Bloggang.com : weblog for you and your gang
40.2 พระสูตรหลักถัดไป คือทหรสูตร [พระสูตรที่ 112]
การสนทนาธรรมนี้ต่อเนื่องมาจาก
40.1 พระสูตรหลักถัดไป คือทหรสูตร [พระสูตรที่ 112]
//www.bloggang.com/mainblog.php?id=gravity-of-love&month=05-08-2014&group=4&gblog=62
ความคิดเห็นที่ 19
GravityOfLove, 29 กรกฎาคม 2557 เวลา 22:45 น.
จากอัคคัญญสูตรค่ะ
[๖๓] ดูกรวาเสฏฐะและภารทวาชะ เพราะเหตุผู้ที่เป็นหัวหน้าอัน
มหาชนสมมติ ดังนี้แล อักขระว่า มหาชนสมมติ จึงอุบัติขึ้นเป็นอันดับแรก
เพราะเหตุผู้ที่เป็นหัวหน้า เป็นใหญ่ยิ่งแห่งเขตทั้งหลาย ดังนี้แล อักขระว่า
กษัตริย์ กษัตริย์ จึงอุบัติขึ้นเป็นอันดับที่สอง
//84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=11&A=1703&Z=2129&pagebreak=0
ความคิดเห็นที่ 20
ฐานาฐานะ, 29 กรกฎาคม 2557 เวลา 22:48 น.
GravityOfLove, 1 นาทีที่แล้ว
จากอัคคัญญสูตรค่ะ
...
10:45 PM 7/29/2014
ถูกต้องครับ.
เห็นคำถามแล้ว นึกถึงคำตอบได้เลย
หรือว่า ค้นก่อนจึงได้คำตอบ?
ความคิดเห็นที่ 21
GravityOfLove, 29 กรกฎาคม 2557 เวลา 22:58 น.
นึกได้ว่าเรื่องอักขระที่ผ่านมาก็มีอยู่พระสูตรเดียว
ค้นด้วยคำว่า อักขระ ค่ะ
ความคิดเห็นที่ 22
ฐานาฐานะ, 29 กรกฎาคม 2557 เวลา 23:02 น.
รับทราบครับ กวิสูตรที่ ๑๐ ก็มีคำว่า อักขระ
แต่คงเป็นเพราะว่า เจอคำตอบก่อน จึงไม่เห็นกวิสูตร.
ความคิดเห็นที่ 23
ฐานาฐานะ, 29 กรกฎาคม 2557 เวลา 23:03 น.
เป็นอันว่า พระสูตรชื่อว่า ทหรสูตร จบบริบูรณ์.
//84000.org/tipitaka/read/v.php?B=15&A=2153&Z=2217
พระสูตรหลักถัดไป คือ ปุริสสูตร [พระสูตรที่ 113].
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๕ พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๗
สังยุตตนิกาย สคาถวรรค
ปุริสสูตรที่ ๒
//84000.org/tipitaka/read/v.php?B=15&A=2218&Z=2243
ศึกษาอรรถกถานี้ ได้ที่ :-
//84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=15&i=328
ความคิดเห็นที่ 24
GravityOfLove, 29 กรกฎาคม 2557 เวลา 23:10 น.
๑๑๓. ปุริสสูตร
//84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=15&A=2218&Z=2243&bgc=snow&pagebreak=0
เต่ารั้ง, ขุยไผ่ฆ่าตัวมันเองอย่างไรคะ
ขอบพระคุณค่ะ
ความคิดเห็นที่ 25
ฐานาฐานะ, 29 กรกฎาคม 2557 เวลา 23:17 น.
GravityOfLove, 51 วินาทีที่แล้ว
...
11:10 PM 7/29/2014
ไม่ทราบเหมือนกันครับ
สันนิษฐานว่า
ผลเต่ารั้ง น่าจะหนักทำให้ลำต้นพังทลายลง
หรือว่า ผลนั้นเรียกคนหรือสัตว์มา แล้วคนหรือสัตว์
ก็ทำลาย เพื่อเอาผล.
ขุยไผ่ น่าจะเกิดมาแทรกเป็นหน่อไผ่ แล้วทำให้
ต้นเดิมอยู่ไม่ได้.
23:16 29/7/2557
เต่ารั้ง ดู เต่าร้าง.
เต่าร้าง น. ชื่อปาล์ม ๒ ชนิดในสกุล Caryota วงศ์ Palmae คือ
ชนิด C. mitis Lour. ต้นเป็นกอและชนิด C. urens L.
ต้นคล้ายหมาก ผลเป็นทะลาย, เต่ารั้ง หรือ หมากคัน
ก็เรียก.
//rirs3.royin.go.th/new-search/word-search-all-x.asp
ความคิดเห็นที่ 26
GravityOfLove, 29 กรกฎาคม 2557 เวลา 23:26 น.
ขอบพระคุณค่ะ
ความคิดเห็นที่ 27
GravityOfLove, 29 กรกฎาคม 2557 เวลา 23:27 น.
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๕ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๗
สังยุตตนิกาย สคาถวรรค โกสลสังยุตต์ ปฐมวรรคที่ ๑
.
๑๑๓. ปุริสสูตร
ว่าด้วยธรรมที่ไม่เกิดประโยชน์แก่บุรุษ
//84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=15&A=2218&Z=2243&bgc=snow&pagebreak=0
สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน
อารามแห่งท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐี เขตพระนครสาวัตถี
พระเจ้าปเสนทิโกศลเสด็จเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาค
ทรงถวายบังคมพระผู้มีพระภาค แล้วกราบทูลว่า
ธรรมกี่อย่างเมื่อบังเกิดขึ้นในภายในของบุคคล ย่อมบังเกิดขึ้น
เพื่อความไม่เป็นประโยชน์ เพื่อความทุกข์ เพื่อความอยู่ไม่สบาย
พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่า
ธรรม ๓ อย่างคือ ๑. โลภะ ๒. โทสะ ๓. โมหะ
เมื่อบังเกิดขึ้นในภายในของบุคคล ย่อมบังเกิดขึ้นเพื่อความไม่เป็นประโยชน์
เพื่อความทุกข์ เพื่อความอยู่ไม่สบาย
//84000.org/tipitaka/dic/d_seek.php?text=อกุศลมูล_3
พระผู้มีพระภาคตรัสพระคาถาต่อไปอีกว่า
โลภะ โทสะ และโมหะ ที่เกิดขึ้นในตนย่อมบั่นรอนบุคคลผู้ใจบาป
เหมือนผลของตนย่อมบั่นรอนต้นเต่ารั้ง* ฉะนั้น
*ฉบับมหาจุฬาฯ แปลว่า เหมือนขุยไผ่กำจัดต้นไผ่
//www.geocities.ws/tmchote/tpd-mcu/tpd15.htm
ความคิดเห็นที่ 28
ฐานาฐานะ, 30 กรกฎาคม 2557 เวลา 20:51 น.
GravityOfLove, 21 ชั่วโมงที่แล้ว
...
11:26 PM 7/29/2014
สรุปความได้ดีครับ.
เสริมเพื่อช่วยจำได้ ดังนี้ :-
คำว่า ตจสารํว
ตจ หนัง, เปลือก
สารํ สาระแก่นสาร, แก่น
ตจสารํว ต้นไม้ที่มีเปลือกเป็นแก่น.
[๓๓๐] อิทมโวจ ฯเปฯ
โลโภ โทโส จ โมโห จ ปุริสํ ปาปเจตสํ
หึสนฺติ อตฺตสมฺภูตา ตจสารํว สปฺผลนฺติ
๑-
ฯ
ตติยํ ราชสุตฺตํ
เชิงอรรถ:
๑
ม. ยุ. สมฺผลนฺติ ฯ
//budsir.mahidol.ac.th/cgi-bin/Budsir.cgi/SearchItem?mode=1&valume=15&item=330&Roman=0
//budsir.mahidol.ac.th/cgi-bin/Budsir.cgi/SearchItem?mode=1&valume=15&item=333&Roman=0
ความคิดเห็นที่ 29
ฐานาฐานะ, 30 กรกฎาคม 2557 เวลา 20:53 น.
คำถามในปุริสสูตร
//84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=15&A=2218&Z=2243
เมื่อศึกษาแล้วได้อะไรบ้าง.
ความคิดเห็นที่ 30
GravityOfLove, 30 กรกฎาคม 2557 เวลา 21:07 น.
ตอบคำถามในปุริสสูตร
//84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=15&A=2218&Z=2243
เมื่อศึกษาแล้วได้อะไรบ้าง.
๑. พระผู้มีพระภาคตรัสว่า
ธรรม ๓ อย่างคือ ๑. โลภะ ๒. โทสะ ๓. โมหะ
เมื่อบังเกิดขึ้นในภายในของบุคคล ย่อมบังเกิดขึ้นเพื่อความไม่เป็นประโยชน์
เพื่อความทุกข์ เพื่อความอยู่ไม่สบาย
โลภะ โทสะ และโมหะ ที่เกิดขึ้นในตนย่อมบั่นรอนบุคคลผู้ใจบาป
เหมือนผลของตนย่อมบั่นรอนต้นเต่ารั้ง ฉะนั้น
๒. พระเจ้าปเสนทิโกศลทรงอภิวาทพระผู้มีพระภาคในพระสูตรนี้
ก็เพราะทรงถึงสรณะแล้วในทหรสูตร
ทหรสูตร
//84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=15&A=2153&Z=2217&bgc=snow&pagebreak=0
ความคิดเห็นที่ 31
ฐานาฐานะ, 30 กรกฎาคม 2557 เวลา 21:10 น.
GravityOfLove, 32 วินาทีที่แล้ว
ตอบคำถามในปุริสสูตร
//84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=15&A=2218&Z=2243
...
9:07 PM 7/30/2014
ตอบคำถามได้ดีครับ.
ย้ายไปที
//www.bloggang.com/mainblog.php?id=gravity-of-love&month=05-08-2014&group=4&gblog=64
สารบัญ ๑
//www.bloggang.com/mainblog.php?id=gravity-of-love&month=12-03-2013&group=1&gblog=1
Create Date : 05 สิงหาคม 2557
Last Update : 5 สิงหาคม 2557 23:05:37 น.
Counter : 464 Pageviews.
0 comments
Share
Tweet
แก้วมณีโชติรส
Location :
[ดู Profile ทั้งหมด]
ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
Smember
ผู้ติดตามบล็อก : 6 คน [
?
]
Group Blog
สนทนาธรรม 1 ทีฆนิกาย ~ มัชฌิมนิกาย
สนทนาธรรม 2 มัชฌิมนิกาย
สนทนาธรรม 3 มัชฌิมนิกาย
สนทนาธรรม 4 สังยุตตนิกาย
<<
สิงหาคม 2557
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
5 สิงหาคม 2557
40.3 พระสูตรหลักถัดไป คือทหรสูตร [พระสูตรที่ 112]
40.2 พระสูตรหลักถัดไป คือทหรสูตร [พระสูตรที่ 112]
40.1 พระสูตรหลักถัดไป คือทหรสูตร [พระสูตรที่ 112]
All Blog
40.9 พระสูตรหลักถัดไป คือทหรสูตร [พระสูตรที่ 112]
40.8 พระสูตรหลักถัดไป คือทหรสูตร [พระสูตรที่ 112]
40.7 พระสูตรหลักถัดไป คือทหรสูตร [พระสูตรที่ 112]
40.6 พระสูตรหลักถัดไป คือทหรสูตร [พระสูตรที่ 112]
40.5 พระสูตรหลักถัดไป คือทหรสูตร [พระสูตรที่ 112]
40.4 พระสูตรหลักถัดไป คือทหรสูตร [พระสูตรที่ 112]
40.3 พระสูตรหลักถัดไป คือทหรสูตร [พระสูตรที่ 112]
40.2 พระสูตรหลักถัดไป คือทหรสูตร [พระสูตรที่ 112]
40.1 พระสูตรหลักถัดไป คือทหรสูตร [พระสูตรที่ 112]
39.8 พระสูตรหลักถัดไป คือสิวสูตร [พระสูตรที่ 102]
39.7 พระสูตรหลักถัดไป คือสิวสูตร [พระสูตรที่ 102]
39.6 พระสูตรหลักถัดไป คือสิวสูตร [พระสูตรที่ 102]
39.5 พระสูตรหลักถัดไป คือสิวสูตร [พระสูตรที่ 102]
39.4 พระสูตรหลักถัดไป คือสิวสูตร [พระสูตรที่ 102]
39.3 พระสูตรหลักถัดไป คือสิวสูตร [พระสูตรที่ 102]
39.2 พระสูตรหลักถัดไป คือสิวสูตร [พระสูตรที่ 102]
39.1 พระสูตรหลักถัดไป คือสิวสูตร [พระสูตรที่ 102]
38.5 พระสูตรหลักถัดไป คือจันทิมสสูตร [พระสูตรที่ 92]
38.4 พระสูตรหลักถัดไป คือจันทิมสสูตร [พระสูตรที่ 92]
38.3 พระสูตรหลักถัดไป คือจันทิมสสูตร [พระสูตรที่ 92]
38.2 พระสูตรหลักถัดไป คือจันทิมสสูตร [พระสูตรที่ 92]
38.1 พระสูตรหลักถัดไป คือจันทิมสสูตร [พระสูตรที่ 92]
37.6 พระสูตรหลักถัดไป คือปฐมกัสสปสูตร [พระสูตรที่ 82]
37.5 พระสูตรหลักถัดไป คือปฐมกัสสปสูตร [พระสูตรที่ 82]
37.4 พระสูตรหลักถัดไป คือปฐมกัสสปสูตร [พระสูตรที่ 82]
37.3 พระสูตรหลักถัดไป คือปฐมกัสสปสูตร [พระสูตรที่ 82]
37.2 พระสูตรหลักถัดไป คือปฐมกัสสปสูตร [พระสูตรที่ 82]
37.1 พระสูตรหลักถัดไป คือปฐมกัสสปสูตร [พระสูตรที่ 82]
36.7 พระสูตรหลักถัดไป คือฆัตวาสูตร [พระสูตรที่ 71]
36.6 พระสูตรหลักถัดไป คือฆัตวาสูตร [พระสูตรที่ 71]
36.5 พระสูตรหลักถัดไป คือฆัตวาสูตร [พระสูตรที่ 71]
36.4 พระสูตรหลักถัดไป คือฆัตวาสูตร [พระสูตรที่ 71]
36.3 พระสูตรหลักถัดไป คือฆัตวาสูตร [พระสูตรที่ 71]
36.2 พระสูตรหลักถัดไป คือฆัตวาสูตร [พระสูตรที่ 71]
36.1 พระสูตรหลักถัดไป คือฆัตวาสูตร [พระสูตรที่ 71]
35.3 พระสูตรหลักถัดไป คือนามสูตร [พระสูตรที่ 61]
35.2 พระสูตรหลักถัดไป คือนามสูตร [พระสูตรที่ 61]
35.1 พระสูตรหลักถัดไป คือนามสูตร [พระสูตรที่ 61]
34.4 พระสูตรหลักถัดไป คือชราสูตร [พระสูตรที่ 51]
34.3 พระสูตรหลักถัดไป คือชราสูตร [พระสูตรที่ 51]
34.2 พระสูตรหลักถัดไป คือชราสูตร [พระสูตรที่ 51]
34.1 พระสูตรหลักถัดไป คือชราสูตร [พระสูตรที่ 51]
33.5 พระสูตรหลักถัดไป คืออาทิตตสูตร [พระสูตรที่ 41]
33.4 พระสูตรหลักถัดไป คืออาทิตตสูตร [พระสูตรที่ 41]
33.3 พระสูตรหลักถัดไป คืออาทิตตสูตร [พระสูตรที่ 41]
33.2 พระสูตรหลักถัดไป คืออาทิตตสูตร [พระสูตรที่ 41]
33.1 พระสูตรหลักถัดไป คืออาทิตตสูตร [พระสูตรที่ 41]
32.6 พระสูตรหลักถัดไป คือสัพภิสูตร [พระสูตรที่ 31]
32.5 พระสูตรหลักถัดไป คือสัพภิสูตร [พระสูตรที่ 31]
32.4 พระสูตรหลักถัดไป คือสัพภิสูตร [พระสูตรที่ 31]
32.3 พระสูตรหลักถัดไป คือสัพภิสูตร [พระสูตรที่ 31]
32.2 พระสูตรหลักถัดไป คือสัพภิสูตร [พระสูตรที่ 31]
32.1 พระสูตรหลักถัดไป คือสัพภิสูตร [พระสูตรที่ 31]
31.4 พระสูตรหลักถัดไป คือสัตติสูตร [พระสูตรที่ 21]
31.3 พระสูตรหลักถัดไป คือสัตติสูตร [พระสูตรที่ 21]
31.2 พระสูตรหลักถัดไป คือสัตติสูตร [พระสูตรที่ 21]
31.1 พระสูตรหลักถัดไป คือสัตติสูตร [พระสูตรที่ 21]
30.5 พระสูตรหลักถัดไป คือนันทนสูตร [พระสูตรที่ 11]
30.4 พระสูตรหลักถัดไป คือนันทนสูตร [พระสูตรที่ 11]
30.3 พระสูตรหลักถัดไป คือนันทนสูตร [พระสูตรที่ 11]
30.2 พระสูตรหลักถัดไป คือนันทนสูตร [พระสูตรที่ 11]
30.1 พระสูตรหลักถัดไป คือนันทนสูตร [พระสูตรที่ 11]
29.6 พระสูตรหลักถัดไป คือโอฆตรณสูตร [พระสูตรที่ 1]
29.5 พระสูตรหลักถัดไป คือโอฆตรณสูตร [พระสูตรที่ 1]
29.4 พระสูตรหลักถัดไป คือโอฆตรณสูตร [พระสูตรที่ 1]
29.3 พระสูตรหลักถัดไป คือโอฆตรณสูตร [พระสูตรที่ 1]
29.2 พระสูตรหลักถัดไป คือโอฆตรณสูตร [พระสูตรที่ 1]
29.1 พระสูตรหลักถัดไป คือโอฆตรณสูตร [พระสูตรที่ 1]
สารบัญย่อย ๖
สารบัญย่อย ๕
Friends Blog
Webmaster - BlogGang
[Add แก้วมณีโชติรส's blog to your weblog]
Link
Bloggang.com
Pantip.com
|
PantipMarket.com
|
Pantown.com
| © 2004
BlogGang.com
allrights reserved.
จากอัคคัญญสูตรค่ะ
[๖๓] ดูกรวาเสฏฐะและภารทวาชะ เพราะเหตุผู้ที่เป็นหัวหน้าอัน
มหาชนสมมติ ดังนี้แล อักขระว่า มหาชนสมมติ จึงอุบัติขึ้นเป็นอันดับแรก
เพราะเหตุผู้ที่เป็นหัวหน้า เป็นใหญ่ยิ่งแห่งเขตทั้งหลาย ดังนี้แล อักขระว่า
กษัตริย์ กษัตริย์ จึงอุบัติขึ้นเป็นอันดับที่สอง
//84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=11&A=1703&Z=2129&pagebreak=0