การใช้ชีวมวลอัดเม็ด biomass pellets เป็นเชื้อเพลิงร่วมกับเชื้อเพลิงเดิมในโรงไฟฟ้า 2014

            โรงไฟฟ้าถ่านหิน Amer ขนาด 1245 เมกกะวัตต์ ประเทศเนเธอร์แลนด์เป็นโรงไฟฟ้าตัวอย่างที่ทำได้ในปัจจุบัน ออกแบบแยกระบบโดยใช้ชีวมวลอัดเม็ดแปรสภาพเป็นแก๊สเชื้อเพลิงสังเคราะห์ (CO, H2,และ CH4) ด้วยเตาปฏิกรณ์สลายเป็นแก๊สด้วยความร้อนและควบคุมปริมาณอ๊อกซิเจน (Gasification Reactor) แล้วป้อนเข้าเผาไหม้ร่วมกับเชื้อเพลิงหลักในหม้อไอน้ำเดียวกัน ปัจจุบันสามารถใช้ชีวมวลอัดเม็ด
ได้สูงสุดเพียง 37 เปอร์เซ็นต์ ร่วมกับการใช้เชื้อเพลิงถ่านหินเดิม

 The Amer power plant in Geertruidenberg in the Netherlands is one of RWE’s large production sites. The site consists of unit 8 which has been in operation since 1980 and unit 9 which has been in operation since 1993. The two units have a combined capacity of 1245 megawatts which is enough to supply around 3 million households with electricity each year. The two units can also produce 600 megawatts of heat which is used for district heating as far as Tilburg and Breda and for heating greenhouses.

Fuel Management

The two main types of fuel used for the two units at the Amer power plant are coal and biomass. The third type of fuel used is wood gas which is obtained by carrying out the degasification of construction timber and waste timber.We use coal to fire the Amer power plant because we do not want our electricity generation activities to be dependent on one type of fuel.

             สำหรับประเทศไทยนั้น การส่งเสริมเชื้อเพลิงชีวมวลอัดเม็ดให้เกิดการผลิตและใช้งานทดแทนเชื้อเพลิงฟอสซิลให้ได้ตามแผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก 25% ใน 10 ปี โดยเริ่มจากการใช้ชีวมวลอัดเม็ดเป็นเชื้อเพลิงในการผลิตพลังงานไฟฟ้าและพลังงานความร้อนในโรงงานอุตสาหกรรมจาก 1 แสนตันต่อปีในปีพ.ศ. 2555 เป็น 30.9 ล้านตันต่อปีในปีพ.ศ. 2564 เพิ่มขึ้น 30.8 ล้านตันในระยะเวลา 10 ปี หรือเฉลี่ยการใช้ชีวมวลอัดเม็ดเป็นเชื้อเพลิงในการผลิตพลังงานไฟฟ้าและพลังงานความร้อนในโรงงานอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้นปีละ 30.9 ล้านตันต่อปี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2556 เป็นต้นไป

สิ่งสำคัญคือรัฐบาลจำเป็นต้องให้การอุดหนุนด้าน Adderหรือ Feed in Tariff และการปรับมาตรการจูงใจสำหรับการลงทุนการผลิต การใช้และบริการตลอดห่วงโซ่อาทานการผลิตชีวมวลอัดเม็ดจากภาคเอกชนให้เหมาะสมกับสถานการณ์เพื่อให้อุตสาหกรรมเกิดได้สะดวกรวดเร็วขึ้นและสามารถพัฒนาต่อยอดด้วยตนเองได้ภายในช่วงเวลาของการพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก 25% ใน 10 ปี (พ.ศ.2555-2564)

ผลประโยชน์ที่ประเทศชาติและสังคมจะได้รับทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม ระบบนิเวศน์และสิ่งแวดล้อม ดังต่อไปนี้


- เกิดการส่งเสริมให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการผลิตและการใช้ชีวมวลอัดเม็ดเป็นพลังงานทดแทนอย่างกว้างขวางโดยการรวมกลุ่มกันเป็นสหกรณ์ชีวมวลเพื่อพลังงานทดแทน


- เกิดผลทางด้านสิ่งแวดล้อมเพิ่มพื้นที่การเกษตรและป่าไม้ ก่อวงจรดึงคาร์บอนไดออกไซด์ในชั้นบรรยากาศมาใช้ให้เกิดประโยชน์


- ลดการใช้เงินตราต่างประเทศในการซื้อเชื้อเพลิงฟอสซิลจากต่างประเทศ


- สร้างระบบเศรษฐกิจใหม่ที่ขับเคลื่อนด้วยชีวมวลอัดเม็ด เกิดการจ้างงานและกระจายรายได้สู่ภาคการเกษตรและลดภาระภาคอุตสาหกรรม


- ก่อให้เกิดการพัฒนาองค์ความรู้และเทคโนโลยีด้านพลังงานจากชีวมวลและพลังงานทดแทนอย่างเป็นระบบและนำไปสู่การพึ่งพาตนเองได้ของประเทศ

อ่านเพิ่มเติม----รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษาห่วงโซ่อุปทาน,กระทรวงพลังงาน


READ MORE: //www.espthailand.com/





Create Date : 18 เมษายน 2557
Last Update : 1 กันยายน 2557 12:06:40 น.
Counter : 2982 Pageviews.

1 comments
  
แหล่งวัตถุดิบมีเยอะแต่ขาดการสนับสนุนการตลาดและเครื่องจักรครับผม
โดย: po IP: 49.230.123.5 วันที่: 8 พฤษภาคม 2557 เวลา:8:21:16 น.
ชื่อ :
Comment :
 *ใช้ code html ตกแต่งข้อความได้เฉพาะสมาชิก
 

surya21
Location :
  

[ดู Profile ทั้งหมด]
 ฝากข้อความหลังไมค์
 Rss Feed
 Smember
 ผู้ติดตามบล็อก : 50 คน [?]



New Comments
เมษายน 2557

 
 
4
5
6
7
8
11
12
13
15
16
17
25
26
27
28
29
 
 
All Blog