กรรมเก่า คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ.เป็นเจ้าบทบาทเดิม จากนั้น การศึกษาอาศัยปรโตโฆสะ ซึ่งมีคติว่า "คนเป็นไปตามสภาพแวดล้อมที่ปรุงปั้น" และโยนิโสมนสิการ ซึ่งมีคติย้อนกลับว่า "ถ้าเป็นคนรู้จักคิด แม้แต่ฟังคนบ้าคนเมาพูด ก็อาจสำเร็จเป็นพระอรหันต์"
บุญ
ข้อธัมม์ที่ถาม-เถียงกันบ่อย
หลักปฏิบัติ
สภาวธรรม
ปฏิบัติธรรมให้ถูกทาง
ผู้พิพากษาตั้งตุลา ใ ห้ สั ง ค ม ส ม ดุ ล
คติธรรมสั้นๆ
ภาษาธรรมวันละคำ
รู้เขา รู้เรา
พุทธโอวาทก่อนปรินิพพาน,
ความเป็นมาของการบวช
การทำวัตรสวดมนต์
ทำยังไงจึงจะมีอายุยืนและมีความสุข
พลังดันคน
ที่ทำงานของจิต
บรรลุธรรมอะไร?
พุทธปรัชญาในสุตตันตปิฎก
ธัมมาธิบาย
สวดมนต์
ความจน เ ป็ น ทุ ก ข์ ใ น โ ล ก
เรียนบาลีเพื่อรักษาพุทธพจน์
ศีล-ธรรมไม่มาโลกาจะพินาศ
หลักธรรมสำหรับผู้ยังไม่นับถือศาสนาใดๆ
ก่อนศึกษาพุทธธรรม
ภาค ๑. มัชเฌนธรรมเทศนา
ภาค ๒. มัชฌิมาปฏิปทา
ภาค ๓. อารยธรรมวิถี
วัฒนธรรมประเพณี
จารึกธรรม
สมาธิ,ฌาน
ถ้าหลักธรรมพุทธดีจริง คงไม่สูญจากชมพูทวีปว่าซั่น
ภาวะแห่งนิพพาน
ศีลกับเจตนารมณ์ทางสังคม
คุณค่าทางจริยธรรมของไตรลักษณ์
จงกรม ไม่ใช่ จงกลม
กรรมฐาน
สติปัฏฐาน
ศีลสำหรับประชาชน
วิธีการแห่งศรัทธา (ปรโตโฆสะที่ดี)
วิธีการแห่งปัญญา (โยนิโสมนสิการ)
ทางดำเนินชีวิตสายกลาง
คุณสมบัติบุคคลโสดาบัน
กาม
ความสุข
อริยสัจ ๔
ธรรมฉันทะ - ตัณหาฉันทะ
กรรม
เถรวาท VS ลัทธิอาจารย์
นิพพาน-อนัตตา ฉบับเพียงเพื่อไม่ประมาท
ภาวนา ๔ ภาวิต ๔
สมถะ,วิปัสสนา,เจโตวิมุตติ,ปัญญาวิมุตติ
อนัตตา
สมมุติ
ศีล-สีลัพพตปรามาส
นรก สวรรค์ ในพระไตรปิฎก
วันสำคัญของชาวพุทธไทย
วิธีฝึกหูทิพย์ ตาทิพย์
ลำดับญาณ,ทวนญาณ
ความสำคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะ ศ.ประจำชาติ
<<
กุมภาพันธ์ 2565
>>
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
9 กุมภาพันธ์ 2565
ปัญหาสังคม
กตัญญูกตเวที
โลกธรรม ๘
ยโส ลทฺธา น มชฺเชยฺย
เจ้าชายสิทธัตถะทิ้งลูกทิ้งเมีย
ปริศนาธรรมจากงานสวดศพ
ปัญหาสังคม
โลกธรรม ๘ ประการ
วินัย
ประเพณี ศาสนพิธี ก็สำคัญ
ความคิดชีวิตแต่ละวัย
ความสัมพันธ์ระหว่างพระสงฆ์กับชาวบ้าน
ศาสนิกอื่น สรรเสริญพุทธคุณ ธรรมคุณ
ทำไมคนพุทธต้องใส่บาตรพระสงฆ์
ทดสอบโรคซึมเศร้าฟรี จากแพทย์ศาสตร์ มหิดล
รู้เรา รู้เขา
พัดวิเศษ มนต์ตรา ผ้ายันต์ VS อาวุธ นาลันทาแตก
คู่บุญคู่บารมี
ศีลเพื่อเสริมความดีงามของชีวิต และสังคม
ความหมาย อรหันต์
การให้ผลของกรรมในระดับต่างๆ
สันโดษ ให้สันโดษ ไม่ให้สันโดษ
ตำนาน พระปริตร
อานิสงส์ พระปริตร
ก้าวหน้าไปในบุญ
กาม ตามความหมายของพุทธธรรม
มงคล ๓๘ ประการ
สุญตา ๔ ความหมาย
มนุษย์ประเสริฐได้ด้วยการฝึกตน
ธุดงค์ ๑๓
พระพุทธเจ้ากับเพลง
วาสนา
เรียกเราว่าเป็น พุทธะ เถิดนะพราหมณ์
พรหมวิหาร ๔
เจริญวิปัสสนากับเจริญสติปัฏฐาน 4 ต่างกันไหม
ผู้มีจิตหลุดพ้นแล้ว รู้ได้อย่างไร
ความหมาย ปฏิบัติธรรม
เรื่อง ภาวนา
อินทรีย์ภาวนาแบบอารยชน
สุตะ
อาสภิวาจา
บุคคลแรกที่พูดได้เดินได้ทันทีที่เกิด
แก้ปัญหาแบบพุทธ
รู้ธรรมคือรู้เรื่องธรรมดา
คนรักธรรม ต้อง คู่กับรู้ธรรม
ข้อดี ข้อเสียของศรัทธา
หลักผู้ปกครองบ้านเมือง ๔ อย่าง
อัตถะ,อรรถ
ภวังคจิต
บน กับ อธิษฐาน
ความไม่ยึดมั่นที่แท้
ธรรม-วินัย
ระหว่างศีล กับ พรต
อินทรีย์ภาวนา
อริยบุคคล ๘
อริยบุคคล ๗
พุทธปณิธาน
กามโภคี ๑๐ ประเภท
ทุกขอริยสัจ
สิกขา,ไตรสิกขา
สารตั้งต้นผู้ศึกษาพุทธศาสนา
แยก สมมุติ กับ สภาวะให้ชัด
ปัญญา ๓ ระดับ
กิเลสต้องเห็นชัดด้วยปัญญาจึงละได้
ปัญหาสังคม
พัฒนาคนพัฒนาสังคมด้วยไตรสิกขา
เป็นคำถาม
ที่ดีกว้างครอบคลุมมนุษย์ทุกผู้ทุกคนที่โลดแล่นอยู่ในสังคม
> สังคมเราขาดธรรมะข้อใด
ถึงมีปัญหาเยอะ และจะเอาธรรมะข้อใดมาช่วยสังคมเราดี
?
สำหรับท่านที่เห็นชัดว่าธรรมะจะช่วยสังคมเราได้ ก็อยากได้ความคิดเห็นของท่านกันครับ
ตามชื่อกระทู้นั่นหล่ะครับ "สังคมเราขาดธรรมะข้อใดถึงมีปัญหาเยอะและจะเอาธรรมะข้อใดมาช่วยสังคมเราดี ? "
ก็อยากเน้นที่เป็นคำสอนจากพระพุทธเจ้าจากพระไตรปิฏกได้ก็จะดี จะได้มีอ้างอิงที่เชื่อถือได้ คือจะเกรงพวกที่คิดขึ้นเองเป็นคำสอนใหม่ๆ แต่ก็พอได้ถ้ามันพออิงคำสอนของพระพุทธเจ้าได้ชัด ไม่แหวกแนวนัก
และก็ให้เป็นธรรมะที่สามารถเข้าใจด้วยเหตุด้วยผลได้ไม่ยาก เช่น
การอยู่กับปัจจุบัน การทำสมาธิ
(ซึ่งวิทยาศาสตร์ก็พิสูจน์ได้ในระดับนึงแล้วว่าดี) การรู้จักปล่อยวาง การมีเมตตากรุณา ว่ามันดี อะไรแบบนี้
คือ
บางอย่างวิทยาศาสตร์พิสูจน์ไม่ได้
บางคนเขาก็จะไม่ฟังเลย เช่น ถ้าจะบอกอย่าทำอย่างนี้นะเดี๋ยวชาติหน้าจะเป็นนั่นเป็นนี่ หรือบอกว่าเพราะชาติที่แล้วไปทำอย่างโน้นอย่างนี้มา ชาตินี้คุณเลยเจอแบบนี้ ธรรมะแนวๆนี้เขาก็จะไม่สน มองศาสนาพุทธไร้สาระได้
https://pantip.com/topic/41257098
คำว่า "ธรรม" มาตัวเดียวมีความหมายคลุมหมดดีชั่วถูกผิดทั้งกุศล อกุศล เช่น กุสลาธัมมา อกุศลธัมมา แต่เอาเป็นว่าที่ถามหมายถึงสิ่งที่ดีงามเป็นกุศล
> ...จะเอาธรรมะข้อใดมาช่วยสังคมเราดี ?
เอาหลักธรรมสำหรับพัฒนาคน ที่เรียกว่า ไตรสิกขา (อธิศีลสิกขา อธิจิตตสิกขา อธิปัญญาสิกขา) มาช่วย ขั้นแรกเลย ก็ปัญจศีล (ศีล ๕) ที่ใช้ควบคุมกายควบคุมวาจา ถ้าคนในสังคมมีแค่นั้นก็พออยู่กันไปได้ ไม่เบียดเบียนกันทั้งทางกาย ทางวาจา
> สังคมเราขาดธรรมะข้อใด
ถึงมีปัญหาเยอะ
มองแค่นั้น ก็เห็นว่า สังคมเราขาดเบญจศีลเบญจธรรมปัญหาสังคมจึงมีเยอะ เช่น การทะเลาะวิวาททำร้ายร่างกายปล้นชิงวิ่งราวประหัตประหารกัน เป็นต้น ดังมีตัวอย่างให้เห็นทุกวี่วัน
https://www.facebook.com/photo?fbid=418268580074065&set=pcb.418268653407391
แต่ถ้ามองแค่นั้นก็ไม่เห็นต้นตอของปัญหา ต้องมองลึกลงถึงจิตใจ ต้องแก้กันที่ต้นตอ
>... ตราบใด มนุษย์ยังไม่สามารถจัดการกับปัญหาพื้นฐานแห่ง
ชีวิต
ของตน ยังวางตัววางใจหาที่ลงไม่ได้กับทุกข์ถึงขั้น
ตัวสภาวะ
ตราบนั้น มนุษย์ก็จะยังแก้ปัญหาไม่สำเร็จ ยังหลีกไม่พ้นการตามรังควานของทุกข์ ไม่ว่าจะพบสุขขนาดไหน และจะยังไม่ประสบความสุขที่แท้จริง ซึ่งเต็มอิ่ม สมบูรณ์ในตัว...
อธิ
ศีล
สิกขา อธิ
จิตต
สิกขา อธิ
ปัญญา
สิกขา เรียกสั้นๆว่า ศีล สมาธิ ปัญญา หลักธรรมสำหรับพัฒนาคนพัฒนาสังคมจากข้างนอกพอมองเห็นเข้าไปหาข้างในที่เห็นยาก จากหยาบไปหาละเอียด จะพัฒนาสังคมต้องพัฒนาคนฝึกคน เมื่อปฏิบัติชอบแล้วเข้าถึงแล้ว ก็ไม่ต้องอ้างนั่นนี่โน่น ไม่ต้องอ้างวิทยาศาสตร์เพื่อให้เขาเชื่อ ไม่ต้องล่อด้วยสวรรค์เพื่อให้ทำความดี ไม่ต้องขู่ด้วยนรกเพื่อไม่ให้เขาทำความชั่วเสียหาย
ดังความในตอนท้ายแห่งกาลามสูตร
“
กาลามชน
ทั้งหลาย อริยสาวกนั้น ผู้มี
จิตปราศจากเวร
อย่างนี้
มีจิตปราศจากความเบียดเบียน
อย่างนี้
มีจิตไม่เศร้าหมอง
อย่างนี้
มีจิตบริสุทธิ์
อย่างนี้ ย่อมได้ประสบความ
อุ่นใจ
ถึง ๔ ประการ
ตั้งแต่ในปัจจุบัน
นี้แล้ว คือ
“
ถ้าปรโลกมีจริง
ผลวิบากของกรรมที่ทำไว้ดีทำไว้ชั่วมีจริง การที่ว่าเมื่อเราแตกกายทำลายขันธ์ไปแล้ว จะเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ ก็ย่อมเป็นสิ่งที่เป็นไปได้” นี้เป็นความอุ่นใจประการที่ ๑ ที่เขาได้รับ
“
ถ้าปรโลกไม่มี
ผลวิบากของกรรมที่ทำไว้ดีทำไว้ชั่วไม่มี เราก็ครองตนอยู่โดยไม่มีทุกข์ ไม่มีเวร ไม่มีความเบียดเบียน เป็นสุขอยู่แต่ในชาติปัจจุบันนี้แล้ว” นี้เป็นความอุ่นใจประการที่ ๒ ที่เขาได้รับ
“ก็ถ้า
เมื่อคนทำความชั่ว ก็เป็นอันทำไซร้
เรามิได้คิดการชั่วร้ายต่อใครๆ ที่ไหนทุกข์จักมาถูกต้องเราผู้มิได้ทำบาปกรรมเล่า” นี้เป็นความอุ่นใจประการที่ ๓ ที่เขาได้รับ
“ก็ถ้า
เมื่อคนทำความชั่ว ก็ไม่ชื่อว่าเป็นอันทำ
ไซร้ ในกรณีนี้ เราก็มองเห็นตนเป็นผู้บริสุทธิ์ทั้งสองด้าน” นี้เป็นความอุ่นใจประการที่ ๔ ที่เขาได้รับ
Create Date : 09 กุมภาพันธ์ 2565
Last Update : 14 มกราคม 2567 17:47:13 น.
0 comments
Counter : 1089 Pageviews.
Share
Tweet
ชื่อ :
* blog นี้ comment ได้เฉพาะสมาชิก
Comment :
*ส่วน comment ไม่สามารถใช้ javascript และ style sheet
BlogGang Popular Award#20
สมาชิกหมายเลข 6393385
Location :
[ดู Profile ทั้งหมด]
ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
ผู้ติดตามบล็อก : 9 คน [
?
]
Webmaster - BlogGang
[Add สมาชิกหมายเลข 6393385's blog to your web]
Bloggang.com