กรรมเก่า คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ.เป็นเจ้าบทบาทเดิม จากนั้น การศึกษาอาศัยปรโตโฆสะ ซึ่งมีคติว่า "คนเป็นไปตามสภาพแวดล้อมที่ปรุงปั้น" และโยนิโสมนสิการ ซึ่งมีคติย้อนกลับว่า "ถ้าเป็นคนรู้จักคิด แม้แต่ฟังคนบ้าคนเมาพูด ก็อาจสำเร็จเป็นพระอรหันต์"
บุญ
ข้อธรรมะที่ถาม,ถกเถียงกันบ่อย
หลักปฏิบัติ
สภาวธรรม
ปฏิบัติธรรมให้ถูกทาง
ผู้ พิ พ า ก ษ า ตั้ ง ตุ ลา ใ ห้ สั ง ค ม ส ม ดุ ล
คติธรรมสั้นๆ
ภาษาธรรมวันละคำ
รู้เขา รู้เรา
คำพูดของคนใกล้สิ้นลม
ความเป็นมาของการบวช
การทำวัตรสวดมนต์
ทำยังไงจึงจะมีอายุยืนและมีความสุข
นิพพาน-อนัตตา ฉบับเพียงเพื่อไม่ประมาท
พลังดันคน
ที่ทำงานของจิต
บรรลุธรรมอะไร?
พุทธปรัชญาในสุตตันตปิฎก
ธัมมาธิบาย
สวดมนต์
ค ว า ม จ น เ ป็ น ทุ ก ข์ ใ น โ ล ก
เรียนบาลีเพื่อรักษาพุทธพจน์
ศีล-ธรรมไม่มาโลกาจะพินาศ
หลักธรรมสำหรับผู้ยังไม่นับถือศาสนาใดๆ
วันแห่งความรัก.
ก่อนศึกษาพุทธธรรม
ภาค ๑. มัชเฌนธรรมเทศนา
ภาค ๒. มัชฌิมาปฏิปทา
ภาค ๓. อารยธรรมวิถี
วัฒนธรรมประเพณีก็สำคัญ
<<
กรกฏาคม 2565
>>
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
12 กรกฏาคม 2565
มงคลสูตร
นโมการอัฏฐกคาถา
นะมะการะสิทธิคาถา
ขัดขวางผู้อื่นทำสิ่งดีงาม บาป
???
มงคล คาถาที่ ๖-๑๐
มงคล คาถาที่ ๑-๕
สัจจะกิริยา
แทรกเสริม
แทรกเสริม
ตำนานฉัททันต์ปริตร(จบ)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๑๓)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๑๒)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๑๑)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๑๐)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๙)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๘)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๗)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๖)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๕)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๔)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๓)
ตำนานฉัททันต์ปริตร(๒)
ตำนานฉัททันต์ปริตร
ฉัททันตะปริตร
เกี่ยวกับพาหุง(จบ)
บทพาหุง
บทถวายพรพระ
นักขัตยักษ์
ภวตุสัพ
มงคลจักรวาลใหญ่
สักกัตวา(จบ)
สักกัตวา
ชัยปริต
เทวตาอุยโยชนคาถา
อะภะยะปริตร
แทรกเสริม
โพชฌังคะปริตร
ตำนานอังคุลิมาลปริตร
องคุลิมาลปริตร
ตำนานโมรปริต
โมรปริต
ตำนานขันธะปริตร
ขันธะปริต
แทรกเสริม
ตำนานวัฏฏกปริต
วัฏฏะกะปริตร
ตำนานกรณียเมตตสูตร
กรณียเมตตสูตร
แทรกเสริม(สวดมนต์)
ตำนานรัตนสูตร
รัตนสูตร
ตำนานมงคลสูตร
มงคลสูตร
นโมการอัฏฐกคาถา
นะมะการะสิทธิคาถา
สัมพุทเธ
สามวิธีบวช
สรณคมน์
ระเบียบในการตั้งนะโม
???
ตั้งนะโม ๓ จบเสมอ
ปย.นมัสการพระ(๔)
ปย.นมัสการพระ(๓)
ปย.นมัสการพระ(๒)
ประโยชน์นมัสการพระ
ผู้ตั้งบทนมัสการ
การเรียงลำดับพระคุณ
แทรกเสริม
ตั้งนะโม(สัมมาสัมพุทธัสส)
ตั้งนะโม(อรหโต)
ตั้งนะโม
ชุมนุมเทวดา
แทรกเสริม
ไสยศาสตร์
อานิสงส์พระปริตร
ตำนานพระปริตร
พระปริตต์
องค์ประกอบพุทธศาสนา
สวดมนต์เรื่องใหญ่สวดกันทำไมต้องรู้ให้ชัด
นโมการอัฏฐกคาถา
นโม ๘
นโมการอัฏฐกคาถา
นโม อรหโต สมฺมา สมฺพุทฺธสฺส มเหสิโน
นโม อตฺตมธมฺมสฺส สฺวากฺขาตสฺเสว เตนิธ
ฯลฯ
คำแปลทั้งหมด
. ขอนอบน้อมแด่พระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าผู้ทรงแสวงหาซึ่งประโยชน์ใหญ่ ขอนอบน้อมแด่พระธรรมอันอุดมในพระศาสนานี้ ที่พระองค์ตรัสดีแล้ว ขอนอบน้อมแด่พระสงฆ์หมู่ใหญ่ ผู้มีศีลและความเห็นอันหมดจด การนอบน้อมแด่พระรัตนตรัยที่ขึ้นต้นด้วยคำว่า อ.อุ.ม. ดังนี้ เป็นการยังประโยชน์ให้สำเร็จ
การนอบน้อมแด่พระรัตนตรัยทั้ง ๓ นั้น อันล่วงพ้นโทษต่ำช้า ด้วยอำนาจแห่งการกระทำความนอบน้อม ขออุปัทวะทั้งหลายจงปราศจากไป
ด้วยอานุภาพแห่งการกระทำความนอบน้อม ขอความสวัสดีจงมีทุกเมื่อด้วยเดชแห่งการกระทำความนอบน้อม ขอเราจงมีเดชในมงคลพิธี ฯ
หมายเหตุ.
บทนี้ เรียกเป็นสามัญว่า “นโม ๘ บท” ลองนับคำว่า นโม ดู ได้ ๘ พอดี เป็นคาถาพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว แสดงให้เห็นว่าพระองค์ ทรงเชี่ยวชาญอย่างเยี่ยมยอดในภาษาบาลี ทรงสามารถในอันที่จะทรงพระราชนิพนธ์ คาถาหรือคำกลอนในภาษาบาลีได้อย่างถูกต้องและไพเราะ เท่าเทียมกับนักปราชญ์ในยุคก่อนๆทีเดียว และอาจจะถือเป็นคติได้ประการหนึ่งในเรื่องความเชียวชาญทางภาษา ไม่ว่าจะเป็นภาษาของชาติไหน ผู้เป็นชาติอื่นที่ควรยกย่องว่าเชียวชาญในภาษานั้นๆ อย่างแท้จริง ก็คือ ต้องสามารถแต่งกลอนในภาษานั้นๆ ได้ถูกต้องตามกฎข้อบังคับได้รสได้เรื่องตามแนวของภาษาบาลี
นโม ๘ บทนี้ สวดต่อจากบทสัมพุทเธ หรือบทนมการสิทธิคาถา ใช้สวดเฉพาะงานมงคลและมีการตั้งน้ำวงด้ายเท่านั้น พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า ฯ รับสั่งไว้ใจความว่า “สวดทำน้ำมนต์ มีสรรพคุณชะงัดนัก”
Create Date : 12 กรกฎาคม 2565
Last Update : 12 กรกฎาคม 2565 8:12:03 น.
0 comments
Counter : 224 Pageviews.
Share
Tweet
ชื่อ :
* blog นี้ comment ได้เฉพาะสมาชิก
Comment :
*ส่วน comment ไม่สามารถใช้ javascript และ style sheet
BlogGang Popular Award#19
สมาชิกหมายเลข 6393385
Location :
[ดู Profile ทั้งหมด]
ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
ผู้ติดตามบล็อก : 9 คน [
?
]
Webmaster - BlogGang
[Add สมาชิกหมายเลข 6393385's blog to your web]
Bloggang.com