กรรมเก่า คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ.เป็นเจ้าบทบาทเดิม จากนั้น การศึกษาอาศัยปรโตโฆสะ ซึ่งมีคติว่า "คนเป็นไปตามสภาพแวดล้อมที่ปรุงปั้น" และโยนิโสมนสิการ ซึ่งมีคติย้อนกลับว่า "ถ้าเป็นคนรู้จักคิด แม้แต่ฟังคนบ้าคนเมาพูด ก็อาจสำเร็จเป็นพระอรหันต์"
ก่อนศึกษาพุทธธรรม
จงกรม
หลักปฏิบัติ
สภาวธรรม
ลำดับญาณ,ทวนญาณ
ภาษาธรรมวันละคำ
ปฏิบัติธรรมให้ถูกทาง
ข้อธัมม์ที่ถาม-เถียงกันบ่อย
บุญ
ผู้พิพากษาตั้งตุลา ใ ห้ สั ง ค ม ส ม ดุ ล
คติธรรมสั้นๆ
รู้เขา รู้เรา
พุทธโอวาทก่อนปรินิพพาน,
ความเป็นมาของการบวช
การทำวัตรสวดมนต์
ทำยังไงจึงจะมีอายุยืนและมีความสุข
พลังดันคน
ที่ทำงานของจิต
บรรลุธรรมอะไร?
พุทธปรัชญาในสุตตันตปิฎก
ธัมมาธิบาย
สวดมนต์
ความจน เ ป็ น ทุ ก ข์ ใ น โ ล ก
เรียนบาลีเพื่อรักษาพุทธพจน์
ศีลธรรมไม่กลับมาโลกาจะพินาศ
หลักธรรมสำหรับผู้ยังไม่นับถือศาสนาใดๆ
ภาค ๑. มัชเฌนธรรมเทศนา
ภาค ๒. มัชฌิมาปฏิปทา
ภาค ๓. อารยธรรมวิถี
วัฒนธรรมประเพณี
จาริกบุญ จารึกธรรม
สมาธิ,ฌาน
ถ้าศาสนาพุทธมีหลักธรรมดีจริง คงไม่สูญสิ้นจากถิ่นเดิม
ศีลกับเจตนารมณ์ทางสังคม
คุณค่าทางจริยธรรมของไตรลักษณ์
กรรมฐาน
สติปัฏฐาน
ศีลสำหรับประชาชน
วิธีการแห่งศรัทธา (ปรโตโฆสะที่ดี)
วิธีการแห่งปัญญา (โยนิโสมนสิการ)
ทางดำเนินชีวิตสายกลาง
คุณสมบัติบุคคลโสดาบัน
กาม
ความสุข
อริยสัจ ๔
ธรรมฉันทะ - ตัณหาฉันทะ
กรรม
ฅนไทย ใช่กบเฒ่า ?
พระไทย ใช่เขาใช่เรา?
สมถะ,วิปัสสนา,เจโตวิมุตติ,ปัญญาวิมุตติ
อนัตตา
สมมุติบัญญัติ
ศีล-สีลัพพตปรามาส
นรก สวรรค์ ในพระไตรปิฎก
วันสำคัญของชาวพุทธไทย
วิธีฝึกหูทิพย์ ตาทิพย์
ความสำคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะ ศ.ประจำชาติ
ภาวะแห่งนิพพาน
ระดับของผู้บรรลุนิพพาน
ภาวะของผู้บรรลุนิพพาน
อิทธิบาท ๔
รู้ทุกอย่างแต่ปล่อยวางไม่ได้
สติ,สติปัฏฐาน
ตถตา
อ่าน แล้ว คิดว่าเป็นนั่นเป็นนี่
ทำยังไงจะให้เชื่อเรื่องกรรม
พฤศจิกายน 2567
>>
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
10 พฤศจิกายน 2567
ประเพณีวันอาสาฬหบูชา
ความสำคัญของอาสาฬหบูชา
ความหมายของอาสาฬหบูชา
ผลจากการแสดงปฐมเทศนา
วิสาขบูชาในอินโดฯ บทสะท้อนเสน่ห์พหุวัฒนธรรม
ผู้นำชาวพุทธ 85 ประเทศ ร่วมเปิดงานวิสาขบูชาโลก
เป็นพรหมด้วยพรหมวิหาร
พรหมวิหาร ๔ ครบล่ะ
มนุษย์ทุกคนต้องอยู่ให้ดี กับ ธรรม
ถึงเมตตาจะเป็นความดี แต่ก็ยังมีข้อเสีย
ย้ำอีกที
ความรัก วัดระดับการพัฒนาของคน
เน้นย้ำอีกที
ย้ำสาระคาถานั้นอีก
คาถาที่ชาวพุทธรู้จัก
ทวนนิดหนึ่ง
คาถาที่ ๓
คาถาที่ ๒
คาถาที่ ๑
สาระวันมาฆบูชา
คำถวายดอกไม้ธูปเทียน วันอาสาฬหบูชา
คำถวายดอกไม้ธูปเทียน วันมาฆบูชา
คำถวายดอกไม้ธูปเทียน วันวิสาขบูชา
ทำการบูชาให้สมค่าของวันวิสาขบูชา
ค.ม.วันวิสาขบูชา ในแง่ปรากฏการณ์ยิ่งใหญ่ในประวัติศาสตร์มนุษยชาติ
ความหมายวันวิสาขบูชา ในแง่คติจากพระชนมชีพของพระบรมศาสดา
วันวิสาขบูชา,ความสำคัญของวันวิสาขบูชา
คติธรรมวันสงกรานต์
เรื่องของวันตรุษวันสงกรานต์
สารธรรมวันมาฆบูชา
เทศกาลท้ายฝน
วันเข้าพรรษา
ประเพณีวันอาสาฬหบูชา
ความสำคัญของอาสาฬหบูชา
ความหมายของอาสาฬหบูชา
ผลจากการแสดงปฐมเทศนา
ใจความปฐมเทศนา
ต้นกำเนิดวันอาสาฬบูชา
เรื่อง ตักบาตรเทโว
เรื่อง ปวารณา
เรื่อง กฐิน
อารัมภบท
ความสำคัญของอาสาฬหบูชา
ความสำคัญของอาสาฬหบูชา
ตามเหตุการณ์ และคำสอนที่ได้เล่ามาข้างต้น สรุปความสำคัญของวันอาสาฬหบูชาได้ ดังนี้
๑. เป็นวันที่พระพุทธเจ้าทรงแสดง ปฐมเทศนา
๒. เป็นวันที่พระพุทธเจ้า เริ่มประกาศพระศาสนา
๓. เป็นวันที่เกิดอริยสงฆ์ คือการที่ท่านโกณฑัญญะรู้แจ้งธรรม เป็นพระโสดาบัน จัดเป็นอริยบุคคลท่านแรกในอริยสงฆ์ทำให้มี
สังฆรัตนะ
ขึ้นมา และจึงถือด้วยว่าเป็นวันที่มี
พระรัตนตรัยครบบริบูรณ์
๔. เป็นวันที่เกิดพระภิกษุรูปแรก ในพระพุทธศาสนา คือการที่ท่านโกณฑัญญะขอบรรพชา และได้บวชเป็นพระภิกษุหลังจากฟังปฐมเทศนาและบรรลุธรรมแล้วจึงถือด้วยว่าเป็นวันที่
เริ่มตั้งภิกษุสงฆ์
หรือ
ต้นกำเนิด
สมมติสงฆ์
๕. เป็นวันที่พระพุทธเจ้าทรงได้ปฐมสาวก คือ การที่ท่านโกณฑัญญะนั้นได้บรรลุธรรมและบวชเป็นพระภิกษุจึงเป็นสาวกรูปแรกของพระพุทธเจ้า
เมื่อเทียบกับวันสำคัญอื่นในพระพุทธศาสนา บางทีเรียกวัน
อาสาฬหบูชา
นี้ว่า วันพระสงฆ์ (คือวันที่เริ่มเกิดมีพระสงฆ์)
เรียกวัน
วิสาขบูชา
ว่า วัน
พระพุทธ
(คือวันประสูติ ตรัสรู้และปรินิพพานของพระพุทธเจ้า)
เรียก
วันมาฆบูชา
ว่า วัน
พระธรรม
(วันที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงโอวาทปาติโมกข์ประกาศประมวลหลักสำคัญของพระพุทธศาสนา)
Create Date : 10 พฤศจิกายน 2567
Last Update : 10 พฤศจิกายน 2567 14:24:24 น.
0 comments
Counter : 147 Pageviews.
Share
Tweet
ชื่อ :
* blog นี้ comment ได้เฉพาะสมาชิก
Comment :
*ส่วน comment ไม่สามารถใช้ javascript และ style sheet
สมาชิกหมายเลข 6393385
Location :
[ดู Profile ทั้งหมด]
ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
ผู้ติดตามบล็อก : 9 คน [
?
]
Webmaster - BlogGang
[Add สมาชิกหมายเลข 6393385's blog to your web]
Bloggang.com