กรรมเก่า คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ.เป็นเจ้าบทบาทเดิม จากนั้น การศึกษาอาศัยปรโตโฆสะ ซึ่งมีคติว่า "คนเป็นไปตามสภาพแวดล้อมที่ปรุงปั้น" และโยนิโสมนสิการ ซึ่งมีคติย้อนกลับว่า "ถ้าเป็นคนรู้จักคิด แม้แต่ฟังคนบ้าคนเมาพูด ก็อาจสำเร็จเป็นพระอรหันต์"
บุญ
ข้อธัมม์ที่ถาม-เถียงกันบ่อย
หลักปฏิบัติ
สภาวธรรม
ปฏิบัติธรรมให้ถูกทาง
ผู้พิพากษาตั้งตุลา ใ ห้ สั ง ค ม ส ม ดุ ล
คติธรรมสั้นๆ
ภาษาธรรมวันละคำ
รู้เขา รู้เรา
พุทธโอวาทก่อนปรินิพพาน,
ความเป็นมาของการบวช
การทำวัตรสวดมนต์
ทำยังไงจึงจะมีอายุยืนและมีความสุข
นิพพาน-อนัตตา ฉบับเพียงเพื่อไม่ประมาท
พลังดันคน
ที่ทำงานของจิต
บรรลุธรรมอะไร?
พุทธปรัชญาในสุตตันตปิฎก
ธัมมาธิบาย
สวดมนต์
ความจน เ ป็ น ทุ ก ข์ ใ น โ ล ก
เรียนบาลีเพื่อรักษาพุทธพจน์
ศีล-ธรรมไม่มาโลกาจะพินาศ
หลักธรรมสำหรับผู้ยังไม่นับถือศาสนาใดๆ
ก่อนศึกษาพุทธธรรม
ภาค ๑. มัชเฌนธรรมเทศนา
ภาค ๒. มัชฌิมาปฏิปทา
ภาค ๓. อารยธรรมวิถี
วัฒนธรรมประเพณี
จารึกธรรม
สมาธิ,ฌาน
ถ้าหลักธรรมพุทธดีจริง คงไม่สูญจากชมพูทวีปว่าซั่น
ภาวะแห่งนิพพาน
ศีลกับเจตนารมณ์ทางสังคม
คุณค่าทางจริยธรรมของไตรลักษณ์
จงกรม ไม่ใช่ จงกลม
กรรมฐาน
สติปัฏฐาน
ศีลสำหรับประชาชน
วิธีการแห่งศรัทธา (ปรโตโฆสะที่ดี)
วิธีการแห่งปัญญา (โยนิโสมนสิการ)
ทางดำเนินชีวิตสายกลาง
คุณสมบัติบุคคลโสดาบัน
กาม
ความสุข
อริยสัจ ๔
ธรรมฉันทะ - ตัณหาฉันทะ
คนไทย ใช่กบเฒ่า
กรรม
เถรวาท VS ลัทธิอาจารย์
<<
กรกฏาคม 2565
>>
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
15 กรกฏาคม 2565
ตำนานกรณียเมตตสูตร
กรณียเมตตสูตร
มงคล คาถาที่ ๖-๑๐
มงคล คาถาที่ ๑-๕
สัจจะกิริยา
แทรกเสริม
แทรกเสริม
ตำนานฉัททันต์ปริตร(จบ)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๑๓)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๑๒)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๑๑)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๑๐)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๙)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๘)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๗)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๖)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๕)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๔)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๓)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๒)
ตำนานฉัททันต์ปริตร
ฉัททันตะปริตร
เกี่ยวกับพาหุง(จบ)
บทพาหุง
บทถวายพรพระ
นักขัตยักษ์
ภวตุสัพ
มงคลจักรวาลใหญ่
สักกัตวา(จบ)
สักกัตวา
ชัยปริต
เทวตาอุยโยชนคาถา
อะภะยะปริตร
แทรกเสริม
โพชฌังคะปริตร
ตำนานอังคุลิมาลปริตร
องคุลิมาลปริตร
ตำนานโมรปริต
โมรปริต
ตำนานขันธะปริตร
ขันธะปริต
แทรกเสริม
ตำนานวัฏฏกปริต
วัฏฏะกะปริตร
ตำนานกรณียเมตตสูตร
กรณียเมตตสูตร
แทรกเสริม(สวดมนต์)
ตำนานรัตนสูตร
รัตนสูตร
ตำนานมงคลสูตร
มงคลสูตร
นโมการอัฏฐกคาถา
นะมะการะสิทธิคาถา
สัมพุทเธ
สามวิธีบวช
สรณคมน์
ระเบียบในการตั้งนะโม
???
ตั้งนะโม ๓ จบเสมอ
ปย.นมัสการพระ(๔)
ปย.นมัสการพระ(๓)
ปย.นมัสการพระ(๒)
ประโยชน์นมัสการพระ
ผู้ตั้งบทนมัสการ
การเรียงลำดับพระคุณ
แทรกเสริม
ตั้งนะโม(สัมมาสัมพุทธัสส)
ตั้งนะโม(อรหโต)
ตั้งนะโม
ชุมนุมเทวดา
แทรกเสริม
ไสยศาสตร์
อานิสงส์พระปริตร
ตำนานพระปริตร
พระปริตต์
องค์ประกอบพุทธศาสนา
สวดมนต์เรื่องใหญ่สวดกันทำไมต้องรู้ให้ชัด
ตำนานกรณียเมตตสูตร
ตำนานกรณียเมตตสูตร
มีเรื่องเล่าไว้ในอรรถกถากรณียเมตตสูตร เมื่อใกล้เข้าพรรษา ภิกษุหมู่หนึ่งชวนกันไปเฝ้าพระพุทธเจ้า เวลานั้น ประทับอยู่ ณ กรุงสาวัตถี ขอ
เรียนพระกรรมฐาน
เรียนได้แล้วก็ทูลลา พากันไปหาสถานที่อันสมควรจะเป็นที่
บำเพ็ญพระกรรมฐาน
ไปถึงราวป่าเชิงเขาแห่งหนึ่ง ดูเหมาะดี มีลำธารน้ำ มีหมู่บ้านเป็นที่อาศัยบิณฑบาต อยู่ไม่ไกลนัก ชาวบ้านเล่าก็มีศรัทธาเลื่อมใสนิมนต์ให้จำพรรษา ปลูกกุฏิให้อยู่รูปละหลัง
ภิกษุหมู่นั้นจึงตกลงจำพรรษาอยู่ที่นั่น เริ่มทำความเพียรบำเพ็ญสมณธรรม ถ้าฝนไม่ตก ภิกษุทั้งหลายมักไปนั่งที่โคนไม้เป็นส่วนมาก รุกขเทวดาซึ่งสถิตอยู่ที่ต้นไม้เหล่านั้น เห็นท่านผู้ทรงศีลมานั่งอยู่ใต้รุกขวิมานของตนเช่นนั้น ก็ไม่สามารถจะนิ่งเฉยเสียได้ ต้องหอบหิ้วกันลงจากวิมานมาอยู่ที่พื้นดิน ได้รับความลำบากมาก แรกๆก็ทนได้ ด้วยเข้าใจว่า ภิกษุหมู่นั้นจะกลับไปไม่ช้า
ครั้นปรากฏว่าภิกษุหมู่นั้นจำพรรษาที่นั่น เห็นว่าพวกตนจะต้องลำบากไปนานนัก ก็ไม่ยอมทน จึงคิดจะขับภิกษุหมู่นั้นไปเสีย แต่ไม่ใช้กำลังกายผลักไส ไม่ออกปากขับไล่ ใช้วิธีรบกวนทางประสาท คือทำเป็นผีหลอกรูปร่างน่ากลัวต่างๆบ้าง ทำเสียงร้องโหยหวนน่าสยองบ้าง ทำให้เกิดกลิ่นต่างๆบ้าง
ภิกษุทุกรูปได้เห็นได้ยินแล้ว หัวใจไหวหวาดไม่เป็นอันสงบใจบำเพ็ญกรรมฐาน ยิ่งได้กลิ่นเหม็นอะไรก็ไม่ทราบ ทั้งวันทั้งคืนก็ปวดเศียรคลื่นเหียนสุดจะทนได้ ปรึกษากันว่า การเข้าพรรษานั้น มีพระพุทธบัญญัติไว้เป็น ๒ คือ เข้าพรรษาต้น (แรมค่ำ ๑ เดือน ๘) เรียกว่าปุริมิกาวัสสูปนายิกา เข้าพรรษาหลัง (แรมค่ำ ๑ เดือน ๙) เรียกว่าปัจฉิมิกาวัสสูปนายิกา พวกเรา อยู่ที่นี่ไม่ได้ จำต้องละพรรษาปุริมิกา รีบกลับไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้า ทูลความให้ทรงทราบแล้ว ไปหาที่เข้าพรรษาปัจฉิมิกากันเถิด
ไม่บอกชาวบ้าน พากันรีบเดินทางไป ครั้นถึงกราบทูลความแล้ว มีพระพุทธดำรัสว่า สถานที่ที่ไหนก็ไม่เหมาะเท่าที่นั่น ซึ่งก็เป็นความจริง เพราะยกเว้นเทวดาภัยเสียอย่างเดียว ก็ไม่มีอะไรลำบากเลย ทรงแนะนำให้ภิกษุหมู่นั้นกลับไปที่นั่นอีก ตรัสว่า เทวดาภัยนั้น มีทางป้องกันได้ด้วยการเจริญเมตตาแล้วทรงสอนภิกษุหมู่นั้นให้ประพฤติตัวให้สมควรแก่การอยู่ป่า ให้
เจริญเมตตาอัปปมัญญา
คือ แผ่เมตตาไปทั่วหมดทั้งโลก มีความปรากฏอยู่ในกรณียเมตตสูตรนั้นแล้ว ตรัสว่าไปถึงที่นั่น ก่อนจะเข้าสู่ราวป่า ให้หยุดยืนตั้งใจเจริญเมตตาพร้อมกับสาธยายพระสูตรนี้ เทวดาภัยจะไม่มีอีกต่อไป กลับจะได้เทวดาอนุเคราะห์โดยไมตรีจิตเสียอีก
เป็นอันว่าพระบรมศาสดาทรงเปลี่ยนกรรมฐานให้ภิกษุหมู่นั้นใหม่ คือ เมตตากรรมฐาน อันสามารถจะเป็นบาทแห่งวิปัสสนาได้ด้วย เป็นปริตคือเป็นเครื่องป้องกันภัยได้ด้วย
ภิกษุหมู่นั้นกลับไปที่นั่น ปฏิบัติตามพระพุทธโองการ เป็นผลดีหมดทุกสิ่งทุกอย่าง เทวดาทั้งหลายได้รับกระแสเมตตาจากภิกษุหมู่นั้น ให้จิตใจเยือกเย็นหายเกลียดหายชัง กลับเกิดเมตตาตอบ แทนที่จะทำตัวให้เป็นภัยเช่นแต่ก่อน กลับช่วยป้องกันภัยอื่นๆให้ด้วย ตั้งแต่นั้นไม่มีอะไรรบกวน ภิกษุหมู่นั้นตั้งหน้าบำเพ็ญสมณธรรม ก็ได้บรรลุอรหัตผล ภายในพรรษานั้น ออกพรรษาแล้วจึงไปจากที่นั้นโดยสวัสดิภาพ
หมายเหตุ.
กรณียเมตตสูตรนี้ มักสวดแบบสังเขป คือ ขึ้น
เมตฺตญฺจ สพฺพโลกสฺมึ
ฯลฯ เลย
Create Date : 15 กรกฎาคม 2565
Last Update : 15 กรกฎาคม 2565 8:43:38 น.
0 comments
Counter : 565 Pageviews.
Share
Tweet
ชื่อ :
* blog นี้ comment ได้เฉพาะสมาชิก
Comment :
*ส่วน comment ไม่สามารถใช้ javascript และ style sheet
BlogGang Popular Award#20
สมาชิกหมายเลข 6393385
Location :
[ดู Profile ทั้งหมด]
ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
ผู้ติดตามบล็อก : 9 คน [
?
]
Webmaster - BlogGang
[Add สมาชิกหมายเลข 6393385's blog to your web]
Bloggang.com