กรรมเก่า คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ (สํ.สฬ.18/217/166) เป็นเจ้าบทบาทเดิม จากนั้น การศึกษาอาศัยปรโตโฆสะซึ่งมีคติว่า "คนเป็นไปตามสภาพแวดล้อมที่ปรุงปั้น" และโยนิโสมนสิการ ซึ่งมีคติย้อนกลับว่า "ถ้าเป็นคนรู้จักคิด แม้แต่ฟังคนบ้าคนเมาพูด ก็อาจสำเร็จเป็นพระอรหันต์"
บุญ
ข้อธรรมะที่ถาม,ถกเถียงกันบ่อย
หลักปฏิบัติ
สภาวธรรม
ชีวิตคืออะไร ๑
ชีวิตคืออะไร ๒
ชีวิตเป็นอย่างไร
ปฏิจจสมุปบาท
ชีวิตเป็นไปอย่างไร ๕
อริยสัจ ๔
อารยธรรมวิถี
แรงจูงใจคน
ความสุข ๑
ความสุข ๒
ปฏิบัติธรรมให้ถูกทาง
ผู้พิพากษาตั้งตุลาให้สังคม ฯ
คติธรรมสั้นๆ
ภาษาธรรมวันละคำ
เรื่องเหนือสามัญวิสัย
รู้เขา รู้เรา
คำพูดของคนใกล้สิ้นลม
ความเป็นมาของการบวช
การทำวัตรสวดมนต์
ทำยังไงจึงจะมีอายุยืนและมีความสุข
นิพพาน-อนัตตา ฉบับเพียงเพื่อไม่ประมาท
มาฆบูชา กับ วาเลนไทน์
พลังดันคน
ที่ทำงานของจิต
บรรลุธรรมอะไร?
พุทธปรัชญาในสุตตันตปิฎก
ธัมมาธิบาย
สวดมนต์
ทฬิทฺทิยํ ทุกฺขํ โลเก
เรียนบาลีเพื่อรักษาพุทธพจน์
ศีล-ธรรมไม่มาโลกาจะพินาศ
หลักธรรมสำหรับผู้ยังไม่นับถือศาสนาใดๆ
ชีวิตเป็นไปอย่างไร ๔
ชีวิต ควรให้เป็นอย่างไร
ชีวิตควรให้เป็นอย่างไร ๒
ชีวิตควรให้เป็นอย่างไร ๓
ชีวิต ควรให้เป็นอย่างไร ๔
ชีวิตควรเป็นอยู่อย่างไร
ปรโตโฆสะที่ดี
ความนำโยนิโสมนสิการ
โยนิโสมนสิการ ๑๐ วิธี
องค์ประกอบมัชฌิมาปฏิปทา,ปัญญา
องค์ประกอบมัชฌิมาปฏิปทา,ศีล
องค์ประกอบมัชฌิมาปฏิปทา,สมาธิ
อริยสัจ
<<
มิถุนายน 2564
>>
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
13 มิถุนายน 2564
เจริญวิปัสสนากับเจริญสติปัฏฐาน 4 ต่างกันไหม
ผู้มีจิตหลุดพ้นแล้ว รู้ได้อย่างไร
ความหมาย ปฏิบัติธรรม
เจ้าชายสิทธัตถะทิ้งลูกทิ้งเมีย
ปริศนาธรรมจากงานสวดศพ
ปัญหาสังคม
โลกธรรม ๘ ประการ
พิธีกรรม
วินัย
คติธรรมจากสนิม
ประเพณี ศาสนพิธี ก็สำคัญ
กระแสสังคม
อีกหน่อยก็ลืมเชื่อเหอะ
ความคิดชีวิตแต่ละวัย
ความสัมพันธ์ระหว่างพระสงฆ์กับชาวบ้าน
ชาวพุทธคิดอย่างไรกับคนที่เลิกนับถือพุทธแล้ว
ศาสนาอิสลามสามารถเปลี่ยนศาสนาได้ไหม ?
ศาสนิกอื่น สรรเสริญพุทธคุณ ธรรมคุณ
ทำไมคนพุทธต้องใส่บาตรพระสงฆ์
ทดสอบโรคซึมเศร้าฟรี จากแพทย์ศาสตร์ มหิดล
ตั้งคำถามน่าคิด
เงิน เงิน เงิน
ใครเป็นผู้ให้บาป ใครเป็นผู้ให้บุญ
รู้เรา รู้เขา
พัดวิเศษ มนต์ตรา ผ้ายันต์ VS อาวุธ นาลันทาแตก
คู่บุญคู่บารมี
พระพุทธศาสนาจริงๆแล้วสอนอะไร
ศีลเพื่อเสริมความดีงามของชีวิต และสังคม
คนต่างศาสนิกถาม
อรหันต์
คนเป็นไปตามสภาพแวดล้อมที่ปรุงปั้น
พระพุทธศาสนาบอกความจริง
การให้ผลของกรรมในระดับต่างๆ
ธรรมะจัดสรรค์ กับ คนจัดสรรค์
สันโดษ ให้สันโดษ ไม่ให้สันโดษ เอ๊ะยังไง
ตำนาน พระปริตร
อานิสงส์ พระปริตร
ก้าวหน้าไปในบุญ
กาม ตามความหมายของพุทธธรรม
มงคล ๓๘ ประการ
สุญตา ๔ ความหมาย
มนุษย์ประเสริฐได้ด้วยการฝึกตน
ธุดงค์ ๑๓
พระพุทธเจ้ากับเพลง
วาสนา
เรียกเราว่าเป็น พุทธะ เถิดนะพราหมณ์
พรหมวิหาร ๔
เจริญวิปัสสนากับเจริญสติปัฏฐาน 4 ต่างกันไหม
ผู้มีจิตหลุดพ้นแล้ว รู้ได้อย่างไร
ความหมาย ปฏิบัติธรรม
ภาวนา
อินทรีย์ภาวนาแบบอารยชน
สุตะ
อาสภิวาจา
บุคคลแรกที่พูดได้เดินได้ทันทีที่เกิด
แก้ปัญหาแบบพุทธ
รู้ธรรมคือรู้เรื่องธรรมดา
คนธรรมต้องคู่กับรู้ธรรม
ข้อดี ข้อเสียของศรัทธา
ปฏิบัติก้าวหน้าไป ธรรมกายเจริญเอง
หลักผู้ปกครองบ้านเมือง ๔ อย่าง
อัตถะ,อรรถ
ภวังคจิต
บนบานศาลกล่าว กับ อธิษฐาน
ความไม่ยึดมั่นที่แท้
ธรรม-วินัย
ศีล กับ พรต
อินทรีย์ภาวนา
อริยบุคคล ๘
อริยบุคคล ๗
พุทธปณิธาน
กามโภคี ๑๐ ประเภท
ทุกขอริยสัจ
สิกขา,ไตรสิกขา = ศีล สมาธิ ปัญญา
พุทธธรรมสรุปได้ ๒ อย่าง
สารตั้งต้นผู้ศึกษาพุทธศาสนา
แยก สมมุติ กับ สภาวะให้ชัด
ปัญญา ๓
ปัญญา ๓ ระดับ
กิเลสต้องเห็นชัดด้วยปัญญาจึงละได้
เจริญวิปัสสนากับเจริญสติปัฏฐาน 4 ต่างกันไหม
ถาม
เจริญวิปัสสนา กับ เจริญสติปัฏฐาน 4 ต่างกันไหม
https://pantip.com/topic/40773832
"วิปัสสนา" ได้แก่ ปัญญา
(วิปัสสนาเป็นอีกชื่อหนึ่งของปัญญา)
ส่วน "สติปัฏฐาน" (แยกศัพท์ สติ+ปัฏฐาน) - ปัฏฐาน 4 เปรียบเหมือนสนามสำหรับฝึกสติ กับ ปัญญา (ปัญญาตอนนี้ชื่อ สัมปชาโน)
แล้วต่างกันไหม ? เมื่อเปรียบเช่นนั้นแล้วก็ต่างกัน ผู้เล่น (สติ +สัมปชาโน) สนาม ได้แก่ -ปัฏฐาน 4 ซึ่งใช้เป็นที่ฝึกซ้อมสติ กับ สัมปชาโน (สัมปชัญญะ) ฝึกๆซ้อมๆไป จนได้ที่แล้ว สัมปชาโนก็มีชื่อว่า วิปัสสนา
https://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=samathijit&month=04-2021&date=25&group=14&gblog=7
ปัญญา
ที่เป็นตัวความรู้ในสังขารขันธ์นั้น เป็นสิ่งที่จะต้องทำให้เกิดให้มีขึ้น ต้องฝึกปรือ ทำให้เจริญเพิ่มพูนขึ้นไปโดยลำดับ
ปัญญาจึงมีหลายขั้นหลายระดับ
และมีชื่อเรียกต่างๆ ตามขั้นของความเจริญบ้าง ตามทางเกิดของปัญญานั้นบ้าง ตามลักษณะเฉพาะของปัญญาชนิดนั้นบ้าง ยกชื่อของปัญญามาให้ดูเป็นตัวอย่าง เช่น สัมปชัญญะ วิปัสสนา ปริญญา ญาณ วิชชา อัญญา อภิญญา พุทธิ โพธิ สัมโพธิ เป็นต้น
Create Date : 13 มิถุนายน 2564
Last Update : 14 มิถุนายน 2564 11:03:42 น.
0 comments
Counter : 353 Pageviews.
Share
Tweet
ชื่อ :
* blog นี้ comment ได้เฉพาะสมาชิก
Comment :
*ส่วน comment ไม่สามารถใช้ javascript และ style sheet
สมาชิกหมายเลข 6393385
Location :
[ดู Profile ทั้งหมด]
ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
ผู้ติดตามบล็อก : 9 คน [
?
]
Webmaster - BlogGang
[Add สมาชิกหมายเลข 6393385's blog to your web]
Bloggang.com