กรรมเก่า คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ.เป็นเจ้าบทบาทเดิม จากนั้น การศึกษาอาศัยปรโตโฆสะ ซึ่งมีคติว่า "คนเป็นไปตามสภาพแวดล้อมที่ปรุงปั้น" และโยนิโสมนสิการ ซึ่งมีคติย้อนกลับว่า "ถ้าเป็นคนรู้จักคิด แม้แต่ฟังคนบ้าคนเมาพูด ก็อาจสำเร็จเป็นพระอรหันต์"
บุญ
ข้อธัมม์ที่ถาม-เถียงกันบ่อย
หลักปฏิบัติ
สภาวธรรม
ปฏิบัติธรรมให้ถูกทาง
ผู้พิพากษาตั้งตุลา ใ ห้ สั ง ค ม ส ม ดุ ล
คติธรรมสั้นๆ
ภาษาธรรมวันละคำ
รู้เขา รู้เรา
พุทธโอวาทก่อนปรินิพพาน,
ความเป็นมาของการบวช
การทำวัตรสวดมนต์
ทำยังไงจึงจะมีอายุยืนและมีความสุข
พลังดันคน
ที่ทำงานของจิต
บรรลุธรรมอะไร?
พุทธปรัชญาในสุตตันตปิฎก
ธัมมาธิบาย
สวดมนต์
ความจน เ ป็ น ทุ ก ข์ ใ น โ ล ก
เรียนบาลีเพื่อรักษาพุทธพจน์
ศีลธรรมไม่กลับมาโลกาจะพินาศ
หลักธรรมสำหรับผู้ยังไม่นับถือศาสนาใดๆ
ก่อนศึกษาพุทธธรรม
ภาค ๑. มัชเฌนธรรมเทศนา
ภาค ๒. มัชฌิมาปฏิปทา
ภาค ๓. อารยธรรมวิถี
วัฒนธรรมประเพณี
จารึกธรรม
สมาธิ,ฌาน
เขาว่า ถ้าพุทธมีหลักธรรมดีจริง คงไม่ 0 สิ้นจากถิ่นเกิด
ภาวะแห่งนิพพาน
ศีลกับเจตนารมณ์ทางสังคม
คุณค่าทางจริยธรรมของไตรลักษณ์
จงกรม ไม่ใช่ จงกลม
กรรมฐาน
สติปัฏฐาน
ศีลสำหรับประชาชน
วิธีการแห่งศรัทธา (ปรโตโฆสะที่ดี)
วิธีการแห่งปัญญา (โยนิโสมนสิการ)
ทางดำเนินชีวิตสายกลาง
คุณสมบัติบุคคลโสดาบัน
กาม
ความสุข
อริยสัจ ๔
ธรรมฉันทะ - ตัณหาฉันทะ
กรรม
เถรวาท VS ลัทธิอาจารย์
นิพพาน-อนัตตา ฉบับเพียงเพื่อไม่ประมาท
ภาวนา ๔ ภาวิต ๔
สมถะ,วิปัสสนา,เจโตวิมุตติ,ปัญญาวิมุตติ
อนัตตา
สมมุติ
ศีล-สีลัพพตปรามาส
นรก สวรรค์ ในพระไตรปิฎก
วันสำคัญของชาวพุทธไทย
วิธีฝึกหูทิพย์ ตาทิพย์
ลำดับญาณ,ทวนญาณ
ความสำคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะ ศ.ประจำชาติ
ระดับของผู้บรรลุนิพพาน
<<
กรกฏาคม 2565
>>
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
16 กรกฏาคม 2565
ตำนานโมรปริต
โมรปริต
ตำนานขันธะปริตร
ขันธะปริต
แทรกเสริม
ตำนานวัฏฏกปริต
วัฏฏะกะปริตร
มงคล คาถาที่ ๖-๑๐
มงคล คาถาที่ ๑-๕
สัจจะกิริยา
แทรกเสริม
แทรกเสริม
ตำนานฉัททันต์ปริตร(จบ)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๑๓)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๑๒)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๑๑)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๑๐)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๙)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๘)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๗)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๖)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๕)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๔)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๓)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๒)
ตำนานฉัททันต์ปริตร
ฉัททันตะปริตร
เกี่ยวกับพาหุง(จบ)
บทพาหุง
บทถวายพรพระ
นักขัตยักษ์
ภวตุสัพ
มงคลจักรวาลใหญ่
สักกัตวา(จบ)
สักกัตวา
ชัยปริต
เทวตาอุยโยชนคาถา
อะภะยะปริตร
แทรกเสริม
โพชฌังคะปริตร
ตำนานอังคุลิมาลปริตร
องคุลิมาลปริตร
ตำนานโมรปริต
โมรปริต
ตำนานขันธะปริตร
ขันธะปริต
แทรกเสริม
ตำนานวัฏฏกปริต
วัฏฏะกะปริตร
ตำนานกรณียเมตตสูตร
กรณียเมตตสูตร
แทรกเสริม(สวดมนต์)
ตำนานรัตนสูตร
รัตนสูตร
ตำนานมงคลสูตร
มงคลสูตร
นโมการอัฏฐกคาถา
นะมะการะสิทธิคาถา
สัมพุทเธ
สามวิธีบวช
สรณคมน์
ระเบียบในการตั้งนะโม
???
ตั้งนะโม ๓ จบเสมอ
ปย.นมัสการพระ(๔)
ปย.นมัสการพระ(๓)
ปย.นมัสการพระ(๒)
ประโยชน์นมัสการพระ
ผู้ตั้งบทนมัสการ
การเรียงลำดับพระคุณ
แทรกเสริม
ตั้งนะโม(สัมมาสัมพุทธัสส)
ตั้งนะโม(อรหโต)
ตั้งนะโม
ชุมนุมเทวดา
แทรกเสริม
ไสยศาสตร์
อานิสงส์พระปริตร
ตำนานพระปริตร
พระปริตต์
องค์ประกอบพุทธศาสนา
สวดมนต์เรื่องใหญ่สวดกันทำไมต้องรู้ให้ชัด
โมรปริต
บท
ขัดโมรปริต
ปูเรนฺตมฺโพธิสมฺภาเร นิพฺพตฺตํ โมรโยนิยํ
เยน สํวิหิตารกฺขํ มหาสตฺตํ วเน จรา
ฯลฯ
คำแปลทั้งหมด:
พวกพรานไพร แม้พยายามอยู่ช้านาน ก็ไม่อาจที่จะจับพระมหาสัตว์ผู้บำเพ็ญโพธิสมภาร เกิดในกำเนิดแห่งนกยูง จัดการรักษาตัวอย่างดีด้วย (สาธยาย) พระปริตรใด เราทั้งหลายจงสวดพระปริตรอันเรียกว่า พรหมมนต์ เทอญ ฯ
โมรปริต
(เมื่อพระ
อาทิตย์อุทัย
นกยูงโพธิสัตว์กล่าวคำมนัสการ
ว่า )
อุเทตยญฺจกฺขุมา เอกราชา
หริสฺสวณฺโณ ปฐวิปฺปภาโส
ฯลฯ
คำแปลทั้งหมด
: พระอาทิตย์นี้ อุทัยขึ้นมา เป็นผู้ให้ดวงตาแก่โลก เป็นเจ้าใหญ่ (ในการให้แสงสว่าง) สาดแสงสีทองส่องปฐพี เพราะฉะนั้น ข้า ฯ ขอนอบน้อมพระอาทิตย์ ผู้สาดแสงสีทองส่องปฐพีนั้น ข้า ฯ อันท่านคุ้มครองแล้ว พึงอยู่เป็นสุขตลอดเวลากลางวันวันนี้
(
นกยูงโพธิสัตว์กล่าวคาถาแรกไหว้พระอาทิตย์แล้ว
จึงกล่าว
คาถาที่ ๒
นมัสการอดีตพุทธและพุทธคุณดังต่อไปนี้)
เย พฺราหฺมณาเวทคุ สพฺพธมฺเม
ฯลฯ
ท่านผู้ไม่มีบาป (คือพระอดีตพุทธะ) เหล่าใด เป็นผู้รู้จบในธรรมทั้งปวง ขอท่านผู้ไม่มีบาปเหล่านั้น จงได้รับความนอบน้อมของข้า ฯ ท่านผู้ไม่มีบาปเหล่านั้น โปรดรักษาข้า ฯ ด้วยเถิด ความนอบน้อมของของข้า ฯ จงมีแด่พระพุทธเจ้าทั้งหลาย ความนอบน้อมของของข้า ฯ จงมีแด่พระโพธิญาณ ความนอบน้อมของของข้า ฯ จงมีแด่ท่านผู้วิมุตติแล้วทั้งหลาย ความนอบน้อมของของข้า ฯ จงมีแด่วิมุตติธรรม นกยูงนั้นสวดปริตรนี้แล้ว จึงเที่ยวไปแสวงหาอาหาร
(เมื่อพระอาทิตย์อัสดง นกยูงกล่าวคำนมัสการว่า)
อเปตยญฺจกฺขุมา เอกราชา
หริสฺสวณฺโณ ปฐวิปฺปภาโส
พระอาทิตย์เป็นผู้ให้ดวงตาแก่โลกเป็นเจ้าใหญ่ สาดแสงสีทองส่องปฐพีกำลังอัสดง เพราะเหตุนั้น ข้า ฯ ขอนอบน้อมพระอาทิตย์ผู้สาดแสงสีทองส่องปฐพีนั้น ข้า ฯ อันท่านคุ้มครองแล้ว พึงอยู่เป็นสุขตลอดเวลากลางคืนวันนี้
(นกยูงกล่าวคาถาแรกไหว้พระอาทิตย์อัสดง จึงกล่าวคาถาที่ ๒ มนัสการอดีตพุทธะและพุทธคุณ เช่น เดียวกับตอนเช้า ดังต่อไปนี้)
เย พฺราหฺมณาเวทคุ สพฺพธมฺเม
ฯลฯ
ท่านผู้ไม่มีบาปเหล่าใด เป็นผู้รู้จบในธรรมทั้งปวง ขอท่านผู้ไม่มีบาปเหล่านั้น จงได้รับความนอบน้อมของข้า ฯ ท่านผู้ไม่มีบาปเหล่านั้น โปรดรักษาข้า ฯ ด้วยเถิด ความนอบน้อมของของข้า ฯ จงมีแด่พระพุทธเจ้าทั้งหลาย ความนอบน้อมของของข้า ฯ จงมีแด่พระโพธิญาณ ความนอบน้อมของของข้า ฯ จงมีแด่ท่านผู้วิมุตติแล้วทั้งหลาย ความนอบน้อมของของข้า ฯ จงมีแด่วิมุตติธรรม นกยูงนั้นสวดปริตรนี้แล้ว จึงพักผ่อนหลับนอน ฯ
Create Date : 16 กรกฎาคม 2565
Last Update : 16 กรกฎาคม 2565 18:56:47 น.
0 comments
Counter : 454 Pageviews.
Share
Tweet
ชื่อ :
* blog นี้ comment ได้เฉพาะสมาชิก
Comment :
*ส่วน comment ไม่สามารถใช้ javascript และ style sheet
สมาชิกหมายเลข 6393385
Location :
[ดู Profile ทั้งหมด]
ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
ผู้ติดตามบล็อก : 9 คน [
?
]
Webmaster - BlogGang
[Add สมาชิกหมายเลข 6393385's blog to your web]
Bloggang.com