กรรมเก่า คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ.เป็นเจ้าบทบาทเดิม จากนั้น การศึกษาอาศัยปรโตโฆสะ ซึ่งมีคติว่า "คนเป็นไปตามสภาพแวดล้อมที่ปรุงปั้น" และโยนิโสมนสิการ ซึ่งมีคติย้อนกลับว่า "ถ้าเป็นคนรู้จักคิด แม้แต่ฟังคนบ้าคนเมาพูด ก็อาจสำเร็จเป็นพระอรหันต์"
บุญ
ข้อธัมม์ที่ถาม-เถียงกันบ่อย
หลักปฏิบัติ
สภาวธรรม
ปฏิบัติธรรมให้ถูกทาง
ผู้พิพากษาตั้งตุลา ใ ห้ สั ง ค ม ส ม ดุ ล
คติธรรมสั้นๆ
ภาษาธรรมวันละคำ
รู้เขา รู้เรา
พุทธโอวาทก่อนปรินิพพาน,
ความเป็นมาของการบวช
การทำวัตรสวดมนต์
ทำยังไงจึงจะมีอายุยืนและมีความสุข
พลังดันคน
ที่ทำงานของจิต
บรรลุธรรมอะไร?
พุทธปรัชญาในสุตตันตปิฎก
ธัมมาธิบาย
สวดมนต์
ความจน เ ป็ น ทุ ก ข์ ใ น โ ล ก
เรียนบาลีเพื่อรักษาพุทธพจน์
ศีลธรรมไม่กลับมาโลกาจะพินาศ
หลักธรรมสำหรับผู้ยังไม่นับถือศาสนาใดๆ
ก่อนศึกษาพุทธธรรม
ภาค ๑. มัชเฌนธรรมเทศนา
ภาค ๒. มัชฌิมาปฏิปทา
ภาค ๓. อารยธรรมวิถี
วัฒนธรรมประเพณี
จารึกธรรม
สมาธิ,ฌาน
เขาว่า ถ้าพุทธมีหลักธรรมดีจริง คงไม่ 0 สิ้นจากถิ่นเกิด
ภาวะแห่งนิพพาน
ศีลกับเจตนารมณ์ทางสังคม
คุณค่าทางจริยธรรมของไตรลักษณ์
จงกรม ไม่ใช่ จงกลม
กรรมฐาน
สติปัฏฐาน
ศีลสำหรับประชาชน
วิธีการแห่งศรัทธา (ปรโตโฆสะที่ดี)
วิธีการแห่งปัญญา (โยนิโสมนสิการ)
ทางดำเนินชีวิตสายกลาง
คุณสมบัติบุคคลโสดาบัน
กาม
ความสุข
อริยสัจ ๔
ธรรมฉันทะ - ตัณหาฉันทะ
กรรม
เถรวาท VS ลัทธิอาจารย์
นิพพาน-อนัตตา ฉบับเพียงเพื่อไม่ประมาท
ภาวนา ๔ ภาวิต ๔
สมถะ,วิปัสสนา,เจโตวิมุตติ,ปัญญาวิมุตติ
อนัตตา
สมมุติ
ศีล-สีลัพพตปรามาส
นรก สวรรค์ ในพระไตรปิฎก
วันสำคัญของชาวพุทธไทย
วิธีฝึกหูทิพย์ ตาทิพย์
ลำดับญาณ,ทวนญาณ
ความสำคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะ ศ.ประจำชาติ
<<
พฤษภาคม 2564
>>
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
15 พฤษภาคม 2564
ภวังคจิต
บน กับ อธิษฐาน
ความไม่ยึดมั่นที่แท้
ธรรม-วินัย
ระหว่างศีล กับ พรต
อินทรีย์ภาวนา
กตัญญูกตเวที
โลกธรรม ๘
ยโส ลทฺธา น มชฺเชยฺย
เจ้าชายสิทธัตถะทิ้งลูกทิ้งเมีย
ปริศนาธรรมจากงานสวดศพ
ปัญหาสังคม
โลกธรรม ๘ ประการ
วินัย
ประเพณี ศาสนพิธี ก็สำคัญ
ความคิดชีวิตแต่ละวัย
ความสัมพันธ์ระหว่างพระสงฆ์กับชาวบ้าน
ศาสนิกอื่น สรรเสริญพุทธคุณ ธรรมคุณ
ทำไมคนพุทธต้องใส่บาตรพระสงฆ์
ทดสอบโรคซึมเศร้าฟรี จากแพทย์ศาสตร์ มหิดล
รู้เรา รู้เขา
พัดวิเศษ มนต์ตรา ผ้ายันต์ VS อาวุธ นาลันทาแตก
คู่บุญคู่บารมี
ศีลเพื่อเสริมความดีงามของชีวิต และสังคม
ความหมาย อรหันต์
การให้ผลของกรรมในระดับต่างๆ
สันโดษ ให้สันโดษ ไม่ให้สันโดษ
ตำนาน พระปริตร
อานิสงส์ พระปริตร
ก้าวหน้าไปในบุญ
กาม ตามความหมายของพุทธธรรม
มงคล ๓๘ ประการ
สุญตา ๔ ความหมาย
มนุษย์ประเสริฐได้ด้วยการฝึกตน
ธุดงค์ ๑๓
พระพุทธเจ้ากับเพลง
วาสนา
เรียกเราว่าเป็น พุทธะ เถิดนะพราหมณ์
พรหมวิหาร ๔
เจริญวิปัสสนากับเจริญสติปัฏฐาน 4 ต่างกันไหม
ผู้มีจิตหลุดพ้นแล้ว รู้ได้อย่างไร
ความหมาย ปฏิบัติธรรม
เรื่อง ภาวนา
อินทรีย์ภาวนาแบบอารยชน
สุตะ
อาสภิวาจา
บุคคลแรกที่พูดได้เดินได้ทันทีที่เกิด
แก้ปัญหาแบบพุทธ
รู้ธรรมคือรู้เรื่องธรรมดา
คนรักธรรม ต้อง คู่กับรู้ธรรม
ข้อดี ข้อเสียของศรัทธา
หลักผู้ปกครองบ้านเมือง ๔ อย่าง
อัตถะ,อรรถ
ภวังคจิต
บน กับ อธิษฐาน
ความไม่ยึดมั่นที่แท้
ธรรม-วินัย
ระหว่างศีล กับ พรต
อินทรีย์ภาวนา
อริยบุคคล ๘
อริยบุคคล ๗
พุทธปณิธาน
กามโภคี ๑๐ ประเภท
ทุกขอริยสัจ
สิกขา,ไตรสิกขา
สารตั้งต้นผู้ศึกษาพุทธศาสนา
แยก สมมุติ กับ สภาวะให้ชัด
ปัญญา ๓ ระดับ
กิเลสต้องเห็นชัดด้วยปัญญาจึงละได้
ระหว่างศีล กับ พรต
ศีล กับ พรต
ศีล กับ พรต แตกต่างกัน ตามนัยคัมภีร์มหานิทเทสว่า ศีล หมายถึงการสังวร ยับยั้ง ไม่ละเมิด
พรต
(บาลีว่า "วต")
หมายถึง การสมาทานถือปฏิบัติ ข้อปฏิบัติที่เรียกว่าธุดงค์ทั้งหลาย เป็นวตะ หรือพรตเท่านั้น ไม่เป็นศีล
(ขุ.ม.29/81/77; 918/584
แต่บาลี ฉบับอักษรไทยสับสนเอา วต/พรต กับ วตฺต/วัตร ปนเปกัน)
ข้อปฏิบัติที่เป็นวต/พรต แต่ไม่เป็นศีล อย่างธุดงค์นั้น เป็นข้อปฏิบัติ ส่วนพิเศษ เพื่อความเคร่งครัด ขัดเกลา ฝึกอบรมตนเองให้ยิ่งกว่าปกติ เน้นที่ความมักน้อยสันโดษ แต่เป็นเรื่องของความสมัครใจ ความเหมาะสมกับอุปนิสัยและขึ้นกับความพร้อม ใครจะถือปฏิบัติหรือไม่ก็ได้ ไม่มีความผิด ต่างจากศีล ซึ่งสมาชิกทุกคนของหมู่พึงรักษาเสมอเหมือนกัน ถ้าไม่รักษา ย่อมมีผลเสียหาย ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม
(ถ้าเป็นศีลแบบวินัย มีโทษตามบัญญัติอีกด้วย)
วต/พรต บางอย่าง แม้จะมองดูเคร่งครัดอย่างยิ่ง แต่ผิดหลักการของพระพุทธศาสนา พระพุทธเจ้าทรงห้าม และบางอย่างถือเป็นความผิดทางวินัยด้วย เช่น การถือพรตไม่พูด ที่เรียกว่า มูคพรต
(วินย.4/224-6/304-313
ย่อมตัดปัญหาจากการพูดผิด เช่น พูดเท็จเป็นต้นได้หมด)
ทรงตำหนิว่า เป็นการอยู่อย่างปศุสัตว์ การถือพรตกินเฉพาะผลไม้ที่หล่นเองจากต้น
(เช่น องฺ.ติก.20/596/381
ย่อมตัดปัญหาการเบียดเบียนสัตว์ และพืชได้หมด)
เป็นข้อปฏิบัติทรมานตนเกินพอดี ของพวกเดียรถีย์ที่หลบลี้สังคม
อนึ่ง ยังมีข้อปฏิบัติอีกพวกหนึ่งคู่กับศีล เป็นส่วนปลีกย่อย เรียกว่า "วัตร" พูดเทียบสั้นๆว่า ศีลเป็นหลักความประพฤติพื้นฐาน วัตรเป็นข้อปฏิบัติเสริมให้ดีงามเคร่งครัดยิ่งขึ้นเพื่อสนับสนุนการรักษาศีล เช่น เพื่อตัดหรือลดโอกาสที่จะละเมิดศีลข้อใดข้อหนึ่ง
ศีล
ความประพฤติดีทางกายและวาจา, การรักษากายและวาจาให้เรียบร้อย, ข้อปฏิบัติสำหรับควบคุมกายและวาจาให้ตั้งอยู่ในความดีงาม, การรักษาปกติตามระเบียบวินัย, ปกติมารยาทที่ปราศจากโทษ, ข้อปฏิบัติในการฝึกหัดกาย วาจา และอาชีพ, มักใช้เป็นคำเรียกอย่างง่ายสำหรับคำว่า
อธิศีลสิกขา
ศีล ๕
สำหรับทุกคน
คือ ๑ เว้นจากการทำลายชีวิต ๒. เว้นจากถือเอาของที่เขามิได้ให้ ๓. เว้นจากประพฤติผิดในกาม ๔. เว้นจากพูดเท็จ เป็นพยานเท็จ ๕. เว้นจากของเมา คือสุราเมรัยอันเป็นที่ตั้งแต่ความประมาท
ศีล ๘
สำหรับฝึกตนให้ยิ่งขึ้นไปโดยรักษาในบางโอกาส
หรือมีศรัทธาจะรักษาประจำก็ได้ เช่น แม่ชีมักรักษาประจำ หัวข้อเหมือนศีล ๕ แต่เปลี่ยนข้อ ๓ และ เติมข้อ ๖, ๗, ๘ คือ ๓ เว้นจากการประพฤติผิดพรหมจรรย์ คือเว้นจากการร่วมประเวณี ๖. เว้นจากบริโภคอาหารในเวลาวิกาล คือเที่ยงแล้วไป ๗. เว้นจากการฟ้อนรำ ขับร้อง บรรเลงดนตรี ดูการเล่นอันเป็นข้าศึกต่อพรหมจรรย์ การทัดทรงดอกไม้ ของหอมและเครื่องลูบไล้ ซึ่งใช้เป็นเครื่องประดับตกแต่ง ๘. เว้นจากที่นอนอันสูงใหญ่หรูหราฟุ่มเฟือย
ศีล ๑๐ สำหรับสามเณร แต่ผู้ใดจะรักษาก็ได้
ศีล ๒๒๗ ศีลสำหรับพระภิกษุ มีในภิกขุปาฎิโมกข์
ศีล ๓๑๑ ศีลสำหรับพระภิกษุณี มีในภิกขุนีปาฎิโมกข์
ศีลอุโบสถ คือ ศีล ๘ ที่สมาทานรักษาพิเศษในวันอุโบสถ
อุโบสถศีล ศีลที่รักษาเป็นอุโบสถ หรือศีลที่รักษาในวันอุโบสถ ได้แก่ ศีล ๘ ที่อุบาสกอุบาสิกาสมาทานรักษาเป็นการจำศีลในวันพระ คือ ขึ้นและแรม ๘ ค่ำ ๑๕ ค่ำ
(แรม ๑๔ ค่ำ ในเดือนขาด)
Create Date : 15 พฤษภาคม 2564
Last Update : 31 ธันวาคม 2566 17:46:27 น.
0 comments
Counter : 574 Pageviews.
Share
Tweet
ชื่อ :
* blog นี้ comment ได้เฉพาะสมาชิก
Comment :
*ส่วน comment ไม่สามารถใช้ javascript และ style sheet
สมาชิกหมายเลข 6393385
Location :
[ดู Profile ทั้งหมด]
ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
ผู้ติดตามบล็อก : 9 คน [
?
]
Webmaster - BlogGang
[Add สมาชิกหมายเลข 6393385's blog to your web]
Bloggang.com