กรรมเก่า คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ.เป็นเจ้าบทบาทเดิม จากนั้น การศึกษาอาศัยปรโตโฆสะ ซึ่งมีคติว่า "คนเป็นไปตามสภาพแวดล้อมที่ปรุงปั้น" และโยนิโสมนสิการ ซึ่งมีคติย้อนกลับว่า "ถ้าเป็นคนรู้จักคิด แม้แต่ฟังคนบ้าคนเมาพูด ก็อาจสำเร็จเป็นพระอรหันต์"
บุญ
ข้อธัมม์ที่ถาม-เถียงกันบ่อย
หลักปฏิบัติ
สภาวธรรม
ปฏิบัติธรรมให้ถูกทาง
ผู้พิพากษาตั้งตุลา ใ ห้ สั ง ค ม ส ม ดุ ล
คติธรรมสั้นๆ
ภาษาธรรมวันละคำ
รู้เขา รู้เรา
พุทธโอวาทก่อนปรินิพพาน,
ความเป็นมาของการบวช
การทำวัตรสวดมนต์
ทำยังไงจึงจะมีอายุยืนและมีความสุข
พลังดันคน
ที่ทำงานของจิต
บรรลุธรรมอะไร?
พุทธปรัชญาในสุตตันตปิฎก
ธัมมาธิบาย
สวดมนต์
ความจน เ ป็ น ทุ ก ข์ ใ น โ ล ก
เรียนบาลีเพื่อรักษาพุทธพจน์
ศีล-ธรรมไม่มาโลกาจะพินาศ
หลักธรรมสำหรับผู้ยังไม่นับถือศาสนาใดๆ
ก่อนศึกษาพุทธธรรม
ภาค ๑. มัชเฌนธรรมเทศนา
ภาค ๒. มัชฌิมาปฏิปทา
ภาค ๓. อารยธรรมวิถี
วัฒนธรรมประเพณี
จารึกธรรม
สมาธิ,ฌาน
ถ้าหลักธรรมพุทธดีจริง คงไม่สูญจากชมพูทวีปว่าซั่น
ภาวะแห่งนิพพาน
ศีลกับเจตนารมณ์ทางสังคม
คุณค่าทางจริยธรรมของไตรลักษณ์
จงกรม ไม่ใช่ จงกลม
กรรมฐาน
สติปัฏฐาน
ศีลสำหรับประชาชน
วิธีการแห่งศรัทธา (ปรโตโฆสะที่ดี)
วิธีการแห่งปัญญา (โยนิโสมนสิการ)
ทางดำเนินชีวิตสายกลาง
คุณสมบัติบุคคลโสดาบัน
กาม
ความสุข
อริยสัจ ๔
ธรรมฉันทะ - ตัณหาฉันทะ
กรรม
เถรวาท VS ลัทธิอาจารย์
นิพพาน-อนัตตา ฉบับเพียงเพื่อไม่ประมาท
ภาวนา ๔ ภาวิต ๔
สมถะ,วิปัสสนา,เจโตวิมุตติ,ปัญญาวิมุตติ
อนัตตา
สมมุติ
ศีล-สีลัพพตปรามาส
นรก สวรรค์ ในพระไตรปิฎก
วันสำคัญของชาวพุทธไทย
วิธีฝึกหูทิพย์ ตาทิพย์
ลำดับญาณ,ทวนญาณ
ความสำคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะ ศ.ประจำชาติ
<<
กรกฏาคม 2565
>>
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
17 กรกฏาคม 2565
แทรกเสริม
โพชฌังคะปริตร
ตำนานอังคุลิมาลปริตร
องคุลิมาลปริตร
มงคล คาถาที่ ๖-๑๐
มงคล คาถาที่ ๑-๕
สัจจะกิริยา
แทรกเสริม
แทรกเสริม
ตำนานฉัททันต์ปริตร(จบ)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๑๓)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๑๒)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๑๑)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๑๐)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๙)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๘)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๗)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๖)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๕)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๔)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๓)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๒)
ตำนานฉัททันต์ปริตร
ฉัททันตะปริตร
เกี่ยวกับพาหุง(จบ)
บทพาหุง
บทถวายพรพระ
นักขัตยักษ์
ภวตุสัพ
มงคลจักรวาลใหญ่
สักกัตวา(จบ)
สักกัตวา
ชัยปริต
เทวตาอุยโยชนคาถา
อะภะยะปริตร
แทรกเสริม
โพชฌังคะปริตร
ตำนานอังคุลิมาลปริตร
องคุลิมาลปริตร
ตำนานโมรปริต
โมรปริต
ตำนานขันธะปริตร
ขันธะปริต
แทรกเสริม
ตำนานวัฏฏกปริต
วัฏฏะกะปริตร
ตำนานกรณียเมตตสูตร
กรณียเมตตสูตร
แทรกเสริม(สวดมนต์)
ตำนานรัตนสูตร
รัตนสูตร
ตำนานมงคลสูตร
มงคลสูตร
นโมการอัฏฐกคาถา
นะมะการะสิทธิคาถา
สัมพุทเธ
สามวิธีบวช
สรณคมน์
ระเบียบในการตั้งนะโม
???
ตั้งนะโม ๓ จบเสมอ
ปย.นมัสการพระ(๔)
ปย.นมัสการพระ(๓)
ปย.นมัสการพระ(๒)
ประโยชน์นมัสการพระ
ผู้ตั้งบทนมัสการ
การเรียงลำดับพระคุณ
แทรกเสริม
ตั้งนะโม(สัมมาสัมพุทธัสส)
ตั้งนะโม(อรหโต)
ตั้งนะโม
ชุมนุมเทวดา
แทรกเสริม
ไสยศาสตร์
อานิสงส์พระปริตร
ตำนานพระปริตร
พระปริตต์
องค์ประกอบพุทธศาสนา
สวดมนต์เรื่องใหญ่สวดกันทำไมต้องรู้ให้ชัด
โพชฌังคะปริตร
บทขัด
โพชฺฌงฺคปริต
สํสาเร สํสรนฺตานํ สพฺพทุกฺขวินาสเน
สตฺต ธมฺเม จ โพชฺฌงฺเค มารเสนปฺปมทฺทิโน
ฯลฯ
คำแปลทั้งหมด:
สัตว์เหล่านี้แม้ใด รู้แจ้งซึ่งธรรม ๗ ประการอันเป็นองค์เครื่องตรัสรู้ ยังทุกข์ทั้งปวงแห่งสัตว์ทั้งหลาย ผู้ท่องเที่ยวไปในสังสารวัฏให้พินาศ ย่ำยีเสียซึ่งมารและเสนามาร เป็นผู้สูงสุดหลุดพ้นจากไตรภพ สัตว์เหล่านั้น ชื่อว่าบรรลุแล้วซึ่งพระนิพพาน อันไม่มีชาติชราพยาธิ เป็นอมตะไม่มีภัย เราทั้งหลายจงสวดมนต์นี้ อันชื่อว่า โพชฌงคปริต เป็นโอสถขนานแท้ ประมวลคุณไว้เป็นอเนก ประกอบด้วยคุณดังที่กล่าวแล้วอย่างนี้ เป็นต้น เทอญ ฯ
โพชฌังคะปริตร
โพชฺฌงฺโค สติสงฺขาโต ธมฺมานํ วิจโย ตถา
วิริยมฺปีติปสฺสทฺธิ- โพชฺฌงฺคา จ ตถาปเร
ฯลฯ
คำแปลทั้งหมด:
โพชฌงค์ ๗ ประการ คือ ๑. สติ ๒. ธัมมวิจยะ ๓. วิริยะ ๔. ปีติ ๕. ปัสสัทธิ ๖.สมาธิ ๗. อุเบกขา เหล่านี้ เป็นธรรมอันพระมุนีเจ้าผู้ทรงเห็นธรรมทั้งปวง ตรัสไว้โดยชอบ
บุคคลทำให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อความรู้ยิ่งเห็นจริง เพื่อความตรัสรู้และเพื่อนิพพาน ด้วยคำสัตย์นี้ ขอความสวัสดีจงมีแก่ท่านทุกเมื่อ
สมัยหนึ่ง พระโลกนาถเจ้าทอดพระเนตรเห็นพระโมคคัลานะ และพระกัสสปเป็นไข้ ได้ความลำบาก ทรงแสดงโพชฌงค์ ๗ ประการ ให้ท่านทั้งสองฟัง ท่านทั้งสองชื่นชมพระธรรมเทศนานั้น หายจากโรคในบัดดล ด้วยคำสัตย์นี้ ขอความสวัสดีจงมีแก่ท่านทุกเมื่อ
ครั้งหนึ่ง องค์พระธรรมราชาเอง ทรงประชวรไข้ รับสั่งให้พระจุนทเถระ กล่าวโพชฌงค์ ๗ ประการนั้นถวาย โดยเคารพ ทรงบันเทิงพระทัย หายจากประชวรนั้น โดยแท้จริง ด้วยคำสัตย์นี้ ขอความสวัสดีจงมีแก่ท่านทุกเมื่อ
ก็อาพาธเหล่านั้น ของท่านทั้ง ๓ หายแล้วไม่กลับเป็นอีก ดุจดังกิเลสอันมรรคกำจัดแล้ว ถึงซึ่งความไม่เกิดอีกเป็นธรรมดา ฉะนั้น ด้วยคำสัตย์นี้ ขอความสวัสดีจงมีแก่ท่านทุกเมื่อ
หมายเหตุ:
พระปริตบทนี้ มีข้อแตกต่างในทางปฏิบัติที่ใช้สวดกันอยู่บ้าง ท่านผู้อ่านพึงกำหนดสังเกตไว้ เป็นทางศึกษาดังนี้
ในการ
สวดมนต์เจ็ดตำนาน
ท่านยกเอาไป
สวดต่อกับองคุลิมาลปริตรวมเป็นบทเดียว
ที่ทำเช่นนี้ เพราะองคุลิมาลปริตสั้นมาก จะสวดสั้นแค่นั้น ฟังดูไม่มีน้ำหนัก จึงแก้ด้วยยกเอาโพชฌงคปริต ซึ่งมีสรรพคุณละม้ายคล้ายกัน คือ แก้เจ็บไข้ด้วยกัน มาสวดต่อให้ยาวขึ้น
ส่วน
สิบสองตำนาน
นี้ไม่จัดอย่างนั้น เพราะต่างก็มีบทขัดด้วยกันเวลาสวด ท่านจึงไม่นิยมนำมารวมกันอย่างเจ็ดตำนาน คงสวดไปตามลำดับบท
โพชฌงคปริตนี้ไม่มีตำนาน เพราะความในปริต แสดงตำนานอยู่ในตัวชัดพอแล้ว ขอกล่าวเพิ่มเติมแต่เพียงว่า ความที่กล่าวในพระปริตนั้น ท่านสังเขปมาจากโพชฌงคสูตรทั้ง ๓ ซึ่งเป็นบทสวดมนต์ในภาณวารที่สอง แต่งเป็นคำสัจจกิริยา นัยเดียวกับองคุลิมาลปริต
ข้อที่เป็น
คติในพระปริตบทนี้
ก็คือ “ยามเจ็บ ยามไข้ อย่าไร้สติ”
ในสถานการณ์โควิด-19 นี้ โพชฌงค์ สวดก็ได้ แต่ถ้าใช้ จะยิ่งดี โดย สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์
https://www.youtube.com/watch?v=IAsMFOVdU0I
Create Date : 17 กรกฎาคม 2565
Last Update : 23 กรกฎาคม 2565 9:55:44 น.
0 comments
Counter : 339 Pageviews.
Share
Tweet
ชื่อ :
* blog นี้ comment ได้เฉพาะสมาชิก
Comment :
*ส่วน comment ไม่สามารถใช้ javascript และ style sheet
BlogGang Popular Award#20
สมาชิกหมายเลข 6393385
Location :
[ดู Profile ทั้งหมด]
ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
ผู้ติดตามบล็อก : 9 คน [
?
]
Webmaster - BlogGang
[Add สมาชิกหมายเลข 6393385's blog to your web]
Bloggang.com