Bloggang.com : weblog for you and your gang
33.5 พระสูตรหลักถัดไป คืออาทิตตสูตร [พระสูตรที่ 41]
การสนทนาธรรมนี้ต่อเนื่องมาจาก
33.4 พระสูตรหลักถัดไป คืออาทิตตสูตร [พระสูตรที่ 41]
//www.bloggang.com/mainblog.php?id=gravity-of-love&month=09-06-2014&group=4&gblog=27
ความคิดเห็นที่ 47
GravityOfLove, 8 มิถุนายน เวลา 21:43 น.
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๕ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๗
สังยุตตนิกาย สคาถวรรค เทวตาสังยุต อาทิตตวรรคที่ ๕
๔๙. มัจฉริสูตร
ว่าด้วยคนตระหนี่
//84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=15&A=990&Z=1023&bgc=honeydew&pagebreak=0
เทวดาทูลถามพระผู้มีพระภาคด้วยคาถา ใจความว่า
คนตระหนี่ เหนียวแน่น ดีแต่ว่าเขา (ติพระที่มาบิณฑบาต)
ทำการกีดขวางคนอื่นผู้ให้อยู่
วิบาก (ผล) ของคนพวกนั้นจะเป็นเช่นไร
และสัมปรายภพ (ปรโลก/ภพหน้า) ของเขาจะเป็นเช่นไร
พระผู้มีพระภาคตรัสตอบด้วยคาถา ใจความว่า
คนพวกนั้นย่อมเข้าถึงทุคติ
(ได้แก่นรก กำเนิดสัตว์ดิรัจฉาน หรือยมโลก)
ถ้าหากถึงความเป็นมนุษย์ ก็เกิดในสกุลคนยากจน ซึ่งจะหาท่อนผ้า
อาหาร ความร่าเริงและความสนุกสนานได้โดยยาก
คนพาลเหล่านั้นต้องการสิ่งใดจากผู้อื่น เขาย่อมไม่ได้สิ่งนั้นสมความปรารถนา
นั่นเป็นผลในภพนี้ และภพหน้าก็ยังเข้าถึงทุคติด้วย
เทวดาทูลว่า ข้อนี้ตนเข้าใจชัด แล้วทูลถามต่อว่า
ผู้ที่ได้ความเป็นมนุษย์แล้ว รู้ถ้อยคำ (วทัญญู) ปราศจากความตระหนี่
เลื่อมใสในพระพุทธเจ้า พระธรรม และพระสงฆ์ เป็นผู้มีความเคารพแรงกล้า
วิบากผู้นั้นจะเป็นเช่นไร และสัมปรายภพของเขาจะเป็นเช่นไร
พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่า
ผู้นั้นย่อมอุบัติในสวรรค์
หากถึงความเป็นมนุษย์ ย่อมเกิดในสกุลที่มั่งคั่ง
ได้ผ้าอาหาร ความร่าเริงและความสนุกสนานโดยไม่ยาก
พึงมีอำนาจแผ่ไปในโภคทรัพย์ที่ผู้อื่นหาสะสมไว้
บันเทิงใจอยู่ นั่นเป็นผลในภพนี้ และภพหน้า
//84000.org/tipitaka/dic/v_seek.php?text=วทัญญู
-----------------
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๕ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๗
สังยุตตนิกาย สคาถวรรค เทวตาสังยุต อาทิตตวรรคที่ ๕
๕๐. ฆฏิกรสูตร
ว่าด้วยฆฏิการเทพบุตร
//84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=15&A=1024&Z=1074&bgc=honeydew&pagebreak=0
ฆฏิกรพรหมกราบทูลเป็นคาถา ใจความว่า
ภิกษุ ๗ รูปผู้เข้าถึงพรหมโลกชื่อว่าอวิหา (ละสังโยชน์เบื้องต่ำ ๕ เป็นพระอนาคามี)
เป็นผู้หลุดพ้นแล้ว (เป็นพระอรหันต์แล้ว)
//84000.org/tipitaka/dic/d_seek.php?text=อวิหา&detail=on
พระผู้มีพระภาคตรัสถามเป็นคาถา ใจความว่า
ภิกษุเหล่านั้นคือผู้ใดบ้าง
ผู้ละกายของมนุษย์ (ละสังโยชน์เบื้องต่ำ ๕)
แล้วก้าวล่วงซึ่งทิพยโยคะ (ละสังโยชน์เบื้องสูง ๕ เป็นพระอรหันต์)
//84000.org/tipitaka/dic/d_seek.php?text=สังโยชน์_10
ฆฏิกรพรหมกราบทูลว่า
คือท่านอุปกะ ท่านผลคัณฑะ ท่านปุกกุสาติ
ท่านภัททิยะ ท่านขัณฑเทวะ ท่านพหุทันตี และท่านสิงคิยะ
พระผู้มีพระภาคตรัสถามว่า
ท่านเป็นคนมีความฉลาด กล่าวสรรเสริญภิกษุเหล่านั้น
ภิกษุเหล่านั้นตรัสรู้ธรรมของใครเล่า จึงตัดเครื่องผูกคือภพเสียได้ (เป็นพระอรหันต์)
ฆฏิกรพรหมกราบทูลว่า
ท่านเหล่านั้น ตรัสรู้ธรรมของพระผู้มีพระภาค
และธรรมนั้นไม่มีอื่นไปจากคำสั่งสอนของพระองค์
นามและรูปดับไม่เหลือในธรรมใด (พระนิพพาน)
ท่านเหล่านั้นได้รู้ธรรมนั้นในพระศาสนานี้
พระผู้มีพระภาคตรัสถามว่า
ท่านกล่าววาจาลึกรู้ได้ยาก เข้าใจให้ดีได้ยาก
ท่านรู้ธรรมของใคร จึงกล่าววาจาเช่นนี้ได้
ฆฏิกรพรหมกราบทูลว่า
เมื่อก่อนข้าพระองค์เป็นช่างหม้อ ทำหม้ออยู่ในเวภฬิงคชนบท
เป็นผู้เลี้ยงมารดาและบิดา ได้เป็นอุบาสกของพระกัสสปพุทธเจ้า
เป็นผู้เว้นจากเมถุนธรรม เป็นผู้ประพฤติพรหมจรรย์ ไม่เกี่ยวด้วยอามิส (เป็นพระอนาคามี)
ได้เคยเป็นคนร่วมบ้านกับพระองค์ ทั้งได้เคยเป็นสหายของพระองค์ในกาลปางก่อน
(มาในฆฏิการสูตร)
ข้าพระองค์รู้จักภิกษุ ๗ รูปเหล่านี้ ผู้หลุดพ้นแล้ว
พระผู้มีพระภาคตรัสรับรองเรื่องในกาลก่อนที่ฆฏิการพรหมกล่าว ว่าเป็นความจริง
พระสังคีติกาจารย์กล่าวว่า
สหายเก่าทั้งสอง ผู้มีตนอันอบรมแล้ว ทรงไว้ซึ่งสรีระมีในที่สุด
(ดำรงอยู่ในสรีระสุดท้ายแล้ว ไม่เกิดอีก เป็นพระอรหันต์) ได้มาพบกันด้วยอาการอย่างนี้
ฆฏิการสูตร
//84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=13&A=6596&Z=6824
[แก้ไขตาม #48]
ความคิดเห็นที่ 48
ฐานาฐานะ, 8 มิถุนายน เวลา 22:30 น.
GravityOfLove, 7 นาทีที่แล้ว
...
9:43 PM 6/8/2014
สรุปความได้ดีครับ มีข้อติงเล็กน้อยดังนี้ :-
คนพาลเหล่านั้นต้องการสิ่งใดจากผู้อื่น เขาย่อมไม่ได้สิ่งนั้นสมความปรารถนา
นั่นเป็นผลในภพนี้ และภพหน้า
แก้ไขเพิ่มเติมเป็น
คนพาลเหล่านั้นต้องการสิ่งใดจากผู้อื่น เขาย่อมไม่ได้สิ่งนั้นสมความปรารถนา
นั่นเป็นผลในภพนี้ และภพหน้าก็ยังเข้าถึงทุคติด้วย.
พระสังคีติกาจารย์กล่าวว่า
สหายเก่าทั้งสอง ผู้มีตนอันอบรมแล้ว ทรงไว้ซึ่งสรีระมีในที่สุด
(อยู่ในสรีระสุดทัายแล้ว ไม่เกิดอีก เป็นพระอรหันต์) ได้มาพบกันด้วยอาการอย่างนี้
แก้ไขเป็น
(ดำรงอยู่ในสรีระสุด
ท้าย
แล้ว ไม่เกิดอีก เป็นพระอรหันต์) ได้มาพบกันด้วยอาการอย่างนี้
ความคิดเห็นที่ 49
ฐานาฐานะ, 8 มิถุนายน เวลา 22:39 น.
คำถามในพระสูตรทั้งสอง
๔๙. มัจฉริสูตร
//84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=15&A=990&Z=1023
๕๐. ฆฏิกรสูตร
//84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=15&A=1024&Z=1074
เมื่อศึกษาแล้วได้อะไรบ้าง.
ความคิดเห็นที่ 50
GravityOfLove, 8 มิถุนายน เวลา 22:46 น.
ตอบคำถามในพระสูตรทั้งสอง
เมื่อศึกษาแล้วได้อะไรบ้าง.
๔๙. มัจฉริสูตร
//84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=15&A=990&Z=1023
๑. พระผู้มีพระภาคตรัสว่าวิบากและสัมปรายภพของผู้ที่ตระหนี่ และผู้ที่ไม่ตระหนี่ เป็นอย่างไร
๒. ความตระหนี่อย่างอ่อน (มุทุมัจฉริยะ/มัจฉริยะ) เช่น หลบเลี่ยงไปเวลาที่พระมาบิณฑบาต
เพราะไม่อยากใส่บาตรและไม่อยากยกมือไหว้
ความตระหนี่จัด (ถัทธมัจฉริยะ/กัทริยะ) เช่น ไม่ได้เป็นทายกแต่ทำอาการว่าตัวเองเป็นทายกเสียเอง
หรือไม่ยอมนั่งลงไหว้พระโดยอ้างว่าเจ็บเท้า
๓. ผู้ที่ทำการกีดขวางคนอื่นผู้ให้ เป็นผู้ทำอันตรายแก่คน ๓ พวก คือ
ผู้ให้ (ขวางสวรรค์ของผู้ให้) ผู้รับ (ขวางลาภของผู้รับ) และตนเอง (มีวิบากเป็นทุกข์)
ชัปปสูตร
//84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=20&A=4227&Z=4284
----------------------
๕๐. ฆฏิกรสูตร
//84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=15&A=1024&Z=1074
๑. ฆฏิการพรหมกราบทูลพระผู้มีพระภาคถึงภิกษุ ๗ รูป ผู้เข้าถึง อวิหาพรหมโลก
(พระอนาคามี) ได้บรรลุเป็นพระอรหันต์แล้ว
๒. ในอดีตกาล (เรื่องในฆฎิการสูตร) พระโพธิสัตว์คือโชติปาลมาณพ
เป็นเพื่อนกับฆฏิการะช่างหม้อๆ ได้เป็นพระอนาคามีในสมัยพระกัสสปพุทธเจ้า
ในพระสูตรนี้ ช่างหม้อผู้นั้น (ฆฏิการพรหม) เป็นพระอรหันต์แล้ว
ความคิดเห็นที่ 51
ฐานาฐานะ, 8 มิถุนายน เวลา 23:00 น.
GravityOfLove, 6 นาทีที่แล้ว
ตอบคำถามในพระสูตรทั้งสอง
เมื่อศึกษาแล้วได้อะไรบ้าง.
...
10:46 PM 6/8/2014
ตอบคำถามได้ดีทั้งสองพระสูตร.
ความคิดเห็นที่ 52
ฐานาฐานะ, 8 มิถุนายน เวลา 23:02 น.
เป็นอันว่า พระสูตรชื่อว่า มัจฉริสูตรและฆฏิกรสูตร จบบริบูรณ์.
//84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=15&A=900&Z=1074
พระสูตรหลักถัดไป คือ ชราสูตร [พระสูตรที่ 51].
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๕ พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๗
สังยุตตนิกาย สคาถวรรค
ชราสูตรที่ ๑
//84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=15&A=1075&Z=1084
ศึกษาอรรถกถานี้ ได้ที่ :-
//84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=15&i=158
ย้ายไปที่
//www.bloggang.com/mainblog.php?id=gravity-of-love&month=13-06-2014&group=4&gblog=29
สารบัญ ๑
//www.bloggang.com/mainblog.php?id=gravity-of-love&month=12-03-2013&group=1&gblog=1
Create Date : 09 มิถุนายน 2557
Last Update : 23 มิถุนายน 2557 9:44:01 น.
Counter : 557 Pageviews.
0 comments
Share
Tweet
แก้วมณีโชติรส
Location :
[ดู Profile ทั้งหมด]
ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
Smember
ผู้ติดตามบล็อก : 6 คน [
?
]
Group Blog
สนทนาธรรม 1 ทีฆนิกาย ~ มัชฌิมนิกาย
สนทนาธรรม 2 มัชฌิมนิกาย
สนทนาธรรม 3 มัชฌิมนิกาย
สนทนาธรรม 4 สังยุตตนิกาย
<<
มิถุนายน 2557
>>
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
9 มิถุนายน 2557
33.5 พระสูตรหลักถัดไป คืออาทิตตสูตร [พระสูตรที่ 41]
33.4 พระสูตรหลักถัดไป คืออาทิตตสูตร [พระสูตรที่ 41]
33.3 พระสูตรหลักถัดไป คืออาทิตตสูตร [พระสูตรที่ 41]
33.2 พระสูตรหลักถัดไป คืออาทิตตสูตร [พระสูตรที่ 41]
All Blog
40.9 พระสูตรหลักถัดไป คือทหรสูตร [พระสูตรที่ 112]
40.8 พระสูตรหลักถัดไป คือทหรสูตร [พระสูตรที่ 112]
40.7 พระสูตรหลักถัดไป คือทหรสูตร [พระสูตรที่ 112]
40.6 พระสูตรหลักถัดไป คือทหรสูตร [พระสูตรที่ 112]
40.5 พระสูตรหลักถัดไป คือทหรสูตร [พระสูตรที่ 112]
40.4 พระสูตรหลักถัดไป คือทหรสูตร [พระสูตรที่ 112]
40.3 พระสูตรหลักถัดไป คือทหรสูตร [พระสูตรที่ 112]
40.2 พระสูตรหลักถัดไป คือทหรสูตร [พระสูตรที่ 112]
40.1 พระสูตรหลักถัดไป คือทหรสูตร [พระสูตรที่ 112]
39.8 พระสูตรหลักถัดไป คือสิวสูตร [พระสูตรที่ 102]
39.7 พระสูตรหลักถัดไป คือสิวสูตร [พระสูตรที่ 102]
39.6 พระสูตรหลักถัดไป คือสิวสูตร [พระสูตรที่ 102]
39.5 พระสูตรหลักถัดไป คือสิวสูตร [พระสูตรที่ 102]
39.4 พระสูตรหลักถัดไป คือสิวสูตร [พระสูตรที่ 102]
39.3 พระสูตรหลักถัดไป คือสิวสูตร [พระสูตรที่ 102]
39.2 พระสูตรหลักถัดไป คือสิวสูตร [พระสูตรที่ 102]
39.1 พระสูตรหลักถัดไป คือสิวสูตร [พระสูตรที่ 102]
38.5 พระสูตรหลักถัดไป คือจันทิมสสูตร [พระสูตรที่ 92]
38.4 พระสูตรหลักถัดไป คือจันทิมสสูตร [พระสูตรที่ 92]
38.3 พระสูตรหลักถัดไป คือจันทิมสสูตร [พระสูตรที่ 92]
38.2 พระสูตรหลักถัดไป คือจันทิมสสูตร [พระสูตรที่ 92]
38.1 พระสูตรหลักถัดไป คือจันทิมสสูตร [พระสูตรที่ 92]
37.6 พระสูตรหลักถัดไป คือปฐมกัสสปสูตร [พระสูตรที่ 82]
37.5 พระสูตรหลักถัดไป คือปฐมกัสสปสูตร [พระสูตรที่ 82]
37.4 พระสูตรหลักถัดไป คือปฐมกัสสปสูตร [พระสูตรที่ 82]
37.3 พระสูตรหลักถัดไป คือปฐมกัสสปสูตร [พระสูตรที่ 82]
37.2 พระสูตรหลักถัดไป คือปฐมกัสสปสูตร [พระสูตรที่ 82]
37.1 พระสูตรหลักถัดไป คือปฐมกัสสปสูตร [พระสูตรที่ 82]
36.7 พระสูตรหลักถัดไป คือฆัตวาสูตร [พระสูตรที่ 71]
36.6 พระสูตรหลักถัดไป คือฆัตวาสูตร [พระสูตรที่ 71]
36.5 พระสูตรหลักถัดไป คือฆัตวาสูตร [พระสูตรที่ 71]
36.4 พระสูตรหลักถัดไป คือฆัตวาสูตร [พระสูตรที่ 71]
36.3 พระสูตรหลักถัดไป คือฆัตวาสูตร [พระสูตรที่ 71]
36.2 พระสูตรหลักถัดไป คือฆัตวาสูตร [พระสูตรที่ 71]
36.1 พระสูตรหลักถัดไป คือฆัตวาสูตร [พระสูตรที่ 71]
35.3 พระสูตรหลักถัดไป คือนามสูตร [พระสูตรที่ 61]
35.2 พระสูตรหลักถัดไป คือนามสูตร [พระสูตรที่ 61]
35.1 พระสูตรหลักถัดไป คือนามสูตร [พระสูตรที่ 61]
34.4 พระสูตรหลักถัดไป คือชราสูตร [พระสูตรที่ 51]
34.3 พระสูตรหลักถัดไป คือชราสูตร [พระสูตรที่ 51]
34.2 พระสูตรหลักถัดไป คือชราสูตร [พระสูตรที่ 51]
34.1 พระสูตรหลักถัดไป คือชราสูตร [พระสูตรที่ 51]
33.5 พระสูตรหลักถัดไป คืออาทิตตสูตร [พระสูตรที่ 41]
33.4 พระสูตรหลักถัดไป คืออาทิตตสูตร [พระสูตรที่ 41]
33.3 พระสูตรหลักถัดไป คืออาทิตตสูตร [พระสูตรที่ 41]
33.2 พระสูตรหลักถัดไป คืออาทิตตสูตร [พระสูตรที่ 41]
33.1 พระสูตรหลักถัดไป คืออาทิตตสูตร [พระสูตรที่ 41]
32.6 พระสูตรหลักถัดไป คือสัพภิสูตร [พระสูตรที่ 31]
32.5 พระสูตรหลักถัดไป คือสัพภิสูตร [พระสูตรที่ 31]
32.4 พระสูตรหลักถัดไป คือสัพภิสูตร [พระสูตรที่ 31]
32.3 พระสูตรหลักถัดไป คือสัพภิสูตร [พระสูตรที่ 31]
32.2 พระสูตรหลักถัดไป คือสัพภิสูตร [พระสูตรที่ 31]
32.1 พระสูตรหลักถัดไป คือสัพภิสูตร [พระสูตรที่ 31]
31.4 พระสูตรหลักถัดไป คือสัตติสูตร [พระสูตรที่ 21]
31.3 พระสูตรหลักถัดไป คือสัตติสูตร [พระสูตรที่ 21]
31.2 พระสูตรหลักถัดไป คือสัตติสูตร [พระสูตรที่ 21]
31.1 พระสูตรหลักถัดไป คือสัตติสูตร [พระสูตรที่ 21]
30.5 พระสูตรหลักถัดไป คือนันทนสูตร [พระสูตรที่ 11]
30.4 พระสูตรหลักถัดไป คือนันทนสูตร [พระสูตรที่ 11]
30.3 พระสูตรหลักถัดไป คือนันทนสูตร [พระสูตรที่ 11]
30.2 พระสูตรหลักถัดไป คือนันทนสูตร [พระสูตรที่ 11]
30.1 พระสูตรหลักถัดไป คือนันทนสูตร [พระสูตรที่ 11]
29.6 พระสูตรหลักถัดไป คือโอฆตรณสูตร [พระสูตรที่ 1]
29.5 พระสูตรหลักถัดไป คือโอฆตรณสูตร [พระสูตรที่ 1]
29.4 พระสูตรหลักถัดไป คือโอฆตรณสูตร [พระสูตรที่ 1]
29.3 พระสูตรหลักถัดไป คือโอฆตรณสูตร [พระสูตรที่ 1]
29.2 พระสูตรหลักถัดไป คือโอฆตรณสูตร [พระสูตรที่ 1]
29.1 พระสูตรหลักถัดไป คือโอฆตรณสูตร [พระสูตรที่ 1]
สารบัญย่อย ๖
สารบัญย่อย ๕
Friends Blog
Webmaster - BlogGang
[Add แก้วมณีโชติรส's blog to your weblog]
Link
Bloggang.com
Pantip.com
|
PantipMarket.com
|
Pantown.com
| © 2004
BlogGang.com
allrights reserved.
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๕ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๗
สังยุตตนิกาย สคาถวรรค เทวตาสังยุต อาทิตตวรรคที่ ๕
๔๙. มัจฉริสูตร ว่าด้วยคนตระหนี่
//84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=15&A=990&Z=1023&bgc=honeydew&pagebreak=0
เทวดาทูลถามพระผู้มีพระภาคด้วยคาถา ใจความว่า
คนตระหนี่ เหนียวแน่น ดีแต่ว่าเขา (ติพระที่มาบิณฑบาต)
ทำการกีดขวางคนอื่นผู้ให้อยู่
วิบาก (ผล) ของคนพวกนั้นจะเป็นเช่นไร
และสัมปรายภพ (ปรโลก/ภพหน้า) ของเขาจะเป็นเช่นไร
พระผู้มีพระภาคตรัสตอบด้วยคาถา ใจความว่า
คนพวกนั้นย่อมเข้าถึงทุคติ (ได้แก่นรก กำเนิดสัตว์ดิรัจฉาน หรือยมโลก)
ถ้าหากถึงความเป็นมนุษย์ ก็เกิดในสกุลคนยากจน ซึ่งจะหาท่อนผ้า
อาหาร ความร่าเริงและความสนุกสนานได้โดยยาก
คนพาลเหล่านั้นต้องการสิ่งใดจากผู้อื่น เขาย่อมไม่ได้สิ่งนั้นสมความปรารถนา
นั่นเป็นผลในภพนี้ และภพหน้าก็ยังเข้าถึงทุคติด้วย
เทวดาทูลว่า ข้อนี้ตนเข้าใจชัด แล้วทูลถามต่อว่า
ผู้ที่ได้ความเป็นมนุษย์แล้ว รู้ถ้อยคำ (วทัญญู) ปราศจากความตระหนี่
เลื่อมใสในพระพุทธเจ้า พระธรรม และพระสงฆ์ เป็นผู้มีความเคารพแรงกล้า
วิบากผู้นั้นจะเป็นเช่นไร และสัมปรายภพของเขาจะเป็นเช่นไร
พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่า
ผู้นั้นย่อมอุบัติในสวรรค์
หากถึงความเป็นมนุษย์ ย่อมเกิดในสกุลที่มั่งคั่ง
ได้ผ้าอาหาร ความร่าเริงและความสนุกสนานโดยไม่ยาก
พึงมีอำนาจแผ่ไปในโภคทรัพย์ที่ผู้อื่นหาสะสมไว้
บันเทิงใจอยู่ นั่นเป็นผลในภพนี้ และภพหน้า
//84000.org/tipitaka/dic/v_seek.php?text=วทัญญู
-----------------
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๕ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๗
สังยุตตนิกาย สคาถวรรค เทวตาสังยุต อาทิตตวรรคที่ ๕
๕๐. ฆฏิกรสูตร ว่าด้วยฆฏิการเทพบุตร
//84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=15&A=1024&Z=1074&bgc=honeydew&pagebreak=0
ฆฏิกรพรหมกราบทูลเป็นคาถา ใจความว่า
ภิกษุ ๗ รูปผู้เข้าถึงพรหมโลกชื่อว่าอวิหา (ละสังโยชน์เบื้องต่ำ ๕ เป็นพระอนาคามี)
เป็นผู้หลุดพ้นแล้ว (เป็นพระอรหันต์แล้ว)
//84000.org/tipitaka/dic/d_seek.php?text=อวิหา&detail=on
พระผู้มีพระภาคตรัสถามเป็นคาถา ใจความว่า
ภิกษุเหล่านั้นคือผู้ใดบ้าง
ผู้ละกายของมนุษย์ (ละสังโยชน์เบื้องต่ำ ๕)
แล้วก้าวล่วงซึ่งทิพยโยคะ (ละสังโยชน์เบื้องสูง ๕ เป็นพระอรหันต์)
//84000.org/tipitaka/dic/d_seek.php?text=สังโยชน์_10
ฆฏิกรพรหมกราบทูลว่า
คือท่านอุปกะ ท่านผลคัณฑะ ท่านปุกกุสาติ
ท่านภัททิยะ ท่านขัณฑเทวะ ท่านพหุทันตี และท่านสิงคิยะ
พระผู้มีพระภาคตรัสถามว่า
ท่านเป็นคนมีความฉลาด กล่าวสรรเสริญภิกษุเหล่านั้น
ภิกษุเหล่านั้นตรัสรู้ธรรมของใครเล่า จึงตัดเครื่องผูกคือภพเสียได้ (เป็นพระอรหันต์)
ฆฏิกรพรหมกราบทูลว่า
ท่านเหล่านั้น ตรัสรู้ธรรมของพระผู้มีพระภาค
และธรรมนั้นไม่มีอื่นไปจากคำสั่งสอนของพระองค์
นามและรูปดับไม่เหลือในธรรมใด (พระนิพพาน)
ท่านเหล่านั้นได้รู้ธรรมนั้นในพระศาสนานี้
พระผู้มีพระภาคตรัสถามว่า
ท่านกล่าววาจาลึกรู้ได้ยาก เข้าใจให้ดีได้ยาก
ท่านรู้ธรรมของใคร จึงกล่าววาจาเช่นนี้ได้
ฆฏิกรพรหมกราบทูลว่า
เมื่อก่อนข้าพระองค์เป็นช่างหม้อ ทำหม้ออยู่ในเวภฬิงคชนบท
เป็นผู้เลี้ยงมารดาและบิดา ได้เป็นอุบาสกของพระกัสสปพุทธเจ้า
เป็นผู้เว้นจากเมถุนธรรม เป็นผู้ประพฤติพรหมจรรย์ ไม่เกี่ยวด้วยอามิส (เป็นพระอนาคามี)
ได้เคยเป็นคนร่วมบ้านกับพระองค์ ทั้งได้เคยเป็นสหายของพระองค์ในกาลปางก่อน
(มาในฆฏิการสูตร)
ข้าพระองค์รู้จักภิกษุ ๗ รูปเหล่านี้ ผู้หลุดพ้นแล้ว
พระผู้มีพระภาคตรัสรับรองเรื่องในกาลก่อนที่ฆฏิการพรหมกล่าว ว่าเป็นความจริง
พระสังคีติกาจารย์กล่าวว่า
สหายเก่าทั้งสอง ผู้มีตนอันอบรมแล้ว ทรงไว้ซึ่งสรีระมีในที่สุด
(ดำรงอยู่ในสรีระสุดท้ายแล้ว ไม่เกิดอีก เป็นพระอรหันต์) ได้มาพบกันด้วยอาการอย่างนี้
ฆฏิการสูตร
//84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=13&A=6596&Z=6824
[แก้ไขตาม #48]