียงกันบ่อย
หลักปฏิบัติ
สภาวธรรม
ปฏิบัติธรรมให้ถูกทาง
ผู้พิพากษาตั้งตุลา ใ ห้ สั ง ค ม ส ม ดุ ล
คติธรรมสั้นๆ
ภาษาธรรมวันละคำ
รู้เขา รู้เรา
พุทธโอวาทก่อนปรินิพพาน,
ความเป็นมาของการบวช
การทำวัตรสวดมนต์
ทำยังไงจึงจะมีอายุยืนและมีความสุข
พลังดันคน
ที่ทำงานของจิต
บรรลุธรรมอะไร?
พุทธปรัชญาในสุตตันตปิฎก
ธัมมาธิบาย
สวดมนต์
ความจน เ ป็ น ทุ ก ข์ ใ น โ ล ก
เรียนบาลีเพื่อรักษาพุทธพจน์
ศีล-ธรรมไม่มาโลกาจะพินาศ
หลักธรรมสำหรับผู้ยังไม่นับถือศาสนาใดๆ
ก่อนศึกษาพุทธธรรม
ภาค ๑. มัชเฌนธรรมเทศนา
ภาค ๒. มัชฌิมาปฏิปทา
ภาค ๓. อารยธรรมวิถี
วัฒนธรรมประเพณี
จารึกธรรม
สมาธิ,ฌาน
ถ้าหลักธรรมพุทธดีจริง คงไม่สูญจากชมพูทวีปว่าซั่น
ภาวะแห่งนิพพาน
ศีลกับเจตนารมณ์ทางสังคม
คุณค่าทางจริยธรรมของไตรลักษณ์
จงกรม ไม่ใช่ จงกลม
กรรมฐาน
สติปัฏฐาน
ศีลสำหรับประชาชน
วิธีการแห่งศรัทธา (ปรโตโฆสะที่ดี)
วิธีการแห่งปัญญา (โยนิโสมนสิการ)
ทางดำเนินชีวิตสายกลาง
คุณสมบัติบุคคลโสดาบัน
กาม
ความสุข
อริยสัจ ๔
ธรรมฉันทะ - ตัณหาฉันทะ
กรรม
เถรวาท VS ลัทธิอาจารย์
นิพพาน-อนัตตา ฉบับเพียงเพื่อไม่ประมาท
ภาวนา ๔ ภาวิต ๔
สมถะ,วิปัสสนา,เจโตวิมุตติ,ปัญญาวิมุตติ
อนัตตา
สมมุติ
ศีล-สีลัพพตปรามาส
นรก สวรรค์ ในพระไตรปิฎก
วันสำคัญของชาวพุทธไทย
วิธีฝึกหูทิพย์ ตาทิพย์
ลำดับญาณ,ทวนญาณ
ความสำคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะ ศ.ประจำชาติ
<<
กรกฏาคม 2565
>>
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
18 กรกฏาคม 2565
มงคลจักรวาลใหญ่
สักกัตวา(จบ)
สักกัตวา
ชัยปริต
เทวตาอุยโยชนคาถา
อะภะยะปริตร
มงคล คาถาที่ ๖-๑๐
มงคล คาถาที่ ๑-๕
สัจจะกิริยา
แทรกเสริม
แทรกเสริม
ตำนานฉัททันต์ปริตร(จบ)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๑๓)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๑๒)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๑๑)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๑๐)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๙)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๘)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๗)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๖)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๕)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๔)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๓)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๒)
ตำนานฉัททันต์ปริตร
ฉัททันตะปริตร
เกี่ยวกับพาหุง(จบ)
บทพาหุง
บทถวายพรพระ
นักขัตยักษ์
ภวตุสัพ
มงคลจักรวาลใหญ่
สักกัตวา(จบ)
สักกัตวา
ชัยปริต
เทวตาอุยโยชนคาถา
อะภะยะปริตร
แทรกเสริม
โพชฌังคะปริตร
ตำนานอังคุลิมาลปริตร
องคุลิมาลปริตร
ตำนานโมรปริต
โมรปริต
ตำนานขันธะปริตร
ขันธะปริต
แทรกเสริม
ตำนานวัฏฏกปริต
วัฏฏะกะปริตร
ตำนานกรณียเมตตสูตร
กรณียเมตตสูตร
แทรกเสริม(สวดมนต์)
ตำนานรัตนสูตร
รัตนสูตร
ตำนานมงคลสูตร
มงคลสูตร
นโมการอัฏฐกคาถา
นะมะการะสิทธิคาถา
สัมพุทเธ
สามวิธีบวช
สรณคมน์
ระเบียบในการตั้งนะโม
???
ตั้งนะโม ๓ จบเสมอ
ปย.นมัสการพระ(๔)
ปย.นมัสการพระ(๓)
ปย.นมัสการพระ(๒)
ประโยชน์นมัสการพระ
ผู้ตั้งบทนมัสการ
การเรียงลำดับพระคุณ
แทรกเสริม
ตั้งนะโม(สัมมาสัมพุทธัสส)
ตั้งนะโม(อรหโต)
ตั้งนะโม
ชุมนุมเทวดา
แทรกเสริม
ไสยศาสตร์
อานิสงส์พระปริตร
ตำนานพระปริตร
พระปริตต์
องค์ประกอบพุทธศาสนา
สวดมนต์เรื่องใหญ่สวดกันทำไมต้องรู้ให้ชัด
เทวตาอุยโยชนคาถา
เทวตาอุยโยชนคาถา
ทุกฺขปฺปตฺตา จ นิทฺทุกฺขา ภยปฺปตฺตา จ นิพฺภยา
โสกปฺปตฺตา จ นิสฺโสกา โหนฺตุ สพฺเพปิ ปาณิโน
ฯลฯ
คำแปลทั้งหมด:
ขอสัตว์ทั้งปวงที่ประสบทุกข์ จงหมดทุกข์ ที่ประสบภัย จงปราศจากภัย ที่ประสบความโสก จงสร่างโศก เทอญ
ขอเทวดาทั้งปวงจงอนุโมทนาบุญสมบัติที่ข้าพเจ้าทั้งหลายสร้างสมแล้วเพียงเท่านี้ เพื่อความสำเร็จแห่งสมบัติทั้งปวงเถิด
ขอเทวดาทั้งหลายจงให้ทานรักษาศีลบำเพ็ญภาวนา ด้วยศรัทธาทุกเมื่อ เทวดาที่มาชุมนุม ณ พิธีมณฑลนี้ ขอเชิญกลับเถิด
ข้าพเจ้าผูกการคุ้มเกรงรักษาไว้ทุกประการ ด้วยเดชแห่งพระกำลังของพระพุทธเจ้าทั้งปวงผู้ทรงพระกำลังด้วยเดชแห่งกำลัง ของพระปัจเจกพุทธเจ้าทั้งหลาย และด้วยเดชแห่งกำลังของพระอรหันต์ทั้งหลายด้วย
หมายเหตุ
เทวตาอุยโยชนคาถา แปลว่า คาถาส่งเทวดา หมายความว่า เชิญมาตั้งแต่เริ่มเจริญพระปริต เมื่อใกล้จะจบก็เชิญกลับ
ความในคาถานี้ แผ่เมตตากรุณาในตอนต้น แล้วเชิญเทวดาอนุโมทนาบุญในตอนต่อมา ลงท้ายชวนเทวดาให้ทำบุญบ้าง แล้วเชิญให้กลับ ต่อจากนั้น ขอกำลังพระพุทธเจ้า พระปัจเจกพุทธเจ้า และพระอรหันต์ทั้งหลายคุ้มครอง
การสวดคาถาส่งเทวดานี้
ต้องสวดทุกครั้งที่การชุมนุมเทวดา
และสวดเป็น ๒ ระยะ คือ
ขึ้น
ทุกฺขปฺปตฺตา
ลง
คจฺฉนฺตุ เทวตาคตา
ระยะ ๑
ขึ้น
สพฺเพ พุทฺธา พลปฺปตฺตา
ลง
รกฺขํ พนฺธามิ สพฺพโส
ระยะ ๑
ถ้าเป็นการ
สวดมนต์ฉันเช้า
หรือ
ฉันเพล
เมื่อ
จบคาถาส่งเทวดา
นี้แล้ว ก็สวดถวายพรพระ คือ
พาหุง ต่อไปเลย
ถ้าเป็น
สวดมนต์เย็น
หรือ
สวดไม่มีฉัน
ก็สวดบทอื่นๆ ต่อไป
ข้อที่เป็น
คติในคาถาบท
นี้ ก็คือ “พึงตั้งความปรารถนาดีแผ่กว้างออกไปเนืองนิตย์”
Create Date : 18 กรกฎาคม 2565
Last Update : 18 กรกฎาคม 2565 8:00:50 น.
1 comments
Counter : 521 Pageviews.
Share
Tweet
ผู้โหวตบล็อกนี้...
คุณหอมกร
สาธุ สาธุ สาธุ
โดย:
หอมกร
วันที่: 18 กรกฎาคม 2565 เวลา:8:25:23 น.
ชื่อ :
* blog นี้ comment ได้เฉพาะสมาชิก
Comment :
*ส่วน comment ไม่สามารถใช้ javascript และ style sheet
BlogGang Popular Award#20
สมาชิกหมายเลข 6393385
Location :
[ดู Profile ทั้งหมด]
ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
ผู้ติดตามบล็อก : 9 คน [
?
]
Webmaster - BlogGang
[Add สมาชิกหมายเลข 6393385's blog to your web]
Bloggang.com