34.2 พระสูตรหลักถัดไป คือชราสูตร [พระสูตรที่ 51] การสนทนาธรรมนี้ต่อเนื่องมาจาก 34.1 พระสูตรหลักถัดไป คือชราสูตร [พระสูตรที่ 51] //www.bloggang.com/mainblog.php?id=gravity-of-love&month=13-06-2014&group=4&gblog=29 ความคิดเห็นที่ 15 ความคิดเห็นที่ 16 ฐานาฐานะ, 10 มิถุนายน เวลา 20:05 น. คำถามในพระสูตรทั้งสอง ๕๓. มิตตสูตร //84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=15&A=1095&Z=1103 ๕๔. วัตถุสูตร //84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=15&A=1104&Z=1111 เมื่อศึกษาแล้วได้อะไรบ้าง. ความคิดเห็นที่ 17 GravityOfLove, 10 มิถุนายน เวลา 20:54 น. ตอบคำถามในพระสูตรทั้งสอง เมื่อศึกษาแล้วได้อะไรบ้าง. ๕๓. มิตตสูตร //84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=15&A=1095&Z=1103 ๑. พระผู้มีพระภาคตรัสว่า พวกเกวียน พวกโคต่างเป็นมิตรของคนเดินทาง มารดาเป็น มิตรในเรือนของตน สหายเป็นมิตรของคนผู้มีธุระเกิดขึ้น เนืองๆ บุญที่ตนทำเองเป็นมิตรติดตามไปถึงภพหน้า ๒. สหายในการดื่มน้ำเมา มีสุราเป็นต้น ไม่ชื่อว่าเป็นมิตร ----------- ๕๔. วัตถุสูตร //84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=15&A=1104&Z=1111 พระผู้มีพระภาคตรัสว่า บุตรเป็นที่ตั้งของมนุษย์ทั้งหลาย ภรรยาเป็นสหายอย่างยิ่ง เหล่าสัตว์มีชีวิตที่อาศัยแผ่นดิน อาศัยฝนเลี้ยงชีพอยู่ ความคิดเห็นที่ 18 ฐานาฐานะ, 10 มิถุนายน เวลา 21:11 น. ตอบคำถามได้ดีครับ ทั้งสองพระสูตรนี้ ดูเหมือนจะเป็นวัฏกถาล้วน. //84000.org/tipitaka/attha/seek.php?text=วัฏกถา&t=b&b=11&bs=10 ๑. พระผู้มีพระภาคตรัสว่า พวกเกวียน พวกโคต่างเป็นมิตรของคนเดินทาง มารดาเป็นมิตรในเรือนของตน สหายเป็นมิตรของคนผู้มีธุระเกิดขึ้นเนืองๆ บุญที่ตนทำเองเป็นมิตรติดตามไปถึงภพหน้า ความคิดเห็นที่ 19 ฐานาฐานะ, 10 มิถุนายน เวลา 21:13 น. เป็นอันว่า พระสูตรชื่อว่า มิตตสูตรและวัตถุสูตร จบบริบูรณ์. //84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=15&A=1095&Z=1111 พระสูตรหลักถัดไป คือ ปฐมชนสูตร [พระสูตรที่ 55]. พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๕ พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๗ สังยุตตนิกาย สคาถวรรค ปฐมชนสูตรที่ ๕ //84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=15&A=1112&Z=1119 ศึกษาอรรถกถานี้ ได้ที่ :- //84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=15&i=166 ความคิดเห็นที่ 20 GravityOfLove, 10 มิถุนายน เวลา 22:56 น. ปฐมชนสูตรที่ ๕ //84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=15&A=1112&Z=1119 ๑. บทว่า ปรายนํ ได้แก่ ความเกิดขึ้นแห่งวิบาก เป็นที่พึ่ง. อธิบายเนื้อความพระไตรปิฎกตรงไหนคะ ๒. ตอนท้ายอรรถกถานี้ มีเขียนว่า อรรถกถาที่มีมาก่อนหน้านี้ :- อรรถกถาที่มีถัดจากนี้ :- ก่อนนี้ไม่เห็นมีแบบนี้ค่ะ ขอบพระคุณค่ะ ความคิดเห็นที่ 21 ฐานาฐานะ, 10 มิถุนายน เวลา 23:25 น. GravityOfLove, 20 นาทีที่แล้ว ปฐมชนสูตรที่ ๕ //84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=15&A=1112&Z=1119 ๑. บทว่า ปรายนํ ได้แก่ ความเกิดขึ้นแห่งวิบาก เป็นที่พึ่ง. อธิบายเนื้อความพระไตรปิฎกตรงไหนคะ ๒. ตอนท้ายอรรถกถานี้ มีเขียนว่า อรรถกถาที่มีมาก่อนหน้านี้ :- อรรถกถาที่มีถัดจากนี้ :- ก่อนนี้ไม่เห็นมีแบบนี้ค่ะ ขอบพระคุณค่ะ 10:56 PM 6/10/2014 ตอบว่า เนื่องจาก อรรถกถาบาลีอธิบายพระสูตรคล้ายกัน พระสูตรที่ 5 ถึง 7 พร้อมกันไป คือ ๕. ปฐมชนสูตร ๖. ทุติยชนสูตร ๗. ตติยชนสูตร //84000.org/tipitaka/read/v.php?B=15&A=1112&Z=1135 ดังนั้น อรรถกถาภาษาไทยก็อธิบายพร้อมกันไปด้วย. ๕-๗. ปฐมชนสุตฺตาทิวณฺณนา [๕๕-๕๗] ปญฺจเม วิธาวตีติ ปรสมุทฺทาทิคมนวเสน อิโต จิโต จ วิธาวติ. ปญฺจมํ. ฉฏฺเฐ ทุกฺขาติ วฏฺฏทุกฺขโต. ฉฏฺฐํ. สตฺตเม ปรายนนฺติ นิปฺผตฺติ อวสฺสโย. สตฺตมํ. //budsir.mahidol.ac.th/cgi-bin/Budsir.cgi/show?mode=2&valume=11&page=90&Roman=0&PageMode=1 //budsir.mahidol.ac.th/cgi-bin/Budsir.cgi/show?mode=2&valume=11&page=91&Roman=0&PageMode=1 อรรถกถาปฐมชนสูตรที่ ๕ เป็นต้น พึงทราบวินิจฉัยในปฐมชนสูตรที่ ๕ เป็นต้น :- บทว่า วิธาวติ ได้แก่ ย่อมวิ่งไปทางนี้และทางนี้ ด้วยอำนาจแห่งการไปในที่ต่างๆ มีสมุทรเป็นต้น. บทว่า ทุกฺขา ได้แก่ จากวัฏทุกข์. บทว่า ปรายนํ ได้แก่ ความเกิดขึ้นแห่งวิบาก เป็นที่พึ่ง. ควรเป็น พึงทราบวินิจฉัยในปฐมชนสูตรที่ ๕ เป็นต้น :- พระสูตรที่ 5 บทว่า วิธาวติ ได้แก่ ย่อมวิ่งไปทางนี้และทางนี้ ด้วยอำนาจแห่งการไปในที่ต่างๆ มีสมุทรเป็นต้น. พระสูตรที่ 6 บทว่า ทุกฺขา ได้แก่ จากวัฏทุกข์. พระสูตรที่ 7 บทว่า ปรายนํ ได้แก่ ความเกิดขึ้นแห่งวิบาก เป็นที่พึ่ง. //84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=15&i=166 ดังนั้น บทว่า ปรายนํ ได้แก่ ความเกิดขึ้นแห่งวิบาก เป็นที่พึ่ง. จึงอธิบายพระสูตรที่ 7 ตติยชนสูตรที่ ๗ [๑๗๐] เทวดาทูลถามว่า อะไรหนอยังคนให้เกิด อะไรหนอของเขาย่อมวิ่งพล่าน อะไรหนอเวียนว่ายไปยังสงสาร อะไรหนอเป็นที่พำนักของ สัตว์นั้น ฯ [๑๗๑] พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่า ตัณหายังคนให้เกิด จิตของเขาย่อมวิ่งพล่าน สัตว์เวียนว่าย ไปยังสงสาร กรรมเป็นที่พำนักของสัตว์นั้น ฯ //84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=15&A=1128&Z=1135&pagebreak=0 [๑๗๑] ตณฺหา ชเนติ ปุริสํ จิตฺตมสฺส วิธาวติ สตฺโต สํสารมาปาทิ กมฺมํ ตสฺส ปรายนนฺติ ฯ อฏฺฐมํ อุปฺปถสุตฺตํ //budsir.mahidol.ac.th/cgi-bin/Budsir.cgi/SearchItem?mode=1&valume=15&item=171&Roman=0 ความคิดเห็นที่ 22 GravityOfLove, 10 มิถุนายน เวลา 23:32 น. เข้าใจแล้วค่ะ ขอบพระคุณค่ะ ความคิดเห็นที่ 23 GravityOfLove, 10 มิถุนายน เวลา 23:39 น. ๕๗. ตติยชนสูตร //84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=15&A=1128&Z=1135&bgc=honeydew&pagebreak=0 - พระสูตรที่ 7 บทว่า ปรายนํ ได้แก่ ความเกิดขึ้นแห่งวิบาก เป็นที่พึ่ง. อธิบายเนื้อความในพระไตรปิฎกคือ กรรมเป็นที่พำนักของสัตว์นั้น ฯ ใช่ไหมคะ - และหมายความว่าอย่างไรคะ - ฉบับมหาจุฬาฯ แปลว่า กรรมเป็นที่ไปในเบื้องหน้าของคนนั้น ความหมายเหมือนกันหรือไม่คะ ขอบพระคุณค่ะ ความคิดเห็นที่ 24 ฐานาฐานะ, 10 มิถุนายน เวลา 23:58 น. GravityOfLove, 4 นาทีที่แล้ว ๕๗. ตติยชนสูตร //84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=15&A=1128&Z=1135&bgc=honeydew&pagebreak=0 - พระสูตรที่ 7 บทว่า ปรายนํ ได้แก่ ความเกิดขึ้นแห่งวิบาก เป็นที่พึ่ง. อธิบายเนื้อความในพระไตรปิฎกคือ กรรมเป็นที่พำนักของสัตว์นั้น ฯ ใช่ไหมคะ ตอบว่า ถูกต้องครับ. ตติยชนสูตรที่ ๗ [๑๗๐] เทวดาทูลถามว่า อะไรหนอยังคนให้เกิด อะไรหนอของเขาย่อมวิ่งพล่าน อะไรหนอเวียนว่ายไปยังสงสาร อะไรหนอเป็นที่พำนักของสัตว์นั้น ฯ [๑๗๑] พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่า ตัณหายังคนให้เกิด จิตของเขาย่อมวิ่งพล่าน สัตว์เวียนว่ายไปยังสงสาร กรรมเป็นที่พำนักของสัตว์นั้น ฯ //84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=15&A=1128&Z=1135&pagebreak=0 ๗. ตติยชนสูตร ว่าด้วยสิ่งที่ทำคนให้เกิด สูตรที่ ๓ [๕๗] เทวดาทูลถามว่า อะไรเล่าทำคนให้เกิด อะไรเล่าของคนนั้นย่อมพล่านไป อะไรเล่าเวียนว่ายในสงสาร อะไรเล่าเป็นที่ไปในเบื้องหน้าของคนนั้น พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่า ตัณหาทำคนให้เกิด จิตของคนนั้นย่อมพล่านไป สัตว์เวียนว่ายในสงสาร กรรมเป็นที่ไปในเบื้องหน้าของคนนั้น ตติยชนสูตรที่ ๗ จบ //www.geocities.ws/tmchote/tpd-mcu/tpd15-1.htm - และหมายความว่าอย่างไรคะ - ฉบับมหาจุฬาฯ แปลว่า กรรมเป็นที่ไปในเบื้องหน้าของคนนั้น ความหมายเหมือนกันหรือไม่คะ ตอบว่า ความหมายน่าจะเหมือนกัน นัยก็คือ เมื่อสัตว์เวียนว่ายในสงสาร (วัฏฏะ) สัตว์เหล่านั้นมีอะไรเป็นที่พึ่งที่พำนัก (มองในแง่ดี) หรือว่า สัตว์เหล่านั้นไปเบื้องหน้าด้วยอะไร? (มองกลางๆ) สัตว์เหล่านั้นมีอะไรเป็นที่พึ่งที่พำนัก (มองในแง่ดี) คือ กรรมเป็นที่พำนักของสัตว์นั้น ฯ หรือกรรมเป็นที่พึ่งที่พำนัก ก็กรรมเป็นปัจจัยให้วิบากเกิดขึ้น หรือความเกิดขึ้นแห่งวิบาก เป็นที่พึ่ง. สัตว์เหล่านั้นไปเบื้องหน้าด้วยอะไร? สัตว์เหล่านั้นไปเบื้องหน้าด้วยกรรม หรือกรรมเป็นที่ไปในเบื้องหน้าของสัตว์นั้น. ความคิดเห็นที่ 25 GravityOfLove, 10 มิถุนายน เวลา 00:05 น. เข้าใจแล้วค่ะ ขอบพระคุณค่ะ ย้ายไปที่ สารบัญ ๑ |
แก้วมณีโชติรส
![]() ![]() ![]() ![]() ![]() Group Blog All Blog
Link |
|||
Pantip.com | PantipMarket.com | Pantown.com | © 2004 BlogGang.com allrights reserved. |
GravityOfLove, 20 ชั่วโมงที่แล้ว
...
11:20 PM 6/9/2014
สรุปความได้ดีครับ
ขอแนะนำว่า
ขอให้พิจารณาการตัดประโยค ตัดบรรทัด
ให้อ่านได้ง่ายด้วยก็จะดี ช่วยให้ง่ายต่อการจดจำ เช่น
เทวดาทูลถามเป็นคาถาว่า
อะไรหนอเป็นมิตรของคนเดินทาง อะไรหนอเป็นมิตรใน
เรือนของตน อะไรเป็นมิตรของคนมีธุระเกิดขึ้น อะไรหนอ
เป็นมิตรติดตามไปถึงภพหน้า
ตัดประโยค ตัดบรรทัดเป็น :-
เทวดาทูลถามเป็นคาถาว่า
อะไรหนอเป็นมิตรของคนเดินทาง
อะไรหนอเป็นมิตรในเรือนของตน
อะไรเป็นมิตรของคนมีธุระเกิดขึ้น
อะไรหนอเป็นมิตรติดตามไปถึงภพหน้า