ประโยชน์ของขี้ครอก (สมุนไพร)
ชื่ออื่น ๆ : หญ้าผมยุ่ง หญ้าอียู ขี้คาก (ภาคเหนือ-พายัพ) ซัวโบ๋เท้า(จีน) เส้ง ปูลู(ภาคใต) ขี้ครอก (ไทยภาคกลาง) ขี้หมู (นครราชสีมา) ปอเส้ง (ปัตตานี) ขมงดง(สุดขทัย)
ชื่อสามัญ : -
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Urena lobata Linn
วงศ์ : MALVACEAE

ลักษณะทั่วไป :

  • ต้น : เป็นพรรณไม้พุ่มต้นเล็ก จัดอยู่ในจำพวกมะเขือ ลำต้นมีความสูงประมาณ 3-5 ฟุต
  • ใบ : มีลักษณะคายและมีขน เป็นแฉคล้ายใบมะระแต่แฉกลึกกว่าเรียกว่าขี้ครอกตัวผู้ ส่วนขี้ครอกตัวเมียนั้นใบจะมีลักษระเป็นแฉก น้อยและตื้น
  • ดอก : ลักษณะของดอกจะมีสีแดงแกมขาว
  • ผล : จะเป็นหนามเหนียว และถ้าขว้างปาไปติดผมคน ก็จะยึดออกได้ยาก

ถิ่นที่อยู่ : ชอบขึ้นตามป่าราบและที่ลุ่มรกร้างทั่วไป และมีปลูกมากตามสวนยาจีนทั่ว ๆ ไป

ส่วนที่ใช้ : ต้น และใบ ใบ ราก ใช้เป็นยา

สรรพคุณ :

  • ต้นและใบ ใช้ต้มรับประทาน เป็นยารักษาโรคไตพิการ และยังเป็นยาช่วยขับปัสสาวะด้วย
  • ใบ ใช้ต้มเป็นยาใช้จิบรักษาอาการไอ ดับพิาเสมหะ
  • ราก ใช้รับประทานเป็นยาเย้นใช้ถอนพิษไข้ทั้งปวง

อ้างอิง : พจนานุกรม สมุนไพรไทย ดร.วิทย์ เที่ยงบูรณธรรม



ขอบคุณข้อมูลจาก samunpri.com




Create Date : 03 สิงหาคม 2557
Last Update : 3 สิงหาคม 2557 4:05:55 น.
Counter : 437 Pageviews.

0 comments
ชื่อ : * blog นี้ comment ได้เฉพาะสมาชิก
Comment :
 *ส่วน comment ไม่สามารถใช้ javascript และ style sheet
 

vnize
Location :
  

[ดู Profile ทั้งหมด]
 ฝากข้อความหลังไมค์
 Rss Feed
 Smember
 ผู้ติดตามบล็อก : 4 คน [?]



สิงหาคม 2557

 
 
 
 
 
1
2
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
 
 
3 สิงหาคม 2557
All Blog