ลมหนาวไซบีเรียและอิทธิพลที่ทำให้ไม้สักไทยมีลายไม้สวยที่สุดในโลก (ตอนที่2)

  ประเทศฝรั่งเศสได้ชื่อว่าเป็นแหล่งผลิตไวน์ชั้นนำของโลก เพราะหลายเมืองมีสภาพดินฟ้าอากาศเหมาะสมต่อการปลูกองุ่น…. ประเทศไทยมีดินฟ้าอากาศทีเหมาะสมที่จะปลูกไม้ชั้นนำที่ตลาดโลกมีความต้องการสูงคือไม้สักไทยและไม้พะยูงขชิงชัน Thai Teak-Siamese Rosewood คุณภาพเยียมของโลก แต่ในปัจจุบันรัฐบาลกลับไม่รู้จึงขาดองค์กรส่งเสริมสร้างนวัตกรรมให้เป็นเอกลักษณ์ของชาติ ดังเช่น ฝรั่งเศสส่งเสริมสร้างนวัตกรรมเกี่ยวกับเหล้าองุ่น...

ไม้สักธรรมชาติ อ.งาว จ.ลำปาง

ไม้สักสวนป่าทุ่งเกวียน อายุ35ปี อ.ห้างฉัตร จ.ลำปาง

...แตร์ฮัวร์ หรือแตร์ฮวา (Terrior) หมายถึงเขตพิเศษเฉพาะของแต่ละพื้นที่ที่มีความแตกต่างกัน เป็นสิ่งที่ฝรั่งเศสใช้อวดอ้างถึงความเหนือชั้นกว่าไวน์ชาติใด ๆ ในโลกนี้ แตร์รัวร์ ไม่ได้มีเฉพาะในไวน์เท่านั้น แต่ยังใช้กับกาแฟ และชาด้วย เพราะพืชทั้งสองอย่างนี้คุณภาพจะดีหรือไม่ ขึ้นอยู่กับดินฟ้าอากาศเช่นเดียวกับองุ่น ดังนั้นรสชาติของชา กาแฟ และไวน์จะสะท้อนเอกลักษณ์ของถิ่นที่ปลูกนั้นออกมาด้วยแตร์รัวร์ต้องประกอบด้วยหลัก ๆ คือ อากาศ ชนิดของดิน และภูมิประเทศ ซึ่งหมายถึงธรรมชาติของภูเขา หุบเขา และน้ำที่สำคัญคือ HYPERLINK“//en.wikipedia.org/wiki/Microclimate Microclimate”Microclimate (รูปแบบของฝน ลม ความชื้น การเปลี่ยนแปลงของอุณหะภูมิ เป็นต้น) ซึ่งปัจจัยทั้งหมดนี้ไม่ใช่จะมาเจอกันได้ง่าย ๆ และอาจจะรวมไปถึงมุมหรือละติจูดที่ตั้งของไร่องุ่นนั้น ๆ ด้วยขณะที่ผู้เชี่ยวชาญด้านปลูกองุ่นทำไวน์ให้ความเห็นว่า จริง ๆ แล้ว “แตร์รัวร์” เป็นภูมิปัญหาชาวบ้านอย่างหนึ่ง ซึ่งแฝงไว้ด้วยปรัชญาชีวิตและอุดมการณ์ และปัจจุบันเสริมเทคโนโลยีใหม่เข้าไปด้วยเพื่ออำนวยความสะดวก ไม่ใช่เฉพาะ “ดิน ฟ้า อากาศ” เท่านั้นในเบอร์กันดีสมัยโบราณมีการค้นหาพื้นที่ที่มีแตร์รัวร์กันอย่างจริงจัง จากการบันทึกของพระนิกาย HYPERLINK “//en.wikipedia.org/wiki/Benedictine
Benedictine”Benedictine และ HYPERLINK “//en.wikipedia.org/wiki/Cistercian Cistercian”Cistercian ระบุว่ามีพระผู้เชี่ยวชาญเดินทางไปตามสถานที่ต่าง ๆ เพื่อ “เทสติ้งดิน” (Tasting the Soil) อย่างเป็นเรื่องเป็นราว จากนั้นก็บันทึกเอาไว้ ไร่องุ่นที่เป็น HYPERLINK “//en.wikipedia.org/wiki/List_of_Burgundy_
Grand_Crus List of Burgundy Grand Crus”Grand Cru Vineyards ในปัจจุบันก็คือผลงานของพระเหล่านั้น
ภูมิปัญญาแห่งแตรรัวร์ เกิดจากประสบการณ์ของมนุษย์ที่สั่งสมกันมายาวนาน ผู้เชี่ยวชาญกล่าวว่า “ต้นองุ่นไม่ได้เกิดมาเพื่อให้ไวน์ แต่ให้ผลองุ่นสดสำหรับกินเป็นผลไม้หรือเครื่องปรุงประกอบอาหารต่าง ๆ แต่เมื่อมนุษย์อยากจะเปลี่ยนหน้าที่ของต้นองุ่นให้นำไปสู่การผลิตไวน์ มนุษย์จึงต้องทำงานหนัก คนปลูกองุ่นต้องศึกษาผืนดินที่อยู่ของต้นองุ่นอย่างถ่องแท้” ดังนั้นจึงต้องรู้ว่า


1. ดินเป็นอย่างไร ประกอบด้วยเนื้อดินชนิดใด ตั้งแต่ชั้นบนสุดจนถึงล่างสุดเท่าที่จะลึกได้


2. ต้องรู้ว่าเนื้อดินแบบนั้น ๆ ให้น้ำแทรกซึมผ่านเร็วหรือช้า อุ้มน้ำหรือกักน้ำ

3. ดูทิศทางที่ตั้งของพื้นที่ โดยเทียบกับแสงอาทิตย์ นั่นหมายความว่าในแต่ละวัน แต่ละเวลา แต่ละฤดูกาล พื้นที่ตรงนั้นรับแสงแดดมากเมื่อใดน้อยที่สุดเมื่อใด นานเพียงพอหรือไม่


4. จดปริมาณน้ำฝนแต่ละฤดูกาลในพื้นที่นั่น


5. เรียนรู้กำลังของลมต่าง ๆ ที่ผัดผ่านพื้นที่นั้นในแต่ละช่วงของปี


6. คาดคะเนความเสี่ยงของการมีน้ำค้างแข็งหรือลูกเห็บ ในแต่ละช่วงของปี


7. ข้อสำคัญ ต้องรู้ว่าองุ่นพันธุ์ใด เหมาะกับผืนแผ่นดินของตนเอง

          ไม้สักไทยได้ถุกเลือกจากนักวิทยาศาสตร์ในการวิเคราะห์วงปีเพื่อหาข้อมูลย้อนหลังด้านดินฟ้าอากาศและการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิประจำถิ่นอีกด่วน ดังงานวิจัย Dendroclimatological studies of teak (Tectona grandis L.) : a case study in Mae Hong Son province, Thailand..

This study was conducted on living and non-living teak trees (Tectona grandis L.) in Mae Hong Son province, Thailand, to construct and extend a tree-ring index. This study also aimed to investigate the relationship between the living teak-ring index and climatic data, especially rainfall and temperature data, collected from Mae Hong Son and Chiang Mai meteorological stations. Finally, the extended tree-ring index and response function, calculated from the relationship between the living teak-ring index and climatic data, were applied to palaeoclimatic reconstruction. From 18 teak-ring indices, the results showed that the ARSARS index, constructed from the ARSTAN data group, was suitable for the study of climate-growth response. For living teak trees, growth was positively correlated to July rainfall and negatively correlated to October temperature, measured at the Mae Hong Son and Chiang Mai meteorological stations, respectively. On the other hand, ARSARS indices, which were constructed from living and non-living teak trees, were selected for index extension. The time span of this extended tree-ring index was 413 years from 1591-2003. After the palaeolimatic reconstruction was completed, the results showed that there was a high level of climatic variation during the first half of this period; by contrast, during the second half of this period, the climate remained stable until 1950, since when there has been a high level of climatic variation.



Create Date : 26 ตุลาคม 2556
Last Update : 26 ตุลาคม 2556 20:02:06 น.
Counter : 8571 Pageviews.

1 comments
  
โดย: tuk-tuk@korat วันที่: 1 พฤศจิกายน 2556 เวลา:22:49:56 น.
ชื่อ :
Comment :
 *ใช้ code html ตกแต่งข้อความได้เฉพาะสมาชิก
 

surya21
Location :
  

[ดู Profile ทั้งหมด]
 ฝากข้อความหลังไมค์
 Rss Feed
 Smember
 ผู้ติดตามบล็อก : 50 คน [?]



New Comments
ตุลาคม 2556

 
 
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
19
20
21
22
23
24
25
28
29
31
 
 
All Blog