กรรมเก่า คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ.เป็นเจ้าบทบาทเดิม จากนั้น การศึกษาอาศัยปรโตโฆสะ ซึ่งมีคติว่า "คนเป็นไปตามสภาพแวดล้อมที่ปรุงปั้น" และโยนิโสมนสิการ ซึ่งมีคติย้อนกลับว่า "ถ้าเป็นคนรู้จักคิด แม้แต่ฟังคนบ้าคนเมาพูด ก็อาจสำเร็จเป็นพระอรหันต์"
บุญ
ข้อธัมม์ที่ถาม-เถียงกันบ่อย
หลักปฏิบัติ
สภาวธรรม
ปฏิบัติธรรมให้ถูกทาง
ผู้พิพากษาตั้งตุลา ใ ห้ สั ง ค ม ส ม ดุ ล
คติธรรมสั้นๆ
ภาษาธรรมวันละคำ
รู้เขา รู้เรา
พุทธโอวาทก่อนปรินิพพาน,
ความเป็นมาของการบวช
การทำวัตรสวดมนต์
ทำยังไงจึงจะมีอายุยืนและมีความสุข
นิพพาน-อนัตตา ฉบับเพียงเพื่อไม่ประมาท
พลังดันคน
ที่ทำงานของจิต
บรรลุธรรมอะไร?
พุทธปรัชญาในสุตตันตปิฎก
ธัมมาธิบาย
สวดมนต์
ความจน เ ป็ น ทุ ก ข์ ใ น โ ล ก
เรียนบาลีเพื่อรักษาพุทธพจน์
ศีล-ธรรมไม่มาโลกาจะพินาศ
หลักธรรมสำหรับผู้ยังไม่นับถือศาสนาใดๆ
ก่อนศึกษาพุทธธรรม
ภาค ๑. มัชเฌนธรรมเทศนา
ภาค ๒. มัชฌิมาปฏิปทา
ภาค ๓. อารยธรรมวิถี
วัฒนธรรมประเพณี
จารึกธรรม
สมาธิ,ฌาน
ถ้าหลักธรรมพุทธดีจริง คงไม่สูญจากชมพูทวีปว่าซั่น
ภาวะแห่งนิพพาน
ศีลกับเจตนารมณ์ทางสังคม
คุณค่าทางจริยธรรมของไตรลักษณ์
จงกรม ไม่ใช่ จงกลม
กรรมฐาน
สติปัฏฐาน
ศีลสำหรับประชาชน
วิธีการแห่งศรัทธา (ปรโตโฆสะที่ดี)
วิธีการแห่งปัญญา (โยนิโสมนสิการ)
ทางดำเนินชีวิตสายกลาง
คุณสมบัติบุคคลโสดาบัน
กาม
ความสุข
อริยสัจ ๔
ธรรมฉันทะ - ตัณหาฉันทะ
คนไทย ใช่กบเฒ่า
กรรม
เถรวาท VS ลัทธิอาจารย์
<<
กรกฏาคม 2565
>>
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
18 กรกฏาคม 2565
มงคลจักรวาลใหญ่
สักกัตวา(จบ)
สักกัตวา
ชัยปริต
เทวตาอุยโยชนคาถา
อะภะยะปริตร
มงคล คาถาที่ ๖-๑๐
มงคล คาถาที่ ๑-๕
สัจจะกิริยา
แทรกเสริม
แทรกเสริม
ตำนานฉัททันต์ปริตร(จบ)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๑๓)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๑๒)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๑๑)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๑๐)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๙)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๘)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๗)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๖)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๕)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๔)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๓)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๒)
ตำนานฉัททันต์ปริตร
ฉัททันตะปริตร
เกี่ยวกับพาหุง(จบ)
บทพาหุง
บทถวายพรพระ
นักขัตยักษ์
ภวตุสัพ
มงคลจักรวาลใหญ่
สักกัตวา(จบ)
สักกัตวา
ชัยปริต
เทวตาอุยโยชนคาถา
อะภะยะปริตร
แทรกเสริม
โพชฌังคะปริตร
ตำนานอังคุลิมาลปริตร
องคุลิมาลปริตร
ตำนานโมรปริต
โมรปริต
ตำนานขันธะปริตร
ขันธะปริต
แทรกเสริม
ตำนานวัฏฏกปริต
วัฏฏะกะปริตร
ตำนานกรณียเมตตสูตร
กรณียเมตตสูตร
แทรกเสริม(สวดมนต์)
ตำนานรัตนสูตร
รัตนสูตร
ตำนานมงคลสูตร
มงคลสูตร
นโมการอัฏฐกคาถา
นะมะการะสิทธิคาถา
สัมพุทเธ
สามวิธีบวช
สรณคมน์
ระเบียบในการตั้งนะโม
???
ตั้งนะโม ๓ จบเสมอ
ปย.นมัสการพระ(๔)
ปย.นมัสการพระ(๓)
ปย.นมัสการพระ(๒)
ประโยชน์นมัสการพระ
ผู้ตั้งบทนมัสการ
การเรียงลำดับพระคุณ
แทรกเสริม
ตั้งนะโม(สัมมาสัมพุทธัสส)
ตั้งนะโม(อรหโต)
ตั้งนะโม
ชุมนุมเทวดา
แทรกเสริม
ไสยศาสตร์
อานิสงส์พระปริตร
ตำนานพระปริตร
พระปริตต์
องค์ประกอบพุทธศาสนา
สวดมนต์เรื่องใหญ่สวดกันทำไมต้องรู้ให้ชัด
ชัยปริต
ชัยปริต
มหาการุณิโก นาโถ หิตาย สพฺพปาณินํ
ปูเรตฺวา ปารมี สพฺพา ปตฺโต สมฺโพธิมุตฺตมํ
ฯลฯ
คำแปลทั้งหมด:
พระพุทธเจ้า ผู้เป็นที่พึ่งของโลก ทรงมีพระกรุณาใหญ่ ทรงบำเพ็ญบารมีทุกประการเพื่อเกื้อกูลแก่สรรพสัตว์ ทรงบรรลุพระสัมโพธิญาณอันสูงสุดแล้ว
ด้วยการกล่าวคำสัตย์นี้ ขอชัยมงคลจงมีแก่ท่านเถิด ขอท่านจงเป็นผู้มีชัยชำนะในพิธีชัยมงคล เหมือนดังองค์พระทศพลขวัญใจแห่งชาวศากยะ ทรงมีชัยชำนะมาร ณ มูลสถานโพธิพฤกษ์ ทรงถึงความเป็นผู้เลิศ (คือได้ตรัสรู้) แล้ว ทรงบันเทิงอยู่บนอปราชิตบัลลังก์ ณ ผืนแผ่นดินอันเป็นจอมดิน ซึ่งเป็นที่อภิเษกแห่งพระพุทธเจ้าทุกๆพระองค์
กายกรรม วาจากรรม มโนกรรม ความปรารถนาของท่าน
เป็นประทักษิณ
(คือเป็น
สุจริต
) (ในวันเวลาใด วันเวลานั้น)
เป็นฤกษ์ดี มงคลดี แจ้งดี รุ่งดี ขณะดี ครู่ดี
และ
เป็นการบูชาอย่างดีในพรหมจารีทั้งหลาย
คนทำกรรมอันเป็นประทักษิณาแล้ว ย่อมได้ประโยชน์อันเป็นประทักษิณ (คือเจริญดี)
หมายเหตุ.
ชัยปริตรนี้ ในสิบสองตำนานจัดเป็นปริตหนึ่ง มีบทขัดด้วย แต่ในเจ็ดตำนานใช้เป็นบทสวดต่อท้ายเท่านั้น
คาถา
มหาการุณิโก นาโถ
ฯปฯ
อคฺคปฺโต ปโมทติ
นี้ เป็นบทที่ท่านเรียงขึ้นใหม่ เพื่ออวยชัยให้พรแก่ท่านเจ้าภาพ และผู้ที่เข้าร่วมในงานอันเป็นมงคลพิธี เข้าใจว่าแต่งในยุคเดียวกับบทถวายพรพระ (คือพาหุํ) ทั้งนี้ สังเกตได้จากการที่เมื่อสวดบทถวายพรพระจบแล้ว จะสวดบทนี้ต่อทุกครั้ง จะเป็นบทสวดควบกันกับบทถวายพระพระมาแต่เดิม ภายหลังตัดตอนนำมาสวดประกอบท้ายเจ็ดตำนาน
มีข้อน่าสังเกตอยู่ประการหนึ่ง คือคำว่า
สีเส ปฐวิโปกฺขเร อภิเสเก สพฺพพุทฺธานํ
ซึ่งแปลไว้ว่า “ณ ผืนแผ่นดินอันเป็นจอมดิน ซึ่งเป็นที่อภิเษกแห่งพระพุทธเจ้าทุกๆพระองค์” ความหมายของคำนี้กล่าวตามมติพระโบราณาจารย์ว่า “แผ่นดินตรงที่พระพุทธเจ้าตรัสรู้นั้น เป็นแผ่นดินที่เกิดก่อนส่วนอื่นๆในกัลป” คือว่า เมื่อโลกนี้สลายไปแล้วเกิดแผ่นดินขึ้นมาใหม่ แผ่นดินตรงที่ตรัสรู้นั้นเกิดก่อน มีหลักฐานเป็นใบบัว นอกนั้นยังเป็นน้ำทั้งนั้น เมื่อเกิดแผ่นดินขึ้นแล้ว ก็มีต้นไม้เกิดขึ้น คือ บัวหลวง เรียกเป็นศัพท์บาลีว่า ปทุม (ปทุมะ) แปลตรงตามศัพท์ว่า “
ต้นไม้ต้นแรก
” บัวหลวงกอนี้มีดอกบอกจำนวนพระพุทธเจ้าที่จะเสด็จอุบัติในกัลปนั้นๆ ว่ามีกี่องค์ เช่นในกัลปนี้มี ๕ ดอก ก็จะมีพระพุทธเจ้ามาตรัส ๕ องค์ มากกว่ากัลปไหนหมด จึงเรียกว่า
ภัทรกัลป
แปลว่า
กัลปเจริญ
ชัยปริต
นี้ ตอนท้ายตั้งแต่
สุนกฺขตฺตํ สุมงฺคลํ
ฯปฯ
ลภนฺตตฺเถ ปทกฺขิเณ.
เป็นพระพุทธวจนะ นำเข้ามาก่อไว้ เป็นการอ้างว่าและยืนยันว่า
ฤกษ์งามยามดีมีแก่บุคคลได้จริงๆ โดยที่ประกอบกรรมดีเมื่อใด ก็เป็นฤกษ์งามยามดีเมื่อนั้น
ขึ้น
ชยนฺโต โพธิยา มูเล ลง ลภนฺตตฺเถ ปทกฺขิเณ
เพียงนี้ เรียกว่า
ชัยมงคลคาถา
ใช้สวดอวยชัยในพิธีต่างๆ ทำนองเดียวกันกับการบรรเลงเพลงมหาชัย
ข้อที่เป็น
คติในพระปริต
นี้ ก็คือ “ความประพฤติดี เป็นฤกษ์งามยามดี”
Create Date : 18 กรกฎาคม 2565
Last Update : 18 กรกฎาคม 2565 10:57:37 น.
0 comments
Counter : 293 Pageviews.
Share
Tweet
ชื่อ :
* blog นี้ comment ได้เฉพาะสมาชิก
Comment :
*ส่วน comment ไม่สามารถใช้ javascript และ style sheet
BlogGang Popular Award#20
สมาชิกหมายเลข 6393385
Location :
[ดู Profile ทั้งหมด]
ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
ผู้ติดตามบล็อก : 9 คน [
?
]
Webmaster - BlogGang
[Add สมาชิกหมายเลข 6393385's blog to your web]
Bloggang.com