กรรมเก่า คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ.เป็นเจ้าบทบาทเดิม จากนั้น การศึกษาอาศัยปรโตโฆสะ ซึ่งมีคติว่า "คนเป็นไปตามสภาพแวดล้อมที่ปรุงปั้น" และโยนิโสมนสิการ ซึ่งมีคติย้อนกลับว่า "ถ้าเป็นคนรู้จักคิด แม้แต่ฟังคนบ้าคนเมาพูด ก็อาจสำเร็จเป็นพระอรหันต์"
ก่อนศึกษาพุทธธรรม
กรรมฐาน
จงกรม
หลักปฏิบัติ
สภาวธรรม
ลำดับญาณ,ทวนญาณ
ภาค ๑. มัชเฌนธรรมเทศนา
ภาค ๒. มัชฌิมาปฏิปทา
ภาค ๓. อารยธรรมวิถี
วิธีการแห่งศรัทธา (ปรโตโฆสะที่ดี)
วิธีการแห่งปัญญา (โยนิโสมนสิการ)
ภาษาธรรมวันละคำ
ปฏิบัติธรรมให้ถูกทาง
ข้อธัมม์ที่ถาม-เถียงกันบ่อย
บุญ
ผู้พิพากษาตั้งตุลา ใ ห้ สั ง ค ม ส ม ดุ ล
คติธรรมสั้นๆ
รู้เขา รู้เรา
พุทธโอวาทก่อนปรินิพพาน,
ความเป็นมาของการบวช
การทำวัตรสวดมนต์
ทำยังไงจึงจะมีอายุยืนและมีความสุข
พลังดันคน
ที่ทำงานของจิต
บรรลุธรรมอะไร?
พุทธปรัชญาในสุตตันตปิฎก
ธัมมาธิบาย
สวดมนต์
ความจน เ ป็ น ทุ ก ข์ ใ น โ ล ก
เรียนบาลีเพื่อรักษาพุทธพจน์
ศีลธรรมไม่กลับมาโลกาจะพินาศ
หลักธรรมสำหรับผู้ยังไม่นับถือศาสนาใดๆ
วัฒนธรรมประเพณี
จาริกบุญ จารึกธรรม
สมาธิ,ฌาน
ถ้าศาสนาพุทธมีหลักธรรมดีจริง คงไม่สูญสิ้นจากถิ่นเดิม
ศีลกับเจตนารมณ์ทางสังคม
คุณค่าทางจริยธรรมของไตรลักษณ์
สติปัฏฐาน
ศีลสำหรับประชาชน
ทางดำเนินชีวิตสายกลาง
คุณสมบัติบุคคลโสดาบัน
กาม
ความสุข
อริยสัจ ๔
ธรรมฉันทะ - ตัณหาฉันทะ
กรรม
ฅนไทย ใช่กบเฒ่า ?
พระไทย ใช่เขาใช่เรา?
สมถะ,วิปัสสนา,เจโตวิมุตติ,ปัญญาวิมุตติ
อนัตตา
สมมุติบัญญัติ
ศีล-สีลัพพตปรามาส
นรก สวรรค์ ในพระไตรปิฎก
วันสำคัญของชาวพุทธไทย
วิธีฝึกหูทิพย์ ตาทิพย์
ความสำคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะ ศ.ประจำชาติ
ภาวะแห่งนิพพาน
ระดับของผู้บรรลุนิพพาน
ภาวะของผู้บรรลุนิพพาน
อิทธิบาท ๔
รู้ทุกอย่างแต่ปล่อยวางไม่ได้
สติ,สติปัฏฐาน
ตถตา
อ่าน แล้ว คิดว่าเป็นนั่นเป็นนี่
ทำยังไงจะให้เชื่อเรื่องกรรม
<<
กรกฏาคม 2565
>>
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
20 กรกฏาคม 2565
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๓)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๒)
ตำนานฉัททันต์ปริตร
พาหุงทำนองอินเดีย
มงคล คาถาที่ ๖-๑๐
มงคล คาถาที่ ๑-๕
สัจจะกิริยา
แทรกเสริม
แทรกเสริม
ตำนานฉัททันต์ปริตร(จบ)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๑๓)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๑๒)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๑๑)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๑๐)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๙)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๘)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๗)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๖)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๕)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๔)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๓)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๒)
ตำนานฉัททันต์ปริตร
ฉัททันตะปริตร
เกี่ยวกับพาหุง(จบ)
บทพาหุง
บทถวายพรพระ
นักขัตยักษ์
ภวตุสัพ
มงคลจักรวาลใหญ่
สักกัตวา(จบ)
สักกัตวา
ชัยปริต
เทวตาอุยโยชนคาถา
อะภะยะปริตร
แทรกเสริม
โพชฌังคะปริตร
ตำนานอังคุลิมาลปริตร
องคุลิมาลปริตร
ตำนานโมรปริต
โมรปริต
ตำนานขันธะปริตร
ขันธะปริต
แทรกเสริม
ตำนานวัฏฏกปริต
วัฏฏะกะปริตร
ตำนานกรณียเมตตสูตร
กรณียเมตตสูตร
แทรกเสริม(สวดมนต์)
ตำนานรัตนสูตร
รัตนสูตร
ตำนานมงคลสูตร
มงคลสูตร
นโมการอัฏฐกคาถา
นะมะการะสิทธิคาถา
สัมพุทเธ
สามวิธีบวช
สรณคมน์
ระเบียบในการตั้งนะโม
???
ตั้งนะโม ๓ จบเสมอ
ปย.นมัสการพระ(๔)
ปย.นมัสการพระ(๓)
ปย.นมัสการพระ(๒)
ประโยชน์นมัสการพระ
ผู้ตั้งบทนมัสการ
การเรียงลำดับพระคุณ
แทรกเสริม
ตั้งนะโม(สัมมาสัมพุทธัสส)
ตั้งนะโม(อรหโต)
ตั้งนะโม
ชุมนุมเทวดา
แทรกเสริม
ไสยศาสตร์
อานิสงส์พระปริตร
ตำนานพระปริตร
พระปริตต์
องค์ประกอบพุทธศาสนา
สวดมนต์เรื่องใหญ่สวดกันทำไมต้องรู้ให้ชัด
ตำนานฉัททันต์ปริตร
ตำนานฉัททันต์ปริตร
พระพุทธเจ้าเสด็จประทับ ณ พระเชตวันวิหาร เขตกรุงสาวัตถี สายัณห์วันหนึ่ง เสด็จประทับเหนือธรรมาสน์ ตรัสประกาศพระสัทธรรมแก่พุทธบริษัท ด้วยพระลีลาอันงดงาม และด้วยพระสุรเสียงอันไพเราะนุ่มนวลกลมกล่อม ปราศจากความแหบเครือ ชัดถ้อยชัดคำ
พระภิกษุณีองค์หนึ่ง ออกบวชจากสกุลคหบดี กำลังฟังพระธรรมเทศนาร่วมกับเพื่อนภิกษุณีทั้งหลายได้เห็นพระรูปพระโฉมอันงดงามสง่าองอาจ ทรงบุญลักษณ์สมบูรณ์ ประทับเหนือธรรมาสน์อันอลงกต งดงามสุดที่จะพรรณนา
พระภิกษุณีนั้น ก็เกิดความรู้สึกชื่นชมเป็นอย่างยิ่ง คิดว่า “เมื่อเราท่องเที่ยวเวียนว่ายในวัฏฏสงสาร ได้เคยเป็นบาทบริจาริกาขององค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าบ้างหรือไม่ เราได้เคยเป็นคู่เคียงเรียงบาทของพระองค์มาบ้างหรือไม่ ในชาติใดชาติหนึ่งแต่หนหลัง คิดไปด้วยอำนาจแห่งปีติและปราโมทย์ ในพระรูปอันทรงบุญลักษณ์ พลันก็ระลึกถึงชาติหนหลังได้ ครั้งที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าเสวยพระชาติเป็นพญาช้างชื่อฉัททันต์ ในครั้งนั้น ได้เคยเป็นบาทบริจาริกา เมื่อระลึกได้ก็สุดแสนที่จะปรีดาปราโมทย์ กำลังแห่งปีติท่วมท้นล้นหลั่งออกมา ถึงกับหัวเราะออกมาดังๆ
ครั้นแล้วก็หวนคิดอีกว่า “ขึ้นชื่อว่าหญิงที่เป็นบาทบริจาริกานั้น น้อยนักที่จะมีอัธยาศัยเอื้ออารีแก่สามีตน เราล่ะในชาตินั้นมีอัธยาศัยเฟื้อต่อสามีเป็นอันดีหรือไฉน” ระลึกไป ก็ได้พบการกระทำของตนว่า “แท้จริง เราได้สร้างความผิดไว้ในดวงใจมิใช่น้อย เราใช้นายพรานให้ยิงพญาฉัททันต์ด้วยลูกศรอาบยาพิษจนถึงความตาย เพื่อจะเอางามาทำเครื่องประทับ พุทโธ่เอ๋ย กรรมของเราหนักนัก” คิดแล้วก็เกิดความเสียใจสุดที่จะทนทานไว้ได้ ร้องไห้สะอึกสะอื้นเสียงดัง
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทอดพระเนตรเห็นพระภิกษุณีมีอาการเช่นนั้น ก็ทรงยิ้ม เมื่อพระภิกษุทั้งหลาย กราบทูลถามถึงเหตุที่ทรงยิ้ม จึงมีดำพระดำรัสว่า “ภิกษุณีสาวนี้ระลึกถึงความผิดที่เคยกระทำต่อเราได้ จึงร้องไห้เสี่ยใจ” แล้วทรงนำเรื่องแต่ครั้งอดีตมาตรัสเล่าให้ฟัง ดังต่อไปนี้
ในอดีตกาล ที่ป่าหิมพานต์มีช้างประมาณ ๘,๐๐๐ เชือก พำนักอาศัยอยู่ใกล้ๆ สระฉันทันต์ ตถาคตยังบำเพ็ญบารมีอยู่ ได้ถือกำเนิดเป็นลูกช้างจ่าโขลงมีกายเผือกผ่อง ปากและเท้าสีแดง เมื่อเจริญวัย สูงได้ ๘๘ ศอก ยาว ๑๒๐ ศอก งวงเป็นสีเงิน ยาว ๕๘ ศอก งาทั้งคู่วัดโดยรอบได้ ๑๕ ศอก และยาว ๓๐ ศอก มีสีเป็นฉัพพรรณรังสี ชื่อฉัททันต์ ต่อมาได้เป็นใหญ่ มีบริวารประมาณ ๘,๐๐๐ เชือก มีช้างพังเป็นเมีย ๒ นาง ชื่อมหาสุภัททา ๑ จุลลสุภัททา ๑ พำนักอาศัยอยู่ที่กาญจนคูหา ใกล้กับสระฉัททันต์ทางด้านตะวันตก
อยู่มาวันหนึ่ง ช้างทั้งหลาย มาบอกกับพญาฉัททันต์ว่า “ป่าสาละใหญ่มีดอกบานสะพรั่ง” พญาฉัททันต์คิดว่า “เราจักเล่นกีฬาดอกสาละ” จึงพร้อมด้วยบริวารไปที่ป่าสาละนั้น เอากระพองชนต้นสาละต้นหนึ่งซึ่งมีดอกบานเต็ม
นางช้าง
จุลลสุภัททา
ยืนอยู่ทางเหนือลม ใบสาละเก่าๆ ที่ติดอยู่กิ่งแห้งๆและมดดำมดแดงก็หล่นพรูกรูกัดร่างกายของนาง
ส่วน
มหาสุภัททา
ยืนทางใต้ลม เกสรดอกสาละก็ร่วงหล่นลงพรั่งพรูต้องกายนาง
จุลลสุภัททาน้อยใจว่า “พญาช้างนี้ โปรยปรายเกสรดอกไม้สดใบไม้สดๆ ให้ตกต้องร่างกายเมียรัก เมียที่ตนโปรดปราน แต่ที่เรือนร่างเราสิกลับให้ใบไม้เก่าๆ มีมดดำมดแดงตกต้องพรูๆ คอยดูเถิด เราจะต้องหาทางตอบโต้ให้สาสมทีเดียว” ผูกอาฆาต พญาฉัททันต์มาตั้งแต่วันนั้น
Create Date : 20 กรกฎาคม 2565
Last Update : 20 กรกฎาคม 2565 8:01:23 น.
0 comments
Counter : 760 Pageviews.
Share
Tweet
ผู้โหวตบล็อกนี้...
คุณโอพีย์คุณนายกุ๊งกิ๊ง
ชื่อ :
* blog นี้ comment ได้เฉพาะสมาชิก
Comment :
*ส่วน comment ไม่สามารถใช้ javascript และ style sheet
สมาชิกหมายเลข 6393385
Location :
[ดู Profile ทั้งหมด]
ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
ผู้ติดตามบล็อก : 9 คน [
?
]
Webmaster - BlogGang
[Add สมาชิกหมายเลข 6393385's blog to your web]
Bloggang.com