Bloggang.com : weblog for you and your gang
34.4 พระสูตรหลักถัดไป คือชราสูตร [พระสูตรที่ 51]
การสนทนาธรรมนี้ต่อเนื่องมาจาก
34.3 พระสูตรหลักถัดไป คือชราสูตร [พระสูตรที่ 51]
//www.bloggang.com/mainblog.php?id=gravity-of-love&month=13-06-2014&group=4&gblog=31
ความคิดเห็นที่ 37
GravityOfLove, 11 มิถุนายน เวลา 23:36 น.
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๕ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๗
สังยุตตนิกาย สคาถวรรค เทวตาสังยุต ชราวรรคที่ ๖
๕๘. อุปปถสูตร
ว่าด้วยทางผิด
//84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=15&A=1136&Z=1144&bgc=honeydew&pagebreak=0
เทวดาทูลถามเป็นคาถาว่า
อะไรหนอบัณฑิตกล่าวว่าเป็นทางผิด
อะไรหนอสิ้นไปตามคืนและวัน
อะไรหนอเป็นมลทินของพรหมจรรย์
อะไรหนอมิใช่น้ำแต่เป็นเครื่องชำระล้าง
พระผู้มีพระภาคตรัสตอบเป็นคาถาว่า
ราคะบัณฑิตกล่าวว่าเป็นทางผิด
วัยสิ้นไปตามคืนและวัน
หญิงเป็นมลทินของพรหมจรรย์ หมู่สัตว์นี้ย่อมติดอยู่ในหญิงนี้
(ผู้ที่ถูกต้องมลทิน คือมาตุคาม ไม่สามารถทำให้บริสุทธิ์ได้)
ตบะและพรหมจรรย์นั้น มิใช่น้ำแต่เป็นเครื่องชำระล้าง
[อรรถกถา]
ตบะ (ตโป) ในที่นี้หมายถึงอินทรีย์สังวรและธุดงคคุณ
พรหมจรรย์ (พฺรหฺมจริยํ) ในที่นี้หมายถึงเมถุนวิรัติ
//84000.org/tipitaka/dic/v_seek.php?text=ตบะ
//84000.org/tipitaka/dic/v_seek.php?text=พรหมจรรย์
//84000.org/tipitaka/dic/v_seek.php?text=อินทรียสังวร
//84000.org/tipitaka/dic/d_seek.php?text=ธุดงค์_13
//84000.org/tipitaka/dic/v_seek.php?text=เมถุนวิรัติ
-------------
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๕ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๗
สังยุตตนิกาย สคาถวรรค เทวตาสังยุต ชราวรรคที่ ๖
๕๙. ทุติยสูตร
ว่าด้วยเพื่อน
//84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=15&A=1145&Z=1151&bgc=honeydew&pagebreak=0
เทวดาทูลถามเป็นคาถาว่า
อะไรหนอเป็นเพื่อนของคน
อะไรหนอย่อมปกครองคนนั้น
และสัตว์ยินดีในอะไรจึงพ้นจากทุกข์ทั้งปวงได้
พระผู้มีพระภาคตรัสตอบเป็นคาถาว่า
ศรัทธาเป็นเพื่อนของคน
(ทุติยํ เป็นเพื่อนของผู้ไปสู่สวรรค์และพระนิพพาน)
ปัญญาย่อมปกครองคนนั้น
(ปัญญาย่อมแนะนำว่า เจ้าจงทำสิ่งนี้ อย่าทำสิ่งนี้)
สัตว์ยินดีในพระนิพพานจึงพ้นจากทุกข์ทั้งปวงได้
-------------
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๕ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๗
สังยุตตนิกาย สคาถวรรค เทวตาสังยุต ชราวรรคที่ ๖
๖๐. กวิสูตร
ว่าด้วยกวี
//84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=15&A=1152&Z=1166&bgc=honeydew&pagebreak=0
เทวดาทูลถามด้วยคาถาว่า
อะไรหนอเป็นต้นเหตุของคาถา
อะไรหนอเป็นเครื่องปรากฏ (วิยญูชนํ) ของคาถาเหล่านั้น
คาถาอาศัยอะไรหนอ
อะไรหนอเป็นที่อาศัยของคาถา
พระผู้มีพระภาคตรัสตอบด้วยคาถาว่า
ฉันท์เป็นต้นเหตุของคาถา
อักขระเป็นเครื่องปรากฏของคาถา
(เพราะอักขระให้เกิดบท บทให้เกิดคาถา คาถาย่อมส่องถึงเนื้อความ)
คาถาอาศัยแล้วซึ่งชื่อ
(คาถาอาศัยการตั้งชื่อ)
กวีเป็นที่อาศัยของคาถา
(เพราะคาถาทั้งหลายย่อมเป็นไปเพราะกวี)
//84000.org/tipitaka/dic/v_seek.php?text=ฉันท์
//84000.org/tipitaka/dic/v_seek.php?text=คาถา
ความคิดเห็นที่ 38
ฐานาฐานะ, 12 มิถุนายน เวลา 20:41 น.
GravityOfLove, 4 นาทีที่แล้ว
...
11:35 PM 6/11/2014
สรุปความได้ดีทั้งสามพระสูตร.
ความคิดเห็นที่ 39
ฐานาฐานะ, 12 มิถุนายน เวลา 20:42 น.
คำถามในพระสูตรทั้งสาม
๕๘. อุปปถสูตร
//84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=15&A=1136&Z=1144
๕๙. ทุติยสูตร
//84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=15&A=1145&Z=1151
๖๐. กวิสูตร
//84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=15&A=1152&Z=1166
เมื่อศึกษาแล้วได้อะไรบ้าง.
ความคิดเห็นที่ 40
GravityOfLove, 12 มิถุนายน เวลา 21:40 น.
ตอบคำถามในพระสูตรทั้งสาม
เมื่อศึกษาแล้วได้อะไรบ้าง.
๕๘. อุปปถสูตร
//84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=15&A=1136&Z=1144
๑. พระผู้มีพระภาคตรัสว่า
ราคะบัณฑิตกล่าวว่าเป็นทางผิด วัยสิ้นไปตามคืนและวัน
หญิงเป็นมลทินของพรหมจรรย์ หมู่สัตว์นี้ย่อมติดอยู่ในหญิงนี้
ตบะและพรหมจรรย์นั้น มิใช่น้ำแต่เป็นเครื่องชำระล้าง
๒. ตโป (ตบะ) คือปฏิปทาที่เผากิเลส ได้แก่ อินทรีย์สังวร ธุดงคคุณ และทุกกรกิริยา
แต่ในที่นี้หมายถึงอินทรีย์สังวรและธุดงคคุณ
--------------
๕๙. ทุติยสูตร
//84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=15&A=1145&Z=1151
พระผู้มีพระภาคตรัสว่า
ศรัทธาเป็นเพื่อนของคน ปัญญาย่อมปกครองคนนั้น
สัตว์ยินดีในพระนิพพานจึงพ้นจากทุกข์ทั้งปวงได้
--------------
๖๐. กวิสูตร
//84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=15&A=1152&Z=1166
พระผู้มีพระภาคตรัสว่า
ฉันท์เป็นต้นเหตุของคาถา อักขระเป็นเครื่องปรากฏ
ของคาถา คาถาอาศัยแล้วซึ่งชื่อ กวีเป็นที่อาศัย
ของคาถา
ความคิดเห็นที่ 41
ฐานาฐานะ, 12 มิถุนายน เวลา 21:54 น.
GravityOfLove, 6 นาทีที่แล้ว
ตอบคำถามในพระสูตรทั้งสาม
...
9:39 PM 6/12/2014
ตอบคำถามได้ดีครับ
ขอเสริมพระสูตรที่ 3 ดังนี้ :-
บทว่า ฉนฺโท นิทานํ ความว่า ฉันท์อันมีคายติฉันท์ (ขับร้อง)
เป็นอาทิ เป็นต้นเหตุของคาถาทั้งหลาย. อธิบายว่า กวีเมื่อเริ่มคาถา
อันตั้งขึ้นในเบื้องต้น ก็ย่อมเริ่มว่า ขอคาถาจงมีอยู่โดยฉันท์
อันเราทำแล้วดังนี้.
//84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=15&i=176
คำอธิบายนี้ นึกถึงลักษณะของการแต่งเพลง
กล่าวคือ นักแต่งเพลงได้ทำนองแล้ว ก็หาถ้อยคำหรืออักขระ
มาใส่ในทำนองเพลง.
ทำนองเพลง น่าจะเทียบด้วยฉันท์ ในคำว่า
ฉันท์อันเราทำแล้วดังนี้.
เนื้อเพลง น่าจะเทียบด้วยคาถา.
ความคิดเห็นที่ 42
ฐานาฐานะ, 12 มิถุนายน เวลา 21:59 น.
เป็นอันว่า พระสูตรชื่อว่า อุปปถสูตร, ทุติยสูตรและกวิสูตร จบบริบูรณ์.
//84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=15&A=1152&Z=1166
พระสูตรหลักถัดไป คือ นามสูตร [พระสูตรที่ 61].
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๕ พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๗
สังยุตตนิกาย สคาถวรรค
นามสูตรที่ ๑
//84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=15&A=1167&Z=1175
ศึกษาอรรถกถานี้ ได้ที่ :-
//84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=15&i=178
ย้ายไปที่
//www.bloggang.com/mainblog.php?id=gravity-of-love&month=13-06-2014&group=4&gblog=33
สารบัญ ๑
//www.bloggang.com/mainblog.php?id=gravity-of-love&month=12-03-2013&group=1&gblog=1
Create Date : 13 มิถุนายน 2557
Last Update : 23 มิถุนายน 2557 9:52:06 น.
Counter : 445 Pageviews.
0 comments
Share
Tweet
แก้วมณีโชติรส
Location :
[ดู Profile ทั้งหมด]
ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
Smember
ผู้ติดตามบล็อก : 6 คน [
?
]
Group Blog
สนทนาธรรม 1 ทีฆนิกาย ~ มัชฌิมนิกาย
สนทนาธรรม 2 มัชฌิมนิกาย
สนทนาธรรม 3 มัชฌิมนิกาย
สนทนาธรรม 4 สังยุตตนิกาย
<<
มิถุนายน 2557
>>
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
13 มิถุนายน 2557
35.1 พระสูตรหลักถัดไป คือนามสูตร [พระสูตรที่ 61]
34.4 พระสูตรหลักถัดไป คือชราสูตร [พระสูตรที่ 51]
34.3 พระสูตรหลักถัดไป คือชราสูตร [พระสูตรที่ 51]
34.2 พระสูตรหลักถัดไป คือชราสูตร [พระสูตรที่ 51]
34.1 พระสูตรหลักถัดไป คือชราสูตร [พระสูตรที่ 51]
All Blog
40.9 พระสูตรหลักถัดไป คือทหรสูตร [พระสูตรที่ 112]
40.8 พระสูตรหลักถัดไป คือทหรสูตร [พระสูตรที่ 112]
40.7 พระสูตรหลักถัดไป คือทหรสูตร [พระสูตรที่ 112]
40.6 พระสูตรหลักถัดไป คือทหรสูตร [พระสูตรที่ 112]
40.5 พระสูตรหลักถัดไป คือทหรสูตร [พระสูตรที่ 112]
40.4 พระสูตรหลักถัดไป คือทหรสูตร [พระสูตรที่ 112]
40.3 พระสูตรหลักถัดไป คือทหรสูตร [พระสูตรที่ 112]
40.2 พระสูตรหลักถัดไป คือทหรสูตร [พระสูตรที่ 112]
40.1 พระสูตรหลักถัดไป คือทหรสูตร [พระสูตรที่ 112]
39.8 พระสูตรหลักถัดไป คือสิวสูตร [พระสูตรที่ 102]
39.7 พระสูตรหลักถัดไป คือสิวสูตร [พระสูตรที่ 102]
39.6 พระสูตรหลักถัดไป คือสิวสูตร [พระสูตรที่ 102]
39.5 พระสูตรหลักถัดไป คือสิวสูตร [พระสูตรที่ 102]
39.4 พระสูตรหลักถัดไป คือสิวสูตร [พระสูตรที่ 102]
39.3 พระสูตรหลักถัดไป คือสิวสูตร [พระสูตรที่ 102]
39.2 พระสูตรหลักถัดไป คือสิวสูตร [พระสูตรที่ 102]
39.1 พระสูตรหลักถัดไป คือสิวสูตร [พระสูตรที่ 102]
38.5 พระสูตรหลักถัดไป คือจันทิมสสูตร [พระสูตรที่ 92]
38.4 พระสูตรหลักถัดไป คือจันทิมสสูตร [พระสูตรที่ 92]
38.3 พระสูตรหลักถัดไป คือจันทิมสสูตร [พระสูตรที่ 92]
38.2 พระสูตรหลักถัดไป คือจันทิมสสูตร [พระสูตรที่ 92]
38.1 พระสูตรหลักถัดไป คือจันทิมสสูตร [พระสูตรที่ 92]
37.6 พระสูตรหลักถัดไป คือปฐมกัสสปสูตร [พระสูตรที่ 82]
37.5 พระสูตรหลักถัดไป คือปฐมกัสสปสูตร [พระสูตรที่ 82]
37.4 พระสูตรหลักถัดไป คือปฐมกัสสปสูตร [พระสูตรที่ 82]
37.3 พระสูตรหลักถัดไป คือปฐมกัสสปสูตร [พระสูตรที่ 82]
37.2 พระสูตรหลักถัดไป คือปฐมกัสสปสูตร [พระสูตรที่ 82]
37.1 พระสูตรหลักถัดไป คือปฐมกัสสปสูตร [พระสูตรที่ 82]
36.7 พระสูตรหลักถัดไป คือฆัตวาสูตร [พระสูตรที่ 71]
36.6 พระสูตรหลักถัดไป คือฆัตวาสูตร [พระสูตรที่ 71]
36.5 พระสูตรหลักถัดไป คือฆัตวาสูตร [พระสูตรที่ 71]
36.4 พระสูตรหลักถัดไป คือฆัตวาสูตร [พระสูตรที่ 71]
36.3 พระสูตรหลักถัดไป คือฆัตวาสูตร [พระสูตรที่ 71]
36.2 พระสูตรหลักถัดไป คือฆัตวาสูตร [พระสูตรที่ 71]
36.1 พระสูตรหลักถัดไป คือฆัตวาสูตร [พระสูตรที่ 71]
35.3 พระสูตรหลักถัดไป คือนามสูตร [พระสูตรที่ 61]
35.2 พระสูตรหลักถัดไป คือนามสูตร [พระสูตรที่ 61]
35.1 พระสูตรหลักถัดไป คือนามสูตร [พระสูตรที่ 61]
34.4 พระสูตรหลักถัดไป คือชราสูตร [พระสูตรที่ 51]
34.3 พระสูตรหลักถัดไป คือชราสูตร [พระสูตรที่ 51]
34.2 พระสูตรหลักถัดไป คือชราสูตร [พระสูตรที่ 51]
34.1 พระสูตรหลักถัดไป คือชราสูตร [พระสูตรที่ 51]
33.5 พระสูตรหลักถัดไป คืออาทิตตสูตร [พระสูตรที่ 41]
33.4 พระสูตรหลักถัดไป คืออาทิตตสูตร [พระสูตรที่ 41]
33.3 พระสูตรหลักถัดไป คืออาทิตตสูตร [พระสูตรที่ 41]
33.2 พระสูตรหลักถัดไป คืออาทิตตสูตร [พระสูตรที่ 41]
33.1 พระสูตรหลักถัดไป คืออาทิตตสูตร [พระสูตรที่ 41]
32.6 พระสูตรหลักถัดไป คือสัพภิสูตร [พระสูตรที่ 31]
32.5 พระสูตรหลักถัดไป คือสัพภิสูตร [พระสูตรที่ 31]
32.4 พระสูตรหลักถัดไป คือสัพภิสูตร [พระสูตรที่ 31]
32.3 พระสูตรหลักถัดไป คือสัพภิสูตร [พระสูตรที่ 31]
32.2 พระสูตรหลักถัดไป คือสัพภิสูตร [พระสูตรที่ 31]
32.1 พระสูตรหลักถัดไป คือสัพภิสูตร [พระสูตรที่ 31]
31.4 พระสูตรหลักถัดไป คือสัตติสูตร [พระสูตรที่ 21]
31.3 พระสูตรหลักถัดไป คือสัตติสูตร [พระสูตรที่ 21]
31.2 พระสูตรหลักถัดไป คือสัตติสูตร [พระสูตรที่ 21]
31.1 พระสูตรหลักถัดไป คือสัตติสูตร [พระสูตรที่ 21]
30.5 พระสูตรหลักถัดไป คือนันทนสูตร [พระสูตรที่ 11]
30.4 พระสูตรหลักถัดไป คือนันทนสูตร [พระสูตรที่ 11]
30.3 พระสูตรหลักถัดไป คือนันทนสูตร [พระสูตรที่ 11]
30.2 พระสูตรหลักถัดไป คือนันทนสูตร [พระสูตรที่ 11]
30.1 พระสูตรหลักถัดไป คือนันทนสูตร [พระสูตรที่ 11]
29.6 พระสูตรหลักถัดไป คือโอฆตรณสูตร [พระสูตรที่ 1]
29.5 พระสูตรหลักถัดไป คือโอฆตรณสูตร [พระสูตรที่ 1]
29.4 พระสูตรหลักถัดไป คือโอฆตรณสูตร [พระสูตรที่ 1]
29.3 พระสูตรหลักถัดไป คือโอฆตรณสูตร [พระสูตรที่ 1]
29.2 พระสูตรหลักถัดไป คือโอฆตรณสูตร [พระสูตรที่ 1]
29.1 พระสูตรหลักถัดไป คือโอฆตรณสูตร [พระสูตรที่ 1]
สารบัญย่อย ๖
สารบัญย่อย ๕
Friends Blog
Webmaster - BlogGang
[Add แก้วมณีโชติรส's blog to your weblog]
Link
Bloggang.com
Pantip.com
|
PantipMarket.com
|
Pantown.com
| © 2004
BlogGang.com
allrights reserved.
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๕ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๗
สังยุตตนิกาย สคาถวรรค เทวตาสังยุต ชราวรรคที่ ๖
๕๘. อุปปถสูตร ว่าด้วยทางผิด
//84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=15&A=1136&Z=1144&bgc=honeydew&pagebreak=0
เทวดาทูลถามเป็นคาถาว่า
อะไรหนอบัณฑิตกล่าวว่าเป็นทางผิด
อะไรหนอสิ้นไปตามคืนและวัน
อะไรหนอเป็นมลทินของพรหมจรรย์
อะไรหนอมิใช่น้ำแต่เป็นเครื่องชำระล้าง
พระผู้มีพระภาคตรัสตอบเป็นคาถาว่า
ราคะบัณฑิตกล่าวว่าเป็นทางผิด
วัยสิ้นไปตามคืนและวัน
หญิงเป็นมลทินของพรหมจรรย์ หมู่สัตว์นี้ย่อมติดอยู่ในหญิงนี้
(ผู้ที่ถูกต้องมลทิน คือมาตุคาม ไม่สามารถทำให้บริสุทธิ์ได้)
ตบะและพรหมจรรย์นั้น มิใช่น้ำแต่เป็นเครื่องชำระล้าง
[อรรถกถา]
ตบะ (ตโป) ในที่นี้หมายถึงอินทรีย์สังวรและธุดงคคุณ
พรหมจรรย์ (พฺรหฺมจริยํ) ในที่นี้หมายถึงเมถุนวิรัติ
//84000.org/tipitaka/dic/v_seek.php?text=ตบะ
//84000.org/tipitaka/dic/v_seek.php?text=พรหมจรรย์
//84000.org/tipitaka/dic/v_seek.php?text=อินทรียสังวร
//84000.org/tipitaka/dic/d_seek.php?text=ธุดงค์_13
//84000.org/tipitaka/dic/v_seek.php?text=เมถุนวิรัติ
-------------
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๕ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๗
สังยุตตนิกาย สคาถวรรค เทวตาสังยุต ชราวรรคที่ ๖
๕๙. ทุติยสูตร ว่าด้วยเพื่อน
//84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=15&A=1145&Z=1151&bgc=honeydew&pagebreak=0
เทวดาทูลถามเป็นคาถาว่า
อะไรหนอเป็นเพื่อนของคน
อะไรหนอย่อมปกครองคนนั้น
และสัตว์ยินดีในอะไรจึงพ้นจากทุกข์ทั้งปวงได้
พระผู้มีพระภาคตรัสตอบเป็นคาถาว่า
ศรัทธาเป็นเพื่อนของคน (ทุติยํ เป็นเพื่อนของผู้ไปสู่สวรรค์และพระนิพพาน)
ปัญญาย่อมปกครองคนนั้น (ปัญญาย่อมแนะนำว่า เจ้าจงทำสิ่งนี้ อย่าทำสิ่งนี้)
สัตว์ยินดีในพระนิพพานจึงพ้นจากทุกข์ทั้งปวงได้
-------------
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๕ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๗
สังยุตตนิกาย สคาถวรรค เทวตาสังยุต ชราวรรคที่ ๖
๖๐. กวิสูตร ว่าด้วยกวี
//84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=15&A=1152&Z=1166&bgc=honeydew&pagebreak=0
เทวดาทูลถามด้วยคาถาว่า
อะไรหนอเป็นต้นเหตุของคาถา
อะไรหนอเป็นเครื่องปรากฏ (วิยญูชนํ) ของคาถาเหล่านั้น
คาถาอาศัยอะไรหนอ
อะไรหนอเป็นที่อาศัยของคาถา
พระผู้มีพระภาคตรัสตอบด้วยคาถาว่า
ฉันท์เป็นต้นเหตุของคาถา
อักขระเป็นเครื่องปรากฏของคาถา
(เพราะอักขระให้เกิดบท บทให้เกิดคาถา คาถาย่อมส่องถึงเนื้อความ)
คาถาอาศัยแล้วซึ่งชื่อ (คาถาอาศัยการตั้งชื่อ)
กวีเป็นที่อาศัยของคาถา (เพราะคาถาทั้งหลายย่อมเป็นไปเพราะกวี)
//84000.org/tipitaka/dic/v_seek.php?text=ฉันท์
//84000.org/tipitaka/dic/v_seek.php?text=คาถา