Bloggang.com : weblog for you and your gang
38.3 พระสูตรหลักถัดไป คือจันทิมสสูตร [พระสูตรที่ 92]
การสนทนาธรรมนี้ต่อเนื่องมาจาก
38.2 พระสูตรหลักถัดไป คือจันทิมสสูตร [พระสูตรที่ 92]
//www.bloggang.com/mainblog.php?id=gravity-of-love&month=08-07-2014&group=4&gblog=50
ความคิดเห็นที่ 25
GravityOfLove, 30 มิถุนายน 2557 เวลา 10:47 น.
กรุณาอธิบายค่ะ
๙๖. จันทนสูตร
//84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=15&A=1663&Z=1674&bgc=honeydew&pagebreak=0
อีกนัยหนึ่ง กามภพทรงถือเอาด้วยกามสัญญา รูปภพทรงถือเอาด้วยรูปสังโยชน์
อรูปภพทรงถือเอาด้วยศัพท์
ทั้งสองนั้น
ขอบพระคุณค่ะ
ความคิดเห็นที่ 26
ฐานาฐานะ, 30 มิถุนายน 2557 เวลา 13:02 น.
GravityOfLove, 1 ชั่วโมงที่แล้ว
กรุณาอธิบายค่ะ
...
10:46 AM 6/30/2014
อีกนัยหนึ่ง กามภพทรงถือเอาด้วยกามสัญญา รูปภพทรงถือเอาด้วยรูปสังโยชน์
อรูปภพทรงถือเอาด้วยศัพท์ทั้งสองนั้น
อธิบายว่า สันนิษฐานว่า น่าจะมีนัยว่า
อีกนัยหนึ่ง กามภพทรงถือเอาด้วยกามสัญญา รูปภพทรงถือเอาด้วยรูปสังโยชน์
อรูปภพทรงถือเอาด้วยศัพท์ทั้งสองนั้น
คือ
อีกนัยหนึ่ง กามภพทรงถือเอาด้วยกามสัญญา รูปภพทรงถือเอาด้วยรูปสังโยชน์
เมื่อตรัสกามภพ รูปภพ (ศัพท์ทั้งสอง) ก็เป็นอันว่า ประหนึ่งตรัสรวมถึงอรูปภพด้วย.
ความคิดเห็นที่ 27
GravityOfLove, 30 มิถุนายน 2557 เวลา 18:10 น.
เข้าใจแล้วค่ะ ขอบพระคุณค่ะ
ความคิดเห็นที่ 28
GravityOfLove, 30 มิถุนายน 2557 เวลา 18:11 น.
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๕ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๗
สังยุตตนิกาย สคาถวรรค เทวปุตตสังยุต อนาถปิณฑิกวรรคที่ ๒
๙๖. จันทนสูตร
ว่าด้วยจันทนเทวบุตร
//84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=15&A=1663&Z=1674&bgc=honeydew&pagebreak=0
จันทนเทวบุตร กราบทูลพระผู้มีพระภาคด้วยคาถาว่า
บุคคลผู้ไม่เกียจคร้านทั้งกลางคืนและกลางวัน จะข้ามโอฆะได้อย่างไร
ใครจะไม่จมในห้วงน้ำลึก อันไม่มีที่พึ่งพิง ไม่มีที่ยึดเหนี่ยว
พระผู้มีพระภาคตรัสด้วยคาถาว่า
บุคคลผู้สมบูรณ์ด้วยศีล ในกาลทุกเมื่อ มีปัญญา
มีใจตั้งมั่นดีแล้ว
(ตั้งมั่นด้วยดีด้วยอัปปนาสมาธิบ้าง ด้วยอุปจารสมาธิบ้าง)
ปรารภความเพียร มีตนส่งไปแล้ว
(อุทิศตนทั้งกายและใจ)
ย่อมข้ามโอฆะที่ข้ามได้ยาก
เขาเว้นขาดแล้วจากกามสัญญา
(ล่วงสังโยชน์เบื้องต่ำ ๕)
ล่วงรูปสัญโญชน์ได้
(ล่วงสังโยชน์เบื้องสูง ๕)
มีภพเป็นที่เพลิดเพลิน
(นันทิภพ)
สิ้นไปแล้ว
ย่อมไม่จมในห้วงน้ำลึก
(โอฆะ)
//84000.org/tipitaka/dic/d_seek.php?text=สมาธิ
//84000.org/tipitaka/dic/d_seek.php?text=โอฆะ
//84000.org/tipitaka/dic/d_seek.php?text=สังโยชน์_10
//84000.org/tipitaka/dic/d_seek.php?text=อภิสังขาร_3
[อรรถกถา] นันทิภพ คือ
อภิสังขาร คือ กรรม ๓ (ปุญญาภิสังขาร อปุญญาภิสังขาร และอเนญชาภิสังขาร)
---------------
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๕ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๗
สังยุตตนิกาย สคาถวรรค เทวปุตตสังยุต อนาถปิณฑิกวรรคที่ ๒
๙๗. วาสุทัตตสูตร
ว่าด้วยวาสุทัตตเทวบุตร
//84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=15&A=1675&Z=1682&bgc=honeydew&pagebreak=0
วาสุทัตตเทวบุตร กล่าวคาถาในสำนักพระผู้มีพระภาคว่า
ภิกษุพึงมีสติเพื่อละกามราคะ งดเว้นเสีย
ประดุจบุคคลถูกแทงด้วยหอก ประดุจบุคคลถูกไฟไหม้ศีรษะอยู่
(การละกามราคะที่เทวดากล่าว เป็นการข่มไว้ด้วยฌานเท่านั้น
(วิกขัมภนนิโรธ) ซึ่งย่อมกำเริบได้อีกในวัฏฏะสงสาร)
พระผู้มีพระภาคตรัสพระคาถาว่า
ภิกษุพึงมีสติเพื่อการละสักกายทิฏฐิ งดเว้นเสีย
ประดุจบุคคลถูกแทงด้วยหอก ประดุจบุคคลถูกไฟไหม้ศีรษะอยู่
(หากบุคคลถอนสักกายทิฏฐิด้วยมรรคปัญญาแล้ว ย่อมสิ้นอาสวะทั้งหมด
ภายใน ๗ ชาติโดยนัยของคุณลักษณะของพระโสดาบัน)
//84000.org/tipitaka/dic/d_seek.php?text=วิกขัมภนนิโรธ&detail=on
//84000.org/tipitaka/dic/d_seek.php?text=สักกายทิฏฐิ&detail=on
อรรถกถาสัตติสูตร
//84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=15&i=56
นขสิขสูตร
//84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=16&A=3540&Z=3712
//www.bloggang.com/mainblog.php?id=gravity-of-love&month=18-05-2014&group=4&gblog=13
ความคิดเห็นที่ 29
ฐานาฐานะ, 1 กรกฎาคม 2557 เวลา 20:29 น.
GravityOfLove, 30 มิถุนายน เวลา 18:11 น.
...
6:09 PM 6/30/2014
สรุปความได้ดีครับ.
ความคิดเห็นที่ 30
ฐานาฐานะ, 1 กรกฎาคม 2557 เวลา 20:31 น.
คำถามในพระสูตรทั้งสอง
๙๖. จันทนสูตร
//84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=15&A=1663&Z=1674
๙๗. วาสุทัตตสูตร
//84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=15&A=1675&Z=1682
เมื่อศึกษาแล้วได้อะไรบ้าง.
ความคิดเห็นที่ 31
GravityOfLove, 1 กรกฎาคม 2557 เวลา 21:39 น.
ตอบคำถามในพระสูตรทั้งสอง
เมื่อศึกษาแล้วได้อะไรบ้าง.
๙๖. จันทนสูตร
//84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=15&A=1663&Z=1674
พระผู้มีพระภาคตรัสว่า
บุคคลผู้สมบูรณ์ด้วยศีล ในกาลทุกเมื่อ มีปัญญา
มีใจตั้งมั่นดีแล้ว ปรารภความเพียร มีตนส่งไปแล้ว
ย่อมข้ามโอฆะที่ข้ามได้ยาก เขาเว้นขาดแล้วจากกามสัญญา
ล่วงรูปสัญโญชน์ได้ มีภพเป็นที่เพลิดเพลินสิ้นไปแล้ว
ย่อมไม่จมในห้วงน้ำลึก
...............
๙๗. วาสุทัตตสูตร
//84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=15&A=1675&Z=1682
พระผู้มีพระภาคตรัสว่า
ภิกษุพึงมีสติเพื่อการละสักกายทิฏฐิ งดเว้นเสีย
ประดุจบุคคลถูกแทงด้วยหอก ประดุจบุคคลถูกไฟไหม้ศีรษะอยู่
ความคิดเห็นที่ 32
ฐานาฐานะ, 1 กรกฎาคม 2557 เวลา 21:48 น.
GravityOfLove, 5 นาทีที่แล้ว
ตอบคำถามในพระสูตรทั้งสอง
...
9:39 PM 7/1/2014
ตอบคำถามได้ดีครับ.
ความคิดเห็นที่ 33
ฐานาฐานะ, 1 กรกฎาคม 2557 เวลา 21:55 น.
เป็นอันว่า พระสูตรชื่อว่า จันทนสูตรและวาสุทัตตสูตร จบบริบูรณ์.
//84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=15&A=1663&Z=1682
พระสูตรหลักถัดไป คือ สุพรหมสูตร [พระสูตรที่ 98].
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๕ พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๗
สังยุตตนิกาย สคาถวรรค
สุพรหมสูตรที่ ๗
//84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=15&A=1683&Z=1694
ศึกษาอรรถกถานี้ ได้ที่ :-
//84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=15&i=264
ย้ายไปที่
//www.bloggang.com/mainblog.php?id=gravity-of-love&month=08-07-2014&group=4&gblog=52
สารบัญ ๑
//www.bloggang.com/mainblog.php?id=gravity-of-love&month=12-03-2013&group=1&gblog=1
Create Date : 08 กรกฎาคม 2557
Last Update : 8 กรกฎาคม 2557 11:24:26 น.
Counter : 408 Pageviews.
0 comments
Share
Tweet
แก้วมณีโชติรส
Location :
[ดู Profile ทั้งหมด]
ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
Smember
ผู้ติดตามบล็อก : 6 คน [
?
]
Group Blog
สนทนาธรรม 1 ทีฆนิกาย ~ มัชฌิมนิกาย
สนทนาธรรม 2 มัชฌิมนิกาย
สนทนาธรรม 3 มัชฌิมนิกาย
สนทนาธรรม 4 สังยุตตนิกาย
<<
กรกฏาคม 2557
>>
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
8 กรกฏาคม 2557
39.1 พระสูตรหลักถัดไป คือสิวสูตร [พระสูตรที่ 102]
38.5 พระสูตรหลักถัดไป คือจันทิมสสูตร [พระสูตรที่ 92]
38.4 พระสูตรหลักถัดไป คือจันทิมสสูตร [พระสูตรที่ 92]
38.3 พระสูตรหลักถัดไป คือจันทิมสสูตร [พระสูตรที่ 92]
38.2 พระสูตรหลักถัดไป คือจันทิมสสูตร [พระสูตรที่ 92]
All Blog
40.9 พระสูตรหลักถัดไป คือทหรสูตร [พระสูตรที่ 112]
40.8 พระสูตรหลักถัดไป คือทหรสูตร [พระสูตรที่ 112]
40.7 พระสูตรหลักถัดไป คือทหรสูตร [พระสูตรที่ 112]
40.6 พระสูตรหลักถัดไป คือทหรสูตร [พระสูตรที่ 112]
40.5 พระสูตรหลักถัดไป คือทหรสูตร [พระสูตรที่ 112]
40.4 พระสูตรหลักถัดไป คือทหรสูตร [พระสูตรที่ 112]
40.3 พระสูตรหลักถัดไป คือทหรสูตร [พระสูตรที่ 112]
40.2 พระสูตรหลักถัดไป คือทหรสูตร [พระสูตรที่ 112]
40.1 พระสูตรหลักถัดไป คือทหรสูตร [พระสูตรที่ 112]
39.8 พระสูตรหลักถัดไป คือสิวสูตร [พระสูตรที่ 102]
39.7 พระสูตรหลักถัดไป คือสิวสูตร [พระสูตรที่ 102]
39.6 พระสูตรหลักถัดไป คือสิวสูตร [พระสูตรที่ 102]
39.5 พระสูตรหลักถัดไป คือสิวสูตร [พระสูตรที่ 102]
39.4 พระสูตรหลักถัดไป คือสิวสูตร [พระสูตรที่ 102]
39.3 พระสูตรหลักถัดไป คือสิวสูตร [พระสูตรที่ 102]
39.2 พระสูตรหลักถัดไป คือสิวสูตร [พระสูตรที่ 102]
39.1 พระสูตรหลักถัดไป คือสิวสูตร [พระสูตรที่ 102]
38.5 พระสูตรหลักถัดไป คือจันทิมสสูตร [พระสูตรที่ 92]
38.4 พระสูตรหลักถัดไป คือจันทิมสสูตร [พระสูตรที่ 92]
38.3 พระสูตรหลักถัดไป คือจันทิมสสูตร [พระสูตรที่ 92]
38.2 พระสูตรหลักถัดไป คือจันทิมสสูตร [พระสูตรที่ 92]
38.1 พระสูตรหลักถัดไป คือจันทิมสสูตร [พระสูตรที่ 92]
37.6 พระสูตรหลักถัดไป คือปฐมกัสสปสูตร [พระสูตรที่ 82]
37.5 พระสูตรหลักถัดไป คือปฐมกัสสปสูตร [พระสูตรที่ 82]
37.4 พระสูตรหลักถัดไป คือปฐมกัสสปสูตร [พระสูตรที่ 82]
37.3 พระสูตรหลักถัดไป คือปฐมกัสสปสูตร [พระสูตรที่ 82]
37.2 พระสูตรหลักถัดไป คือปฐมกัสสปสูตร [พระสูตรที่ 82]
37.1 พระสูตรหลักถัดไป คือปฐมกัสสปสูตร [พระสูตรที่ 82]
36.7 พระสูตรหลักถัดไป คือฆัตวาสูตร [พระสูตรที่ 71]
36.6 พระสูตรหลักถัดไป คือฆัตวาสูตร [พระสูตรที่ 71]
36.5 พระสูตรหลักถัดไป คือฆัตวาสูตร [พระสูตรที่ 71]
36.4 พระสูตรหลักถัดไป คือฆัตวาสูตร [พระสูตรที่ 71]
36.3 พระสูตรหลักถัดไป คือฆัตวาสูตร [พระสูตรที่ 71]
36.2 พระสูตรหลักถัดไป คือฆัตวาสูตร [พระสูตรที่ 71]
36.1 พระสูตรหลักถัดไป คือฆัตวาสูตร [พระสูตรที่ 71]
35.3 พระสูตรหลักถัดไป คือนามสูตร [พระสูตรที่ 61]
35.2 พระสูตรหลักถัดไป คือนามสูตร [พระสูตรที่ 61]
35.1 พระสูตรหลักถัดไป คือนามสูตร [พระสูตรที่ 61]
34.4 พระสูตรหลักถัดไป คือชราสูตร [พระสูตรที่ 51]
34.3 พระสูตรหลักถัดไป คือชราสูตร [พระสูตรที่ 51]
34.2 พระสูตรหลักถัดไป คือชราสูตร [พระสูตรที่ 51]
34.1 พระสูตรหลักถัดไป คือชราสูตร [พระสูตรที่ 51]
33.5 พระสูตรหลักถัดไป คืออาทิตตสูตร [พระสูตรที่ 41]
33.4 พระสูตรหลักถัดไป คืออาทิตตสูตร [พระสูตรที่ 41]
33.3 พระสูตรหลักถัดไป คืออาทิตตสูตร [พระสูตรที่ 41]
33.2 พระสูตรหลักถัดไป คืออาทิตตสูตร [พระสูตรที่ 41]
33.1 พระสูตรหลักถัดไป คืออาทิตตสูตร [พระสูตรที่ 41]
32.6 พระสูตรหลักถัดไป คือสัพภิสูตร [พระสูตรที่ 31]
32.5 พระสูตรหลักถัดไป คือสัพภิสูตร [พระสูตรที่ 31]
32.4 พระสูตรหลักถัดไป คือสัพภิสูตร [พระสูตรที่ 31]
32.3 พระสูตรหลักถัดไป คือสัพภิสูตร [พระสูตรที่ 31]
32.2 พระสูตรหลักถัดไป คือสัพภิสูตร [พระสูตรที่ 31]
32.1 พระสูตรหลักถัดไป คือสัพภิสูตร [พระสูตรที่ 31]
31.4 พระสูตรหลักถัดไป คือสัตติสูตร [พระสูตรที่ 21]
31.3 พระสูตรหลักถัดไป คือสัตติสูตร [พระสูตรที่ 21]
31.2 พระสูตรหลักถัดไป คือสัตติสูตร [พระสูตรที่ 21]
31.1 พระสูตรหลักถัดไป คือสัตติสูตร [พระสูตรที่ 21]
30.5 พระสูตรหลักถัดไป คือนันทนสูตร [พระสูตรที่ 11]
30.4 พระสูตรหลักถัดไป คือนันทนสูตร [พระสูตรที่ 11]
30.3 พระสูตรหลักถัดไป คือนันทนสูตร [พระสูตรที่ 11]
30.2 พระสูตรหลักถัดไป คือนันทนสูตร [พระสูตรที่ 11]
30.1 พระสูตรหลักถัดไป คือนันทนสูตร [พระสูตรที่ 11]
29.6 พระสูตรหลักถัดไป คือโอฆตรณสูตร [พระสูตรที่ 1]
29.5 พระสูตรหลักถัดไป คือโอฆตรณสูตร [พระสูตรที่ 1]
29.4 พระสูตรหลักถัดไป คือโอฆตรณสูตร [พระสูตรที่ 1]
29.3 พระสูตรหลักถัดไป คือโอฆตรณสูตร [พระสูตรที่ 1]
29.2 พระสูตรหลักถัดไป คือโอฆตรณสูตร [พระสูตรที่ 1]
29.1 พระสูตรหลักถัดไป คือโอฆตรณสูตร [พระสูตรที่ 1]
สารบัญย่อย ๖
สารบัญย่อย ๕
Friends Blog
Webmaster - BlogGang
[Add แก้วมณีโชติรส's blog to your weblog]
Link
Bloggang.com
Pantip.com
|
PantipMarket.com
|
Pantown.com
| © 2004
BlogGang.com
allrights reserved.
กรุณาอธิบายค่ะ
๙๖. จันทนสูตร
//84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=15&A=1663&Z=1674&bgc=honeydew&pagebreak=0
อีกนัยหนึ่ง กามภพทรงถือเอาด้วยกามสัญญา รูปภพทรงถือเอาด้วยรูปสังโยชน์
อรูปภพทรงถือเอาด้วยศัพท์ทั้งสองนั้น
ขอบพระคุณค่ะ